สาธารณภัย - กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

Download Report

Transcript สาธารณภัย - กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ความหมายและความสาคัญของสาธารณภัย
สาธารณภัย (disaster) หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย ตลอดจนภัยอื่น ๆ
อันมีมาเป็ นสาธารณะไม่ ว่าจะเกิดจากธรรมชาติ หรื อมีผู้ทาให้ เกิดขึ้น ซึ่ ง
ก่อให้ เกิดอันตรายต่ อชีวติ ร่ างกายของประชาชน หรือความเสี ยหายต่ อทัรัพย์
สิ นของประชาชนหรือรัฐบาล
สาธารณภัยแบ่ งตามลักษณะการเกิดหรือสาเหตุ ได้ 2 ประเภท ได้ แก่
1. สาธารณภัยธรรมชาติ เป็ นสาธารณภัยที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ
มักเกิดขึน้ ตามฤดูกาล แต่ บางครั้งก็เกิดขึน้ อย่ างฉับพลัน เช่ น อุทกภัย วาตภัย
ฝนแล้ง แผ่ นดินไหว แผ่ นดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด ไฟป่ า การระบาดของโรค
2. สาธารณภัยมนุษย์ เป็ นสาธารณภัยทีเ่ กิดจากการกระทาของมนุษย์
เช่ น ภัยจากการจลาจล ภัยจากสงคราม ตึกถล่ ม อัคคีภัยที่มีสาเหตุมาจาก
มนุษย์
สาธารณภัยทั้งจากธรรมชาติและมนุษย์ จะทาให้ เกิดผลเสี ยหายต่ าง ๆ
ต่ อทรั พย์ สิน ร่ างกาย จิตใจ ชี วิต และต่ อเศรษฐกิจและสั งคมของประเทศ
อย่ างไรก็ตามสาธารณภัยสามารถที่จะป้องกันและบรรเทาความเสี ยหายที่ จะ
เกิดขึน้ ได้ โดยเฉพาะอย่ างยิ่งสาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์ ขณะที่สาธารณภัย
จากธรรมชาติ บ างอย่ า งเช่ น แผ่ น ดิ น ไหว แม้ จ ะไม่ ส ามารถป้ องกัน ไม่ ใ ห้
เกิดขึน้ ได้ แต่ การเตรียมตัวและรู้ จักหลักปฏิบัติที่ถูกต้ องเมื่อเกิดเหตุการณ์ ขึน้
ก็จะช่ วยลดอันตรายลงได้ มาก
หลักการปฏิบัตติ นเพือ่ ความปลอดภัยจากสาธารณภัย
สาหรับสาธารณภัยที่นักเรียนควรเรี ยนรู้ ในระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
นี้ ไ ด้ แ ก่ ภั ย จากการเข้ าไปอยู่ ใ นที่ ชุ ม นุ ม ชน ภั ย จากการเข้ า ไปอยู่ ใ น
สถานการณ์ ความรุ นแรง ภัยจากไฟไหม้ อาคาร ภัยจากแผ่ นดินไหว และภัย
จากตึ กถล่ ม ซึ่ ง เป็ นภัยที่ เราอาจประสบได้ และเสี่ ย งต่ อการบาดเจ็ บและ
เสี ยชีวติ หากไม่ มีการป้องกันหรือแก้ไขทีถ่ ูกต้ อง
ภัยจากการเข้ าไปอยู่ในทีช่ ุมนุมชน
ที่ชุมนุ มชนในที่นี้ จะเป็ นสถานที่ที่ในขณะนั้นมีคนจานวนมากมา
ชุ มนุ มกันด้ วยเหตุผลหรื อเป้าหมายที่ตรงกัน เพื่อที่จะกระทาอย่ างใดอย่ าง
หนึ่ ง เช่ น การรั บ แจกสิ่ ง ของการเข้ าชมคอนเสิ ร์ต หรื อกีฬานั ดสาคัญ คน
จานวนมากนีห้ ากขาดวินัยจะควบคุมได้ ยาก และก่ อให้ เกิดความชุ ลมุนวุ่นวาย
ขึน้ ได้ เช่ น อาจมีการเบียดเสี ยด มีคนถูกผลักดัน กระแทก เพือ่ จะแย่ งกันไปอยู่
ด้ า นหน้ า หรื อ มี ค นเป็ นลมล้ ม ลง คนที่ล้ ม ลงอาจถู ก เหยีย บจากฝู ง ชนจน
บาดเจ็บและเสี ยชีวติ ได้
หลักการปฏิบัตติ นเพือ่ ความปลอดภัยจากการเข้ าไปอยู่ในทีช่ ุมนุมชน
