องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน โดย นางจันทร์จริ า โพธิ์ทองนาค นายสิทธิกร ขวัญดี สานักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย วันที่ 24 ธันวาคม 2556 เวลา 13.00 – 15.00 น. ณ โรงแรมบางกอกพาเลซ กรุงเทพ.

Download Report

Transcript องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน โดย นางจันทร์จริ า โพธิ์ทองนาค นายสิทธิกร ขวัญดี สานักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย วันที่ 24 ธันวาคม 2556 เวลา 13.00 – 15.00 น. ณ โรงแรมบางกอกพาเลซ กรุงเทพ.

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กับการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน
โดย
นางจันทร์จริ า โพธิ์ทองนาค
นายสิทธิกร ขวัญดี
สานักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
วันที่ 24 ธันวาคม 2556 เวลา 13.00 – 15.00 น.
ณ โรงแรมบางกอกพาเลซ กรุงเทพ
ขอบเขต
1.พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
2.แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2553 - 2557
3.บทบาทของผูอ้ านวยการท้องถิ่น ตามแผนการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 – 2557
4. การป้องกันและบรรเทาภัยจากโรคระบาดในมน ุษย์ โรคแมลง
สัตว์ ศัตร ูพืชระบาด โรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้า ตามกรอบ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.
2553-2557
5.แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. ... (แผน อปท.)
6.ปฏิทินภัย
2
หัวข้อที่ 1
พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย พ.ศ.2550
3
พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
 มีผลใช้บงั คับ
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2550
พระราชบัญญัติ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. ๒๕๕๐
4
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
DEPARTMENT OF DISASTER PREVENTION AND MITIGATION
MINISTRY OR INTERIOR
 ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันภัย
ฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2522
(ม.3)
 ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันและ
ระงับอัคคีภยั พ.ศ. 2542
(ม.3)
สาระสาคัญของ
พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
 มาตรา 6 และมาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.) มีอานาจหน้าที่
กาหนดนโยบายในการจัดทาแผน ปภ.ชาติ และให้ความ
เห็นชอบแผนก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี ฯลฯ
 มาตรา 11 ให้ ปภ.เป็นหน่วยงานกลางของรัฐในการ
ดาเนินการเกี่ยวกับการ ปภ.ของประเทศ โดยมีอานาจ
หน้า5ที่จดั ทาแผน ปภ.ชาติเสนอโดย กปภ.ช. เพื่อขออนมุ ตั ิ
ต่อคณะรัฐมนตรี ฯลฯ
 มาตรา 12 บัญญัติสาระสาคัญของแผน ปภ.ชาติ
สาระสาคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ.2550
 มาตรา 15 บัญญัติอานาจหน้าที่ของ ผวจ. (ผูอ้ านวยการจังหวัด)
 มาตรา 16 บัญญัติสาระสาคัญของแผน ปภ.จังหวัด
ตามมาตรา 12 และสาระสาคัญอื่นๆ
 มาตรา 18 บัญญัติอานาจหน้าที่ของ นายก อบจ.
(รองผูอ้ านวยการจังหวัด)
 มาตรา 20 บัญญัติอานาจหน้าที่ของ นายก อบต./
นายกเทศมนตรี
/นายกเมืองพัทยา (ผูอ้ านวยการท้องถิ่น)
6
 มาตรา 20 บัญญัติอานาจของ ปลัด อบต./ปลัดเทศบาล/
ปลัดเมืองพัทยา (ผช.ผอ.ท้องถิ่น)
มาตรา 4 : นิยาม “สาธารณภัย”
“สาธารณภัย” หมายความว่า อัคคีภยั วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง
โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้ า การระบาด
ของศัต รู พื ช ตลอดจนภัย อื่ น ๆ อัน มี ผ ลกระทบต่ อ สาธารณชน
ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผูท้ าให้เกิดขึ้น อุบตั ิเหตุ หรือเหตุอื่นใด
ซึ่ ง ก่ อ ให้เ กิ ด อัน ตรายแก่ ชี วิ ต ร่ า งกายของประชาชนหรื อ ความ
เสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ และให้ความหมาย
รวมถึง ภัยทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วย
มาตรา 6 และ 7 : คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติ (กปภ.ช.)