ก่อนทีจ่ ะเข้ าไปอยู่ในทีช่ ุ มนุมชน ควรปฏิบัติดังนี้
1. สารวจสุ ขภาพตนเอง หากร่ างกายไม่ แข็งแรง เป็ นลมง่ าย เป็ น
โรคหัวใจ ไม่ ควรเข้ าไปในที่ชุมนุ มชน เพราะจะมีความเสี่ ยงสู งที่จะได้ รับ
อันตรายได้ ง่าย
2. ประเมินความปลอดภัยของสถานที่และสถานการณ์ ที่จะไป เช่ น
ถ้ า จะไปชมคอนเสิ ร์ ต หากพิจ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า มี ค วามเสี่ ย งสู ง ต่ อ การที่
นักเรียนจะยกพวกไปตีกนั ก็ไม่ ควรไป
3. ให้ สารวจว่ าสถานที่ที่จะไปมีทางออกฉุ กเฉินหรื อหน่ วยกู้ภัยอยู่
ตรงจุดไหน เมื่อเกิดเหตุการณ์ ที่ไม่ ปลอดภัยจะได้ หาทางออกหรื อขอความ
ช่ วยเหลือได้ ทันที
4. อย่ าไปอยู่ในที่ชุมนุมชนคนเดียว ให้ ชวนเพื่อนหรื อคนสนิทไป
เป็ นกลุ่ม แต่ อย่ าพาเด็กไปด้ วย เพราะจะพลัดหลงและเกิดอันตรายได้ ง่าย
และให้ นัดกับผู้ทไี่ ปด้ วยว่ า หากพลัดหลงกันขึน้ มาจะให้ เจอตรงทีใ่ ด
ขณะทีอ่ ยู่ในทีช่ ุ มนุมชน ให้ ปฏิบัติดังนี้
1. หากรู้ สึกว่ าจะเป็ นลม ให้ รีบร้ องเสี ยงดังเพื่อขอความช่ วยเหลือ
จากคนรอบข้ าง
2. คอยสั งเกตเหตุการณ์ ใกล้ ตัวอยู่เสมอ เช่ น หากไปชมคอนเสิ ร์ต
แล้ วพบกลุ่มวัยรุ่ นชายหรื อนักเรี ยนที่มารวมตัวกันมากขึ้น หรื อกลุ่มคนที่
พกพาอาวุธให้ พยายามอยู่ห่างจากบริ เวณนั้นหรื อหาทางออกมาจากที่นั่น
เพราะมีแนวโน้ มทีจ่ ะเกิดการยกพวกตีกนั ได้ สูง
3. ขณะอยู่ในที่ชุมนุมชนควรมองหาถาวรวัตถุที่แข็งแรง ซึ่งอาจจะ
ช่ วยกาบังหรื อปะทะต้ านทานอันตราย เช่ น เสา ฝาผนั ง กาแพง เป็ นต้ น
เพราะหากเกิดเหตุการณ์ รุนแรงแจใช้ เป็ นทีก่ าบังได้
4. หากเกิดเหตุการณ์ ชุลมุน หรื อผู้คนเบียดเสี ยดยัดเยียดมาก ๆ ให้
ปฏิบัติดังนี้
4.1 ทาตัวให้ พร้ อมที่จะเผชิ ญต่ อแรงผลักดันหรื อการกระทบ
กระแทกต่ าง ๆ เช่ น ไม่ เอามือล้ วงกระเป๋ า ไม่ เอามือประสานนิว้ มือเข้ าด้ วยกัน
แต่ ควรปล่อยมือให้ เป็ นอิสระและวางมือไว้ ที่บริเวณหน้ าอก
4.2 พยายามทรงตัวไม่ ให้ ล้ม โดยให้ เงยหน้ าหรื อชู คอให้ ตัวลอย
ขึน้ เพือ่ จะได้ หายใจสะดวกถ้ าไปกันหลายคนให้ จับมือกันไว้ พึง ระลึกไว้ เสมอ
ว่ า ในขณะที่เกิดเหตุการณ์ เบียดเสี ยดยัดเยียดของฝูงชนจานวนมาก ต้ อง
ระวังอย่ าให้ ตัวเองล้มลงไปเป็ นอันขาด เพราะจะถูกคนอืน่ เหยียบจนเสี ยชีวติ
4.3 หากพลาดพลั้ ง จะล้ ม ลงให้ ร้ องเสี ย งดั ง เพื่ อ ขอความ
ช่ วยเหลือ
หลังจากออกมาจากทีช่ ุ มนุมชน ในกรณีที่ได้ เกิดเหตุการณ์ ชุลมุน ให้
ปฏิบัติดังนี้
1. ให้ สารวจตัวเองและผู้ที่ไปด้ วยว่ าได้ รับบาดเจ็บหรื อไม่ จะได้ ทา
การรักษาพยาบาลต่ อไปและสารวจจานวนผู้ที่ไปด้ วยว่ าอยู่ครบหรือไม่ หาก
พบว่ าใครหายไปให้ ลองติดต่ อ หากบุคคลนั้นมีโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ หรือแจ้ งแก่
ประชาสั มพันธ์ หรือเจ้ าหน้ าทีท่ ี่เกีย่ วข้ องในบริเวณนั้น
2. หากต้ องกลับบ้ านช้ ากว่ าปกติมาก หรื อช้ ากว่ ากาหนดที่ บอกกับ