องค์ประกอบ
ประธาน : นรม.
รองประธานคนที่ 1 : รมว.มท.
รองประธานคนที่ 2 : ปมท.
กรรมการ :
ป.กห ผบ.สส. ,ผบ.ทบ. ผบ.ทร. ,
ผบ.ทอ. ,ผบตร. ,ป.พม.ป.กษ. ,ป.ทส. ,
ป.ทก. ,ป.สธ. ,ป.คค. ,ล.สมช. ,
ผอ.สนง. ผูท้ รงค ุณว ุฒิ
กรรมการและเลขาน ุการ : อปภ.
อานาจหน้าที่
 กาหนดนโยบายในการจัดทาแผนฯ
 ให้ กปภ.ช.เห็นชอบแผนฯ
 บูรณาการพัฒนาระบบป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย
 ให้คาแนะนา ปรึกษา สนับสน ุนการ
ปฏิบตั ิหน้าที่ในการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย
 วางระเบียบค่าตอบแทน ค่าทดแทน
และค่าใช้จ่ายในการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย
 อื่นๆ
หัวข้อที่ 2
แผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2553 - 2557
10
มารูจ้ กั
11
มารูจ้ กั กับแผน ปภ. ชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
เป็นกรอบงานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้
หน่วยงานทกุ ภาคส่วนตัง้ แต่ระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิด
ภัย และหลังเกิดภัยอย่างเป็นระบบ มีทิศทางเดียวกันและ
เสริมกาลังกันอย่างบูรณาการ โดยมี สาระสาคัญที่ เป็น
แม่ แ บบให้แ ก่ แ ผนการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัย
จังหวัดและกร ุงเทพมหานคร
12
กรอบนโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เน้นการป้องกัน
เน้นการ
ทางาน
เชิงร ุก
1.พัฒนาและ
2.พัฒนาและ
ส่งเสริมระบบการ
ส่งเสริมระบบการ
ป้องกันสาธารณภัย
เตรียมความพร้อม
แผนการป้องกันและ (10 กลยุทธ์)
(7 กลยุทธ์)
บรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติ
3.พัฒนาการ
5.พัฒนาระบบ
จัดการภัยพิบตั ิ
เชื่อมโยงหน่วยงาน
ในภาวะฉุกเฉิน
เครือข่ายทั้งในและ
4.พัฒนาระบบฟื้ นฟูบูรณะ (6 กลยุทธ์)
13 ต่างประเทศ
(6 กลยุทธ์)
(5 กลยุทธ์)
เน้นการพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืน
เน้นการ
มีสว่ น
ร่วมจาก
ท ุกภาค
ส่วน
คณะรัฐมนตรีได้อน ุมัติแผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557
เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2552
1. ให้กระทรวง กรม องค์กร และหน่วยงานภาครัฐ
รัฐวิสาหกิจ จังหวัด อาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาคเอกชน จัดทาแผนปฏิบตั ิการและงบประมาณรองรับ
2. ให้สานักงบประมาณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น พิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อการ
ป้องกัน14และบรรเทาสาธารณภัย
3. ให้หน่วยงานระดับกระทรวงจัดทาแผนปฏิบตั ิการ
รองรับย ุทธศาสตร์และบรรจุไว้ในแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี
ความเชื่อมโยงแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติกบั แผนอื่นๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี
แผนหลักการป้องกัน
อ ุบัติภยั แห่งชาติ
นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนป้องกันประเทศ
แผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบตั ิการ
ภายใต้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ/
แผนแม่บทการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละประเภท
แผนผนึกกาลังและทรัพยากร
เพื่อการป้องกันประเทศ
แผนปฏิบตั ิการการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย
แบบบูรณาการระดับกระทรวง
แผนงาน/โครงการ
แผนปฏิบตั ิการตามแผนหลัก
การป้องกันอ ุบัติภยั แห่งชาติ
15
นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย
กลมุ่ จังหวัด/จังหวัด/กทม.