ทางบ้ านไว้ ควรโทรศัพท์ แจ้ งแก่สมาชิกในบ้ าน เพือ่ ที่จะได้ ไม่ ต้องเป็ นกังวล
ภัยจากการเข้ าไปอยู่ในสถานการณ์ ความรุนแรง
สถานการณ์ ความรุ นแรง จะเป็ นเหตุการณ์ ที่อาจทาให้ เกิดการบาดเจ็บ
เสี ยชีวติ หรือทรัพย์ สินเสี ยหายได้ ซึ่งในทีน่ ีจ้ ะขอเสนอถึงสถานการณ์ ความรุ นแรง
ที่นักเรียนอาจประสบได้ ได้ แก่ การชุ มนุมเดินขบวนเรียกร้ อง การยกพวกตีกัน ที่
อาจนามาซึ่งการบาดเจ็บและเสี ยชีวติ ได้ หากไม่ มีการปฏิบัตติ ัวที่เหมาะสม
หลักการปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยเมื่อเข้ าไปอยู่ในสถานการณ์ ความ
รุนแรง ให้ ปฏิบตั ดิ งั นี้
1. กรณีพบเห็นการชุ มนุ มเดินขบวนเรี ยกร้ อง ไม่ ควรไปมุ งดู หรื อเข้ า
ร่ วมในขบวน เพราะการเกิดเหตุ การณ์ ตึงเครี ยดของคนจานวนมาก อาจมีการ
กระทบกระทั่งกันระหว่ างคนที่เดินขบวนและเจ้ าหน้ าที่ที่มาควบคุมสถานการณ์
ทาให้ เราถูกลูกหลงได้ นอกจากนีย้ ังอาจมีผู้ไม่ ประสงค์ ดีหรือมือที่สามมาปลุกปั่น
ประชาชนที่เดินขบวน ทาให้ เกิดเหตุการณ์ รุนแรงขึ้น เจ้ าหน้ าที่อาจใช้ กาลังเข้ า
สลายขบวนชุ มนุม หากเราอยู่ในขบวนอาจได้ รับบาดเจ็บหรือถูกจับกุมได้
2. กรณีอยู่ในเหตุการณ์ กลุ่มคนยกพวกตีกนั
2.1 ให้ รีบหลบออกมาจากบริเวณนั้นอย่ างเร็วที่สุด แต่ หากเห็นว่ า
การหนีออกจากทีน่ ั่นจะไม่ ปลอดภัยเพราะอาจถูกอาวุธ หรือถูกชน ถูกเหยียบ
ได้ ให้ หาที่กาบัง เช่ น เสา ฝาผนัง แล้ วให้ ยืนแนบชิ ดเสาหรือผนั งดังกล่ าวเพื่อ
ป้องกันการถูกชนหรือกาบังอาวุธ ไม่ ควรเดินหรืออยู่ในที่โล่ งแจ้ ง เพราะอาจ
ถูกชนล้ มลงและถูกเหยียบ ถูกลูกหลงจากอาวุธหรือถูกทาร้ ายโดยไม่ ได้ ต้ังใจ
ได้
2.2 ในกรณีที่นักเรี ยนต่ างสถาบันยกพวกตีกัน หากนักเรี ยนเป็ น
นักเรียนของโรงเรียนหรือสถาบันดังกล่าว หรือสวมเสื้อที่คล้ ายกับชุ ดสถาบัน
นั้น และนักเรียนไม่ ได้ เป็ นกลุ่มทีต่ ีกนั ให้ รีบถอดเสื้อออกทิง้ หรือหากมีเสื้อตัว
อื่นให้ รีบเปลี่ยนทันที ไม่ อย่ างนั้นนักเรี ยนอาจถูกทาร้ ายได้ รับบาดเจ็บหรื อ
เสี ยชีวติ ได้
ภัยจากไฟไหม้ อาคาร
ไฟไหม้ หรื ออัคคีภัย เป็ นภัยอันตรายที่สาคัญอย่ างหนึ่ งของมนุ ษย์
โดยเฉพาะผู้ที่ประสบเหตุไฟไหม้ หากมีความตื่นเต้ นตกใจ ทาอะไรไม่ ถูก ไม่
มีแผนการหลบหนี อาจทาให้ ตนเองได้ รับบาดเจ็บหรือเสี ยชี วิตหรื อทาให้ ไฟ
เกิดการลุกลามรุนแรงขึน้ ได้
หลักการปฏิบัติตนเพือ่ ความปลอดภัยจากไฟไหม้ อาคาร มีดังนี้
ก่อนเกิดภัย
เมื่อต้ องทางานอยู่ในอาคาร หรื อเดินทางไปพักในอาคาร โรงแรม
เพือ่ ความปลอดภัยให้ ปฏิบัติดังนี้
1. ส ารวจทางออก ได้ แ ก่ บัน ไดหนี ไ ฟ ทางหนี ไฟ หรื อทางออก
ฉุกเฉิน เอาไว้ 2 ทาง โดยให้ ทาลองผลักประตูทางออกดูว่าสามารถเปิ ดออกได้
หรื อไม่ และให้ จดจาเส้ นทางจากห้ องพัก หรื อห้ องทางานไปยังทางออกว่ า
หากเกิดไฟไหม้ เมื่อออกจากห้ องพักแล้ วจะต้ องเดินทางไปในทิศทางใดเพื่อ
ไปถึงทางออกที่ใกล้ ที่สุด และถ้ าเส้ นทางดังกล่ าวถูกปิ ดกั้น จะไปยังทางออก
อีกแห่ งได้ อย่ างไรโดยเฉพาะอย่ างยิ่งหากมีผู้ที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ ได้ อยู่ด้วย
ต้ องเพิม่ ความระวังเป็ นพิเศษ
2. สารวจว่ ามีอุปกรณ์ เตือนภัย อุปกรณ์ แจ้ งเหตุฉุกเฉิ น อุปกรณ์
ดับเพลิงว่ าอยู่ตรงไหน ใช้ อย่ างไร
3. ทาการฝึ กซ้ อมหนีไฟร่ วมกัน หาอาคารนั้นเป็ นสถานที่ ทางาน
หรื อที่อยู่อาศั ย จะต้ องจัดการฝึ กซ้ อมหนีไฟให้ กับคนที่อยู่ในอาคารทุก 6
เดือน ซึ่งทุกคนควรให้ ความร่ วมมือในการฝึ กซ้ อม
4. ควรเก็บเอกสารสาคัญและทรั พย์ สินมีค่า แยกเก็บเอาไว้ ใ นที่ที่
พร้ อมจะหยิบติดตัวออกมาทันทีเมื่อเกิดไฟไหม้ หรือเหตุฉุกเฉินอืน่ ๆ
5. เตรียมไฟฉายไว้ ใกล้ ตัว เพราะเมื่อเกิดเหตุไฟไหม้ จะมีไฟฟ้าดับ
ตามมา ทาให้ มองไม่ เห็นทางเดินหรือทางออกได้
ขณะประสบเหตุไฟไหม้ อาคาร
1. หากพบเป็ นไฟไหม้ ให้ ไปที่สัญญาณแจ้ งเหตุไฟไหม้ ที่อยู่ใกล้
ที่สุดเพื่อกดปุ่ มสั ญญาณแจ้ งเหตุ และก่ อนที่จะหนีออกจากสถานที่เกิดไฟ
ไหม้ ถ้ า ทาได้ ให้ ปิ ดประตู หน้ า ต่ า งทุกบานของห้ องนั้ น เพื่อป้องกันการ
ลุกลามของไฟ โดยให้ ดูก่อนว่ ามีใครติดอยู่ในนั้นหรือไม่
2. หากได้ รับสั ญญาณไฟไหม้ ให้ หยิบเอกสารสาคัญ ทรัพย์ สินมีค่า
และไฟฉายที่เ ตรี ย มไว้ ติ ด ตัว ออกมา จากนั้ น ปิ ดล็อ กประตู ห้อ งหากเป็ น
ห้ องพักของคุ ณ (เพราะหากสามารถดั บไฟได้ การปิ ดล็อกห้ องจะทาให้
ทรั พย์ สินสิ่ งของอื่น ๆ ของคุณปลอดภัยจากพวกมิจฉาชี พได้ ) แล้ วรี บหนี
ออกมาจากอาคารให้ เร็วที่สุด อย่ ามัวเสี ยเวลาเก็บสิ่ งมีค่าต่ าง ๆ เพราะไฟใน
อาคารจะลุกลามได้ อย่ างรวดเร็ ว กลุ่มควันอาจทาให้ ขาดอากาศหายใจ และ
เสี ยชี วิตได้ ถ้ าพบว่ ามีบุคคลที่ช่วยเหลือตนเองไม่ ได้ หรื อมีเด็กเล็กให้ รีบพา
ออกจากอาคารให้ เร็วทีส่ ุ ด
3. การหนีออกจากอาคาร ให้ ใช้ บันไดหนีไปหรือทางหนีไฟ ห้ า มใช้
ลิฟต์ เป็ นอันขาด เพราะเมื่อเกิดไฟไหม้ ไฟฟ้าจะดับ ทาให้ ลฟิ ต์ ไม่ ทางานและ
จะติ ด อยู่ ใ นลิฟต์ และหากเห็ น ผู้ ค นจ านวนมากเคลื่อ นย้ า ยไปที่ ทางออก
เดียวกัน ให้ เปลี่ยนไปทางออกอื่น เพราะอาจถูกเหยียบเสี ยชี วิตจากกลุ่มคน
ที่ตื่นตระหนกแย่ งกันออกจากบริเวณดังกล่าวได้
4. หากต้ องไปเปิ ดประตูใดก็ตามเพื่อจะหนี ให้ เอามือแตะที่ประตู
ก่ อนที่จะเปิ ด หากพบว่ ามีความร้ อนอย่ าเปิ ดออกเพราะจะเป็ นที่ ที่มีไฟไหม้
ถ้ าประตูไม่ ร้อนให้ เปิ ดประตูออกช้ า ๆ โดยยืนหันหลังพินประตูเอาไว้ หากมี
ไอร้ อนมาปะทะให้ ปิดประตูทันที แล้ วรี บหาประตูหรื อทางอื่นเพื่อหนีออก
ไปสู่ ทปี่ ลอดภัยต่ อไป
5. หากมีควันไฟจานวนมาก ให้ ก้มตัวลงคลานหนีออกไป และให้
หายใจที่บริ เวณสู งจากพืน้ ไม่ เกิน 1 ฟุต เพราะบริ เวณนั้นจะมีออกซิ เจนอยู่
เนื่องจากควันจะเบากว่ าอากาศปกติ ควันจึงลอยขึน้ สู ง บริเวณพืน้ ที่ข้างบน
จึงเต็มไปด้ วยควันไฟ
6. ถ้ าไฟลามมาถึงห้ องและเราติดอยู่ในห้ อง ให้ หาผ้ าห่ มหนา ๆ ชุ บ