สนับสนุน
เกื้อกูล
แผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยระดับพื้นที่
ประสานการขับเคลื่อนและติดตามประเมินผล
ทบทวน/ปรับปร ุง/พัฒนา
รายงาน/ประชาสัมพันธ์
แผนบรรเทาสาธารณภัย
กระทรวงกลาโหม
แผนปฏิบตั ิการ
ของ
หน่วยปฏิบตั ิ
สาระสาคัญ
ของ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ.2553 - 2557
16
ขอบเขต
สาธารณภัย
ระดับความ
รุนแรงของ
สาธารณภัย
การจัดการ
 คลอบคลุม 18 ประเภทภัย
- ด้านสาธารณภัย 14 ประเภทภัย
- ด้านความมั ่นคง 4 ประเภทภัย
 แบ่งเป็ น 4 ระดับ
- ขนาดเล็ก
- ขนาดกลาง
- ขนาดใหญ่
- ขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบ
ร้ายแรงอย่างยิ่ง
 ระดับ 1 ผอ.ท้องถิ่น / ผอ.อาเภอ
 ระดับ 2 ผอ.จังหวัด / ผอ.กทม
 ระดับ 3 ผอ.กลาง / ผบ.ปภ.ช.
 ระดับ 4 นายกรัฐมนตรี
โครงสร้างแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 – 2557
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 - 2557
ส่วนที่ 1 หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ส่วนที่ 2 กระบวนการป้องกันและบรรเทาด้านสาธารณภัย
ส่วนที่ 3 การป้องกันและบรรเทาภัยด้านความมัน่ คง
อ ุทกภัย และดินโคลนถล่ม
สถานการณ์สาธารณภัยและการบริหารจัดการ
การป้องกันและระงับการก่อวินาศกรรม
ภัยจากพาย ุหมุนเขตร้อน
นโยบาย วิสยั ทัศน์ วัตถ ุประสงค์ และเป้าหมาย
กรอบย ุทธศาสตร์ แผนงาน และมาตรการ
ภัยจากอัคคีภยั
การป้องกันและบรรเทาภัยจากทนุ่ ระเบิดกับระเบิด
ภัยจากสารเคมีและวัตถ ุอันตราย
การป้องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ
การป้องกันและลดผลกระทบ
ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง
การเตรียมความพร้อม
ภัยแล้ง
การบริหารจัดการในภาวะฉ ุกเฉิน
ภัยจากอากาศหนาว
การจัดการหลังเกิดภัย
ภัยจากไฟป่าและหมอกควัน
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม
การขับเคลื18
่อนแผนไปสูก่ ารปฏิบตั ิ
ภัยจากคลื่นสึนามิ
ภัยจากโรคระบาดในมน ุษย์
ภัยจากโรคแมลง สัตว์ ศัตรพู ืชระบาด
ภัยจากโรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้า
ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
การป้องกันและระงับการช ุมน ุมประท้วง
และก่อการจลาจล
สาระสาคัญของส่วนที่ 1
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
วิสยั ทัศน์ และวัตถ ุประสงค์
 วิสย
ั ทัศน์
เป็นแผนหลักในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ของประเทศ สามารถลดความเสี่ยงและความสูญเสียใน
ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและของรัฐให้มีนอ้ ยที่ สดุ
เทียบเท่ามาตรฐานสากล
19

วัตถ ุประสงค์
เพื่ อ เป็ นกรอบและทิ ศ ทางให้ห น่ ว ยงานท กุ ภาคส่ ว น
ปฏิ บัติ การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยในทิ ศทาง
เดี ย วกัน และเสริ ม ก าลัง กัน แบบบูร ณาการอย่า งเป็ น
ระบบ มีการเตรียมความพร้อมทรัพยากรท ุกด้านตาม
ลั ก ษ ณ ะ ค ว า ม เ สี่ ย ง ภั ย โ ด ย มี ก า ร พั ฒ น า ขี ด
ความสามารถอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
20
มาตรา 31
ควบคุมและกำกับกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
ทัวรำชอำณำจั
่
กร (มำตรำ 13)
สาธารณภัย
ช่วยเหลือผูบ้ ญ
ั ชำกำร มีอำนำจบังคับบัญชำและสังกำร
่
รองจำกผูบ้ ญ
ั ชำกำร (มำตรำ 13)
ควบคุมและกำกับกำรปฏิบตั หิ น้ำทีข่ อง ผอ./
รอง ผอ./ผช.ผอ.เจ้ำพนักงำน และอำสำสมัคร
ได้ทวรำชอำณำจั
ั่
กร (มำตรำ 14)
รับผิดชอบในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
ในเขตจังหวัด (มำตรำ 15)
ช่วยเหลือ ผอ.จว. (มำตรำ 18)
รับผิดชอบในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
ในเขต กทม. (มำตรำ 32)
มีหน้ำทีช่ ว่ ยเหลือ ผอ.กทม.ในกำรป้องกันและบรรเทำ
สำธำรณภัยและปฏิบตั หิ น้ำทีอ่ น่ื ตำม ผอ.กทม.