นา้ แล้ววางไว้ ด้านล่างของประตูเพือ่ ป้องกันควันเข้ ามาในห้ อง จากนั้นให้ เปิ ด
หน้ าต่ าง หาผ้ ามาโบกเพือ่ ส่ งสั ญญาณให้ ผู้ทอี่ ยู่ด้านนนอกทราบว่ าเราติดอยู่ที่
บริเวณดังกล่ าว หากควันเข้ ามาในห้ องให้ ก้มตัวหายใจบริเวณใกล้ พื้ น จาไว้
ว่ าอย่ าตื่นตกใจจนกระโดดออกจากตึกเพื่อหนีไปแต่ ให้ ส่งสั ญญาณแล้ วรอ
เจ้ าหน้ าที่มาช่ วยเหลือ
7. ขณะหนี ห ากเสื้ อ ผ้ า เกิด ติ ด ไฟ อย่ า ตื่ น ตระหนกแล้ ว วิ่ ง เตลิด
เพราะจะทาให้ ไฟลุกลามมากขึน้ แต่ ให้ มองหาผ้ าหนา ๆ เช่ น ผ้ าห่ ม ผ้ าม่ าน
เสื้อโค้ ต พรม (แต่ ต้องไม่ ใช่ เนื้อผ้ าไนลอน) พันตัวเองให้ แน่ น แล้ วรี บนอน
ราบลงบนพืน้ จะทาให้ เปลวไฟขาดออกซิ เจนและไฟดับลง หรื อหากไม่ มี
วัสดุคลุมตัวให้ รีบนอนลงบนพืน้ แล้ วกลิง้ ตัว แต่ วิธีนี้อาจทาให้ เปลวไฟลาม
ไปยังส่ วนอืน่ ทีไ่ ม่ ติดไฟได้
3. หลังจากออกมาจากอาคารได้ แล้ ว
1. ให้ อยู่บริ เวณที่เจ้ าหน้ าที่กาหนดว่ าเป็ นเขตปลอดภัย อย่ าเกะกะ
ขวางทางปฏิบัติงานของเจ้ าหน้ าที่ดับเพลิง และอย่ าย้ อนกลับเข้ าไปในตัว
อาคารอีกหากยังไม่ ได้ รับอนุญาตจากเจ้ าหน้ าที่ แม้ ว่าไฟจะดับลงแล้ วก็ตาม
เพราะตัวอาคารที่ถูกไปไหม้ อาจมีโครงสร้ างเสี ยหาย ประกอบกับการฉีดน้า
จานวนมากเข้ าไปในอาคารจะเพิม่ นา้ หนักมากขึน้ ทาให้ อาคารทรุ ดตัวลงได้
2. สารวจตนเองและคนในครอบครัวหรื อผู้ใกล้ ชิดว่ าได้ รับบาดเจ็บ
หรื อไม่ จะได้ รักษาพยาบาล และมีใครสู ญหายหรื อไม่ ถ้ ามีคนสู ญหายให้
รี บแจ้ งเจ้ าหน้ าที่ แต่ ตัวเองห้ ามกลับเข้ าไปในตัวอาคารเพื่อค้ นหาผู้สูญหาย
เป็ นอันขาด
3. ให้ ระวังทรัพย์ สินมีค่าที่นาติดตัวออกมา อย่ าให้ ผู้อนื่ มาหยิบฉวย
เอาไปในขณะทีก่ าลังตื่นตระหนก
4. ให้ ความร่ วมมือกับเจ้ าหน้ าที่ตารวจในการสอบปากคาไม่ ว่ าใน
ฐานะผู้อยู่ในเหตุการณ์ หรือต้ นเพลิง
5. หากได้ รับอนุญาตให้ กลับเข้ าไปในอาคาร ให้ สารวจห้ องว่ าถูกงัด
หรือไม่ หากมีทรัพย์ สินหรือสิ่ งของใดสู ญหายให้ รีบแจ้ งเจ้ าหน้ าทีต่ ่ อไป
ภัยจากแผ่ นดินไหว
แผ่ นดินไหว (earthquake) หมายถึง การสั่ นไหวของโลกเนื่องจาก
การเคลือ่ นตัวของคลื่นแผ่ นดินไหวจากแหล่ งกาเนิดในรู ปพลังงานที่ยืดหยุ่น
ได้
การเกิดแผ่ นดินไหวเกือบทั้งหมดจะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดย
แผ่ นดินไหวขนาดใหญ่ จะเกิดจากการเคลื่อนตัวของแผ่ นเปลือกโลก (plate
tectonics) และแผ่ นดินไหวยังเกิดจากการเคลือ่ นตัวของรอยเลือ่ น (fault)
หรื อรอยร้ าวของหิ นใต้ พื้นโลก นอกจากนี้ยังมีแผ่ นดินไหวที่ เกิดจากการ
กระทาของมนุ ษย์ เช่ น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ การกระทาเหมืองใน
ระดับลึก เป็ นต้ น
การวัดแผ่ นดินไหว
1. ขนาดแผ่ นดินไหว เป็ นจานวนหรื อปริ มาณของพลังงานที่ ถูก
ปลดปล่ อยออกมาจากศู นย์ กลางแผ่ นดินไหว หน่ อยของขนาดแผ่ นดินไหว
เรียกว่ า ริ กเตอร์ (Richter)
2.
ความรุนแรงของแผ่ นดินไหว หมายถึง การวัดปริ มาณ
แผ่ น ดิ น ไหวจากปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ขณะแผ่ น ดิ น ไหวและหลั ง เกิ ด
แผ่ นดินไหว เช่ น ความรู้สึกของผู้คน ลักษณะทีว่ ตั ถุหรือสิ่ งก่อสร้ างสั่ นไหว
หรือเสี ยหาย เป็ นต้ น ความรุ นแรงของแผ่ นดินไหวจะมีด้วยกันหลายหน่ วย
แต่ ที่ใช้ ในประเทศไทย ได้ แก่ มาตราเมอร์ แคลลี่ (Modified
Mercalli
scale/MM scale)
เทียบกับขนาด
ความรุ นแรง
ผลจากแผ่นดินไหว
(ริกเตอร์ )
I
ไม่ ร้ ู สึก : เครื่องวัดความไหวสั่ นสะเทือนวัดได้
น้ อยกว่ า 3.4
II
อ่อน : ขนาดผู้มคี วามรู้ สึกไวจะรู้ สึกได้
3.5
III
เบา : ขนาดผู้อยู่กบั ทีร่ ้ ู สึกพืน้ สั่ น
4.2
IV
พอประมาณ : ทาให้ วัตถุเล็กเคลื่อน ส่ วนวัตถุโตกว่ า
4.3
เอียงไปมา
4.8
ค่ อนข้ างแรง : ขนาดผู้นอนหลับก็ตกใจตื่น จาน
V
กระจกแตก วั ต ถุ ไ ม่ เ สถี ย รจะพลิก ลู ก ตุ้ ม นาฬิ ก า
หยุด
4.9-5.4
VI
แรง : เฟอร์ นิเจอร์ ขนาดใหญ่ จะเคลือ่ น หนังสื อหล่ น
จากหิง้ รู ปหล่ นจากผนัง
เทียบกับขนาด
ความรุ นแรง
ผลจากแผ่นดินไหว
(ริกเตอร์ )
VII
แรงมาก : ฝาห้ องแยกร้ าว ผู้ขับรถยนต์ จะรู้ สึก
5.5-6.1
VIII
ทาลาย : ตึกร้ าว เฟอร์ นิเจอร์ หนักพลิกควา่
6.2
IX
ท าลายสู ญ เสี ย : ตึกเลื่อนจากรากฐาน พื้นดิ นแตก
6.9
อ่ างเก็บนา้ และท่ อนา้ ใต้ ดนิ เสี ยหายรุ นแรง
X
วินาศภัย : ตึกแข็งแรงพัง พืน้ ดินแตกอ้า รางรถไฟ
7.0-7.3
คด แผ่นดินถล่มในบริเวณลาดชันและริมฝั่งแม่ นา้
7.4-8.1
วินาศภัยใหญ่ : ตึกถล่ มเหลือแต่ ตึกที่แข็งแรงมาก
XI
สะพานขาด พื้น ดิ น แตกกว้ า งขึ้น ท่ อ น้ า ใต้ ดิ น ถู ก
ทาลาย แผ่นดินถล่ม
XII
มหาวิบัติ (catastrophic) : ทุกสิ่ งถูกทาลาย พืน้ ดิน มากกว่ า 8.1
เคลือ่ นตัวเป็ นลูกคลืน่ วัตถุกระเด็นขึน้ ในอากาศ
1. ก่อนเกิดแผ่ นดินไหว
1. ติดตามข้ อมูลข่ าวสารเกี่ยวกับการเกิดแผ่ นดินไหว การเตือน
ภัยแผ่ นดินไหวจากกรมอุตุนิยมวิทยา
2. ศึกษาหาความรู้เกีย่ วกับการปฏิบัติตนเมื่อเกิดแผ่ นดินไหว
3. หากมี ก ารจั ด การฝึ กอบรมหรื อ ซ้ อมแผนอพยพเมื่ อ เกิ ด
แผ่ นดินไหวขึน้ ในท้ องถิ่นให้ เข้ าร่ วมรับการฝึ กอบรมอย่ างจริ งจัง
2. ขณะประสบเหตุแผ่ นดินไหว
1. หากได้ รับ การเตื อ นภั ย ว่ า จะมีก ารเกิด แผ่ น ดิน ไหวขึ้ น ให้
ปฏิบัติตามแผนที่ได้ รับการอบรมมา หากไม่ เคยอบรมก็อย่ าตกใจจรทาอะไร
ไม่ ถูก แต่ ให้ เตรียมอาหารแห้ ง นา้ ดื่ม ยาและเวชภัณฑ์ พร้ อมเอกสารสาคัญ
และเงินสดจานวนหนึ่งโดยเก็บไว้ ติดตัว หากมีประกาศให้ อพยพออกจาก
บ้ านให้ ดับไฟทุกชนิดภายในบ้ านเพือ่ ป้องกันการเกิดอัคคีภัย ปิ ดล็อกบ้ านให้
เรียบร้ อย แล้วให้ ไปอยู่ในเขตปลอดภัยตามทีเ่ จ้ าหน้ าทีป่ ระกาศ
2. หากเกิดแผ่ นดินไหวขณะทีอ่ ยู่ในอาคารหรือบ้ านพัก
1. ถ้ ามีเวลาเตรียมตัวโดยเฉพาะถ้ ามีการไหวเตือนนามาก่ อน
ให้ รีบทาการดับไฟในเตาหุงต้ ม หรือไฟตะเกียง หรือไฟอื่น ๆ โดยด่ วนเพื่อ
ป้องกันอัคคีภัย สิ่ งของเครื่ องใช้ ต่าง ๆ ที่เคลื่อนไหวได้ จะหล่ นตกลงมาได้