มอบหมำย (มำตรำ 35,36)
รับผิดชอบและปฏิบตั หิ น้ำทีใ่ นกำรป้องกันและบรรเทำ
สำธำรณภัยในเขตของตน และมีหน้ำทีช่ ว่ ยเหลือ
ผอ.กทม.ตำมทีไ่ ด้รบั มอบหมำย (มำตรำ 36)
รับผิดชอบในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
ในเขตอำเภอ และช่วยเหลือ ผอ.จว.(มำตรำ 19)
รับผิดชอบในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
ในเขตท้องถิน่ ของตน และมีหน้ำทีช่ ว่ ยเหลือ ผอ.จว./
ผอ.อ. (มำตรำ 20)
รับผิดชอบในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
ในเขตท้องถิน่ ของตน และมีหน้ำทีช่ ว่ ยเหลือ ผอ.
ท้องถิน่ ตำมทีไ่ ด้รบั มอบหมำย (มำตรำ 20)
สั ่งการให้ดาเนิ นการอย่างหนึ่ งอย่างใดเพื่อป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย /
ให้ความช่วยเหลือประชาชนในพืน้ ที่ที่กาหนด (มาตรา 31)
สาธารณภัย
ร้ายแรงอย่างยิ่ ง
นำยกรัฐมนตรี/
รองนำยกรัฐมนตรีทไ่ี ด้รบั มอบหมำย
ผูบ้ ญ
ั ชำกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
แห่งชำติ (รมว.มท.)
รองผูบ้ ญ
ั ชำกำร (ปมท.)
ผูอ้ ำนวยกำรกลำง (อปภ.)
ผอ.จังหวัด (ผวจ.)
รอง ผอ.จังหวัด (นำยก อบจ.)
ผอ.กทม. (ผว.กทม.)
รอง ผอ.กทม (ปลัด กทม.)
ผูช้ ว่ ย ผอ.กทม. (ผอ.เขต)
ผอ.อำเภอ (นำยอำเภอ)
ผอ.ท้องถิน่
(นำยก อบต./นำยกเทศมนตรี/นำยกเมืองพัทยำ)
ผช.ผอ.ท้องถิน่
(ปลัดเทศบำล ปลัดเมืองพัทยำ/ ปลัด อบต.)
21
กำรจัดตัง้ องค์กรปฏิบตั กิ ำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
นายกรัฐมนตรี
กรณี เกิ ดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ ง
ผบ.ปภ.ช./ รอง ผบ.ปภ.ช/ ผอ.กลาง
(รมว.มท. /ป.มท./ อ.ปภ.)
กองบัญชาการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
กองอานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
จังหวัด
กองอานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กรุงเทพมหานคร
ผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร
(ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร)
รองผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร
(ปลัดกรุงเทพมหานคร)
ผู้อานวยการจังหวัด
(ผู้ว่าราชการจังหวัด/รองผูว้ ่าราชการจังหวัดที่ได้รบั มอบหมาย)
รองผู้อานวยการจังหวัด
(นายกองค์การบริ หารส่วนจังหวัด)
กองอานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
อาเภอ
ผูอ้ านวยการอาเภอ
(นายอาเภอ)
กองอานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สานักงานเขตกรุงเทพมหานคร
ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการกรุงเทพมหานคร
(ผูอ้ านวยการเขต)
กองอานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เมืองพัทยา
กองอานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เทศบาล
กองอานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
องค์การบริ หารส่วนตาบล
ผูอ้ ำนวยกำรท้องถิน่
(นำยกเมืองพัทยำ)
ผูอ้ ำนวยกำรท้องถิน่
(นำยกเทศมนตรี)
ผูอ้ ำนวยกำรท้องถิน่
(นำยกองค์กำรบริหำรส่วนตำบล)
22
นายกรัฐมนตรี
หรือ
รองนายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
แผนผัง
ระบบสังการ
่
และปฏิบตั กิ าร
สัง่ การ
ควบคุม/กากับ
ผูบ้ ญั ชาการ ปภ.แห่งชาติ (มท.1)
รองผูบ้ ญั ชาการ ปภ.แห่งชาติ (ป.มท.)
ควบคุม/กากับ
ผูอ้ านวยการกลาง (อ.ปภ.)
ควบคุม/กากับ
ผูอ้ านวยการจังหวัด (ผว.จ.)/ผูอ้ านวยการ กทม.(ผว.กทม.)
รอง ผอ.จ (นายก อบจ.)./รอง ผอ.กทม.(ป.กทม.)
ควบคุม/กากับ
ผูอ้ านวยการอาเภอ (นายอาเภอ)/ผูอ้ านวยการเขต (ผอ.เขต)
ควบคุม/กากับ
ผูอ้ านวยการท้องถิน่ (นายก อบต./นายกเทศมนตรี/นายกเมืองพัทยา)
หน่ วยปฏิบตั กิ ารเฉพาะด้าน
ก่อนเกิดเหตุ
หน่ วยปฏิบตั กิ ารเฉพาะด้าน/
หน่ วยร่วมปฏิบตั กิ าร
ขณะเกิดเหตุ
หน่ วยบรรเทาทุกข์
หลังเกิดเหตุ
หน่ วยปฏิบตั ิการหลัก
รองผูอ้ านวยการท้องถิน่ (ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ )
กอ.ปภ.จว./
กอ.ปภ.กทม.
กอ.ปภ.อ./
กอ.ปภ.เขต
กอ.ปภ.ทบ./
กอ.ปภ.อบต./
กอ.ปภ.เมืองพัทยา
กรม ปภ.
(ศูนย์ ปภ. 12 เขต) 23
การบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทย
ครอบคล ุมหน่วยงานเครือข่ายท ุกภาคส่วนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ
นายกรัฐมนตรี
สัง่ การ
ประสานงาน
กปภ.ช.
ประสานงาน
กรมป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย
กปอ.
ช่วยเหลือ
ร้องขอ
ผบ.ปภ.ช.
สัง่ การ
กระทรวง, กรม
กากับด ูแล
สัง่ การ
หน่วยงานระหว่างประเทศ
ผอ.กลาง
ประสานงาน
(สัง่ การ-ในกรณีของ กห.)
สัง่ การ
ผอ.ปภ.เขต
ช่วยเหลือ
ผอ.จว. หรือ
ผอ.กทม.
ร้องขอ
(ผอ.ศนู ย์ ปภ. เขต 1-18)
ช่วยเหลือ
สัง่ การ
ผอ.จว. ข้างเคียง ช่วยเหลือ
ช่วยเหลือ
24
กองทัพ
ช่วยเหลือ
ร้องขอ
ผอ.อาเภอ/ผช.ผอ.กทม. สัง่ ใช้
ผอ.ท้องถิ่น
ร้องขอ ช่วยเหลือ
ร้องขอ
สัง่ การ
ผอ.อาเภอ/ สมทบ
ผอ.ท้องถิ่นข้างเคียง
หน่วยเผชิญเหต ุ/หน่วย
หน่วยเผชิญเหต ุ สงเคราะห์ผป้ ู ระสบภัย
ร้องขอ
อปพร.