ง่ าย ให้ จัดการผูกมัดหรือเอาลงวางกับพืน้
2. พยายามหาที่หลบภัยในอาคารบ้ านพักให้ ปลอดภัย เช่ น
หลบใต้ โต๊ ะ หรือที่กาบังอืน่ ๆ ให้ พ้นจากสิ่ งของหล่นทับ
3. ไม่ ควรยืนใกล้ ประตูหน้ าต่ างหรือตรงระเบียง เพราะอาจ
ถูกแรงเหวี่ยงกระเด็นตกจากอาคารได้ หรื ออาจถู กแรงกระแทกจากบาน
ประตูหน้ าต่ าง ทาให้ เป็ นอันตราย
4. ถ้ าจาเป็ นต้ องหลบภัยออกไปข้ างนอกอาคาร ให้ รีบออกจาก
อาคารอย่ างมีระเบียบ ไม่ ควรเบียดเสี ยด เพราะมีหลายคนบาดเจ็บเนื่ องจาก
แย่ งกันวิง่ ออกจากตัวอาคาร ทั้ง ๆ ทีแ่ ผ่ นดินไหวไม่ รุนแรงมากนัก
3. ถ้ าต้ องหลบภัยอยู่นอกอาคาร ให้ อยู่ในที่โล่ งแจ้ ง อย่ าอยู่ใกล้
สายไฟฟ้า ต้ นไม้ ใหญ่ หรื อสิ่ งที่อาจตกใส่ ตัวเรา พยายามหาสิ่ งป้ องกัน
ศีรษะ เช่ น สวมหมวกกันน็อก หรือมีหมอนหรือของนุ่ม ๆ คลุมศีรษะไว้
4. ห้ ามขับรถบนถนนโดยเด็ดขาด ถ้ าเกิดแผ่ นดินไหวในขณะขับ
รถ ให้ หยุดรถและจอดรถชิดข้ างทางโดยทันที และให้ อยู่ในรถจนกว่ าการสั่ น
ไหวจะหยุด
3. ภายหลังการเกิดแผ่ นดินไหว
1. สารวจดูตนเองและคนใกล้ ชิดว่ าได้ รับบาดเจ็บหรื อไม่ จะได้
ทาการปฐมพยาบาลหรือนาส่ งโรงพยาบาลต่ อไป
2. สารวจความเสี ยหายของอาคาร บ้ านเรือน หากมีรอยแตกร้ าว
ให้ แจ้ งเจ้ าหน้ าที่ และยังไม่ ควรรี บเข้ าไปในตัวอาคารบ้ านเรื อนนั้น เพราะ
เมื่อเกิดแผ่ นดินไหวไปแล้ ว มักมีการเกิดแผ่ นดินไหวเบา ๆ ที่เรี ยกว่ า after
shock ตามมาอีกหลายครั้งได้
3. เมื่อเกิดแผ่ นดินไหวขึน้ อาจมีการเกิดไฟไหม้ ตามมา หากพบ
เห็นไฟไหม้ ควรรีบแจ้ งเจ้ าหน้ าทีด่ ับเพลิงโดยด่ วน
4. คอยฟังประกาศของทางราชการ หากให้ มีการอพยพออกนอก
พืน้ ที่ รีบหยิบเอกสารสาคัญและทรัพย์ สินมีค่า แล้ วออกจากบริเวณดังกล่ าว
ไปอยู่ในเขตปลอดภัยโดยด่ วน อย่ าชั กช้ าหรื อเห็นว่ าไม่ สาคัญ เพราะพืน้ ที่
ดังกล่ าวอาจเสี่ ยงต่ อการเกิดแผ่ นดินถล่ มตามมา หรือพืน้ ที่ที่ อยู่ด้านล่ างของ
เขื่อน อาจต้ องอพยพผู้คนออกหากพบว่ าเขื่อนมีรอยร้ าว และต้ องรีบระบาย
นา้ โดยด่ วน
ภัยจากตึกถล่ ม
ตึกถล่ ม เป็ นสาธารณภัยที่เกิดขึน้ ไม่ บ่อยนัก แต่ การเกิดขึน้ ในแต่
ละครั้ งจะมีความรุ นแรงเป็ นอย่ างมาก ทาให้ คนที่อยู่ในตึกหรื ออาคารที่
ถล่ มต้ องเสี ยชี วิตเป็ นจานวนมาก นอกจากนี้ทรั พย์ สินยังเสี ยหาย และ
เป็ นภัยที่สร้ างความสะเทือนขวัญทั้งต่ อผู้ประสบเหตุและประชาชนทั่วไป
เหตุการณ์ ตึกถล่ มอาจเกิดได้ ท้ังในตึกที่เป็ นโรงแรม โรงงาน หรื อที่พัก
อาศัย
สาเหตุของตึกถล่ มแบ่ งออกได้ เป็ น 2 สาเหตุใหญ่ ๆ
1. สาเหตุจากการก่ อสร้ างที่ไม่ ได้ มาตรฐานหรื อไม่ ถูกต้ อง โดยจะ
เกิดขึ้นได้ หากใช้ วัสดุและวิธีก่อสร้ างต่ากว่ ามาตรฐาน ก่ อสร้ างไม่ ตรงกับ
แบบแปลนที่ขออนุญาตไว้ กับทางราชการ หรื อมีการต่ อเติมอาคารเพิ่มเติม
ขึน้ เอง ซึ่งการกระทาเช่ นนีจ้ ะทาให้ ฐานรากและโครงสร้ างของอาคารรองรับ
นา้ หนักไม่ ไหว ทาให้ ตึกถล่มลงมาได้
2. สาเหตุ จ ากภั ย ต่ า ง ๆ เช่ น ไฟไหม้ แผ่ น ดิ น ไหว จะท าให้