สัง่ การ
หน่วยเผชิญเหต ุ
พื้นที่ประสบภัย
ภาคเอกชน/
มูลนิธิ
สัง่ การ
สัง่ การ
สมทบ
หน่วยเผชิญเหต ุ
หน่วยเผชิญเหต ุ

ขอบเขตสาธารณภัย
 ด้านสาธารณภัยมี 14 ประเภทภัย
1) อ ุทกภัย และดินโคลนถล่ม
2) ภัยจากพาย ุหมุนเขตร้อน
3) ภัยจากอัคคีภยั
4) ภัยจากสารเคมีและวัตถ ุอันตราย
5) ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง
6) ภัยแล้ง
7) ภัยจากอากาศหนาว
25
8)
9)
10)
11)
12)
13)
14)
ภัยจากไฟป่าและหมอกควัน
ภัยจากแผ่นดินไหว และอาคารถล่ม
ภัยจากคลื่นสึนามิ
ภัยจากโรคระบาดในมน ุษย์
ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตร ูพืชระบาด
ภัยจากโรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้า
ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ

ขอบเขตสาธารณภัย (ต่อ)
 ด้านความมัน่ คง มี 4 ประเภทภัย
1) การป้องกันและระงับการก่อวินาศกรรม
2) การป้องกันและบรรเทาภัยจากทนุ่ ระเบิดกับระเบิด
3) การป้องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ
4) การป้องกันและระงับการช ุมน ุมประท้วงและ
ก่อการจลาจล
26

ระดับความร ุนแรงของสาธารณภัย
ระดับ
ความร ุนแรง
การจัดการ
1
สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทัว่ ไป ผอ.ท้องถิ่น / ผอ.อาเภอ ควบค ุม
หรือมีขนาดเล็ก
สถานการณ์
2
สาธารณภัยขนาดกลาง
ผอ.จังหวัด / ผอ.กทม. ควบค ุมสถานการณ์
3
สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มี
ผลกระทบร ุนแรง
กว้างขวาง
27
สาธารณภั
ยขนาดใหญ่ที่มี
ผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่ง
ผูอ้ านวยการกลาง / ผบ.ป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ ควบค ุมสถานการณ์
4
นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรี
ควบค ุมสถานการณ์
ย ุทธศาสตร์การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ตามวัฎจักรการบริหารจัดการของสาธารณภัย
สาธารณภัย
(Disaster Impact)
ระหว่างเกิดภัย
การเตรียมความพร้อม
(Preparedness)
การตอบโต้และบรรเทาท ุกข์ (การจัดการในภาวะฉ ุกเฉิน)
(Response and Relief or Emergency Management)
ก่อนเกิดภัย
หลังเกิดภัย
การป้องกันและลดผลกระทบ
28
(Prevention
and Mitigation)
การฟ้ ื นฟูบรู ณะและก่อสร้างใหม่
(Rehabilitation and Reconstruction)
(Disaster Management Cycle)
แผนงานและมาตรการ
ตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
ย ุทธศาสตร์
การป้องกันและ
ลดผลกระทบ
การเตรียมความพร้อม
การบริหารจัดการ
ในภาวะฉ ุกเฉิน
จานวน
จานวน
เป้าประสงค์ มาตรการ
จานวน
แผนงาน/
โครงการ
จานวนตัวชี้วดั
2
8
51
7
1
8
34
4
1
6
19
4
2
6
8
30
19
123
3
18
29
การจัดการหลังเกิดภัย
รวม 4 ย ุทธศาสตร์
เครือ่ งมืออุปกรณ์กูภ้ ยั กรม ปภ.
30
แหล่งที่มาของงบประมาณ
1. งบประมาณดาเนินการตามย ุทธศาสตร์ที่ 1 และ 2
มีที่มาจาก 3 ส่วน คือ
1) งบประมาณปกติของหน่วยงานส่วนกลาง
2) งบประมาณจังหวัดและงบประมาณของ
กลมุ่ จังหวัด
3) งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
31
2. งบประมาณดาเนินการตามย ุทธศาสตร์ที่ 3
และ 4 นอกจากใช้งบประมาณจากแหล่งที่มาตาม
ข้อ 1 ยังมีแหล่งงบประมาณอีก 2 ส่วน คือ
1) งบประมาณเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบตั ิ
กรณีฉ ุกเฉิน
2) งบกลาง
32
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ลาดับ
1.
2.
3.
4.
หน่วยงาน
บทบาท หน้าที่
เป็ นหน่วยงานกลางของรัฐในการดาเนินการเกี่ยวกับการ
ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ
สานักนายกรัฐมนตรี
จัดหางบประมาณ และให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือ
ผูป้ ระสบภัยตามนโยบายรัฐบาล
กรมประชาสัมพันธ์
ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล ข่าวสารแก่ประชาชนเกี่ยวกับการ
ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สานักงานตารวจแห่งชาติ ปราบปราม รักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย
ของประชาชน และดาเนินการทางการพิสูจน์เอกลักษณ์
33
บุคคล
กรม ปภ.