โครงสร้ างของตึกเสี ยหาย เกิดการทรุ ดตัวถล่ มลงมาได้ ประกอบกับการฉีด
น้าจานวนมากเข้ าไปดับไฟในอาคารที่ไม่ มีช่องทางระบายน้าออกมา น้าและ
สิ่ งของทีช่ ุ่ มนา้ จะเพิม่ นา้ หนักมากขึน้ ทาให้ ตัวอาคารทรุดตัวลงมาได้
1. ก่อนเกิดเหตุการณ์ ตึกถล่ ม
1. ก่อนทีจ่ ะเข้ าไปอยู่ในอาคารใด ให้ พจิ ารณาว่ าอาคารดังกล่ าวมี
การติดประกาศเตือนของทางราชการว่ า เป็ นอาคารที่ก่อสร้ างหรือต่ อเติมผิด
แบบ มี ค าสั่ ง ให้ รื้ อ ถอนหรื อ ไม่ ถ้ า มี ก็ไ ม่ ค วรเข้ า ไปพั ก เพราะอาจาเกิ ด
อันตรายได้
2. กรณีที่พบว่ าตัวอาคารมีรอยร้ าวน่ ากลัว หรือรอยแยกเกิดขึน้
ก็ ไ ม่ ค วรเข้ า ไปในอาคาร แต่ ใ ห้ แจ้ ง เจ้ า หน้ าที่ ม าตรวจสอบ โดยใน
กรุ งเทพมหานครในโทรศั พท์ แจ้ งไปที่สานักงานเขตกรุ งเทพมหานครตาม
เขตที่ตัวอาคารตั้งอยู่ ส่ วนต่ างจังหวัดสามารถโทรศัพท์ แจ้ งไปที่เทศบาลใน
พืน้ ที่น้ัน ซึ่ งหากเกิดรอยร้ าวเฉพาะพืน้ ผิวอาคารที่ไม่ เกี่ ยวกับโครงสร้ างก็
สามารถใช้ อาคารนั้นได้ แต่ หากเกิดจากโครงสร้ างของอาคารหรือการทรุ ดตัว
ของพืน้ ดินบริเวณนั้นก็อาจเกิดอันตรายได้
3. กรณีอาคารที่เกิดไฟไหม้ หากยัง ไม่ ได้ รับอนุ ญาตจาก
เจ้ าหน้ าทีก่ ไ็ ม่ ควรกลับเข้ าไปในอาคารนั้น เพราะอาคารอาจทรุดตัวลงมาได้
4. กรณีที่เกิด แผ่ น ดิ น ไหว ควรสั ง เกตว่ าอาคารมีรอยร้ าว
เกิดขึน้ หรือไม่ ถ้ ามีให้ แจ้ งเจ้ าหน้ าที่มาตรวจสอบก่อนที่จะเข้ าไปอยู่ในอาคาร
นั้น เพราะเมื่อเกิดแผ่ นดินไหวเบา ๆ ตามมาอีกอาจทาให้ อาคารทรุ ดตัวลงมา
ได้
2. ขณะประสบเหตุการณ์ ตึกถล่ ม
1. ถ้ าพอมีเวลาเล็กน้ อย ให้ พยายามวิ่งไปหลบที่บริ เวณใต้ คาน
หรือวัตถุที่แข็งแรงมาก เช่ น โต๊ ะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันการหล่ นมาทับของ
เสาหรือสิ่ งของหนักอืน่ ๆ
2. หากติ ด อยู่ ใ นตึ ก ที่ ถ ล่ ม ให้ ต้ั ง สติ แ ละอดทนเพื่อ รอความ
ช่ วยเหลือจากเจ้ าหน้ าทีก่ ้ภู ัย โดยหากร่ างกายสามารถเคลือ่ นไหวได้ ให้ สารวจ
ว่ าบาดเจ็บตรงไหนหรือไม่ หากมีเลือดออกให้ รีบห้ ามเลือดด้ วยตนเอง การ
เคลื่อนไหวให้ ค่อย ๆ เคลื่อนไหว อย่ าเคลื่อนไหวรุ นแรง ทุบผนัง หรื อดึง
ย้ ายสิ่ งของเพื่อที่จะออกไปจากบริ เวณนั้น เพราะแรงสั่ นสะเทื อนอาจทาให้
บริเวณดังกล่าวทรุดตัวและพังลงมาทับตัวเองได้
3. หลังจากเหตุการณ์ ตึกถล่ ม
ผู้ที่รอดชี วิตและได้ รับบาดเจ็บ จะได้ รับการรักษาพยาบาลต่ อไป
ซึ่ งการผ่ านเหตุการณ์ รุนแรงดังกล่ าว ผู้ประสบเหตุหลายคนอาจเกิดความ
กังวลและหวาดผวา และส่ งผลกระทบต่ อจิตใจ ทาให้ ไม่ มีความสุ ขในการ
ดารงชีวติ ดังนั้นจึงควรไปปรึกษาจิตแพทย์ หรือนักจิตวิทยาเพือ่ ทาการฟื้ นฟู
สภาพจิตใจ โดยเฉพาะอย่ างยิ่งผู้ได้ รับบาดเจ็บจนเกิดความพิการ จะส่ งผล
ต่ อทั้งสุ ขภาพกายและจิตเป็ นอย่ างมาก จึงควรที่จะเข้ ารั บการบาบัดรั กษา
ฟื้ นฟูสภาพกายและจิต เพือ่ ให้ สามารถดารงชีวติ อยู่ได้ อย่ างมีความสุ ขภายใต้
สภาพการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้ ต่ อไป