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ลาดับ
หน่วยงาน
5.
กระทรวงกลาโหม
6.
กระทรวงการต่างประเทศ
7.
กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมัน่ คงของมนุษย์
8.
กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์
บทบาท หน้าที่
ประสานการปฏิบตั ิ และให้การสนับสนุนการอานวยการ
ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นทีต่ า่ งๆ เข้ารับการ
พิทกั ษ์พ้ ืนทีส่ ว่ นหลังในยามสงคราม
ประสานงานกับรัฐบาลต่างประเทศ สมาชิกอาเซียนใน
การขอรับการช่วยเหลือ
ดูแล ช่วยเหลือเด็ก คนพิการ ผูส้ ูงอายุทปี่ ระสบภัย
จัดทาข้อมูลพื้นทีเ่ สีย่ งภัย พัฒนาแหล่งนา้ สารวจความ
เสียหายและให้ความช่วยเหลือด้านเกษตร (เงินทดรองฯ)34
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ลาดับ
หน่วยงาน
9.
กระทรวงคมนาคม
10.
กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม
11.
กระทรวงเทคโนโลยีฯ
12.
กระทรวงพลังงาน
บทบาท หน้าที่
บูรณะซ่อมแซม และสนับสนุนเกี่ยวกับการขนส่ง
เส้นทางจราจรในเส้นทางทีป่ ระสบภัยพิบตั ิ
ปรับปรุงแหล่งนา้ พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
สภาพแวดล้อม และเขตอุทยานให้มีความมัน่ คง ไม่เสีย่ ง
ต่อการเกิดภัย
แจ้งเตือนภัย (ศูนย์เตือนภัยพิบตั ิแห่งชาติ) จัด
ระบบสือ่ สารให้สามารถใช้ในภาวะปกติ และฉุกเฉิน
จัดเตรียม ผลิตเชื้อเพลิง ก๊าซ และพลังงานเพื่อใช้ในการ
35
ป้ องกันภัย
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ลาดับ
13.
14.
15.
16.
17.
หน่วยงาน
บทบาท หน้าที่
จัดให้มีเครือ่ งอุปโภคบริโภค และควบคุมราคาสินค้า
สัง่ การ ประสาน จังหวัดและอปท. ดาเนินการป้ องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย ประกาศเขต พท.ประสบภัยพิบตั ิ
ให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย (ระเบียบกระทรวงการคลัง)
กระทรวงยุตธิ รรม
ดาเนินการทางนิติวทิ ยาศาสตร์ ตรวจพิสูจน์หลักฐาน
(สถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์) ด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์
กระทรวงแรงงาน
ฝึ กฝน อบรม ฝึ กอาชีพและจัดหางานให้ผปู ้ ระสบภัย
กระทรวงวัฒนธรรม
ซ่อมแซมวัด หรือศาสนสถาน โบราณสถานทีป่ ระสบภัย36
กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงมหาดไทย
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ลาดับ
18.
19.
20.
21.
22.
หน่วยงาน
บทบาท หน้าที่
กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ จัดทาคลังข้อมูลดาวเทียม ผลงานวิจยั เทคโนโลยีเพื่อ
ประโยชน์ตอ่ การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กระทรวงศึกษาธิการ
ให้ความรูแ้ ก่นกั เรียน นักศึกษา และประชาชนในการ
ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กระทรวงสาธารณสุข
จัดเตรียม จัดหาทรัพยากรทางการแพทย์และการ
สาธารณสุข เพื่อเตรียมพร้อมทันทีเมื่อเกิดภัย
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน เป็ นหน่วยงานกลางประสานภาครัฐ เอกชนทัง้ ในและ
ตปท.ทีด่ าเนินงานเกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน
37
กระทรวงอุตสาหกรรม ดูแลระบบการป้ องกันอุบตั ภิ ยั จากสารเคมีและวัตถุอนั ตราย
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ลาดับ
23.
24.
25.
26.
27.
28.
หน่วยงาน
การประปา
การไฟฟ้ า
สภากาชาดไทย
บทบาท หน้าที่
บารุง รักษา แก้ไข ฟื้ นฟูบูรณะระบบประปา
ควบคุม ป้ องกันอันตรายอันเกิดจากระบบไฟฟ้ า
ให้การบรรเทาทุกข์ผปู ้ ระสบภัย ในด้านโลหิต ยา
เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ตา่ งๆ
มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ จัดหาอาสาสมัคร และสงเคราะห์ผปู ้ ระสบภัย
ศูนย์อาสาสมัครป้ องกัน ประสานงานอาสาสมัครประเภทต่างๆเพื่อสนับสนุน
ภัยฝ่ ายพลเรือนกลาง ผูอ้ านวยการแต่ละระดับเมื่อมีการร้องขอ
องค์กรเอกชน มูลนิธิ
สนับสนุนช่วยเหลอศูนย์อานวยการเฉพาะกิจแต่ละระดับ38
และภาคเอกชน
โครงสร้างศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ
ส่วนสนับสนุน
ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ
คณะที่ปรึกษา
ผูเ้ ชีย่ วชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิ
ผูแ้ ทนสถาบันการศึกษาในพื้นที่
ฝ่ ายอานวยการ
ฝ่ ายสือ่ สาร
ศูนย์ปฏิบตั ิการส่วนหน้า
ฝ่ ายแจ้งเตือนภัย
ฝ่ ายรับบริจาค
ฝ่ ายป้องกันและปฏิบตั ิการ
ฝ่ ายรักษา
ความสงบเรียบร้อย
ฝ่ ายฟื้ นฟูบรู ณะ
- จว.ใกล้เคียง
- มูลนิธิและองค์กร
เอกชน
- ศูนย์ ปภ.เขต 1-18
- หน่วยงานอืน่
ฝ่ ายประชาสัมพันธ์
ฝ่ ายอืน่ ๆ
ตามความ39
เหมาะสม
การมอบหมายภารกิจระดับจังหวัด
ฝ่ าย
หน่วยงาน
Incident
Commander
หน่วยสนับสนุน
ฝ่ ายอานวยการ
รอง ผวจ./ปจ.
- ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
- องค์กรที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ ายแจ้งเตือนภัย
หน.สนง.ปภ.จ.
- ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
- องค์กรที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ ายป้องกันและ
ปฎิ บัติการ
สสจ.
- ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
- องค์กรที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ ายประชาสัมพันธ์
ประชาสัมพันธ์
จังหวัด
-ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
- องค์กรที่เกี่ยวข้อง
อานาจหน้าที่
- งานธุรการ
- งานข่าวกรอง วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศและรายงาน
- งานจัดกาลังสนับสนุน
- งานศูนย์ ส่ังการ
- งานประสานการตรวจเยี่ ยม
ฯลฯ
- งานติดตามและประเมินสถานการณ์
- งานเฝ้ าระวังและแจ้งเตือนภัย
ฯลฯ
- งานปฏิ บัติการค้นหาและกู้ภัย
- งานอพยพผูป้ ระสบภัย
- งานรักษาพยาบาลและการแพทย์ ฉุกเฉิน
- งานบริหารจัดการผูเ้ สียชีวิต
- งานส่งกาลังบารุง
ฯลฯ
- งานประชาสัมพันธ์
- งานตอบโต้การข่าว
ฯลฯ
การมอบหมายภารกิจระดับจังหวัด
ฝ่ าย
Incident Commander
ฝ่ ายสื่อสาร
อานาจหน้าที่
หน่วยงาน
หน่วยสนับสนุน
หัวหน้าสานักงานจังหวัด - ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง - วางระบบสื่อสาร
- วางระบบสารสนเทศ
- องค์กรที่เกี่ยวข้อง
ฯลฯ
ฝ่ ายรับบริจาค
นายกเหล่ากาชาดจังหวัด - ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง - งานตั้งศูนย์รับบริจาค
- งานจัดสรรเงินและสิ่งของบริจาค
(ที่ ผวจ. มอบหมาย)
- องค์กรที่เกี่ยวข้อง
- งานจัดทาบัญชีรับ-จ่ายสิ่งของบริจาค
ฯลฯ
ฝ่ ายรักษา
ความสงบเรียบร้อย
ฝ่ ายฟื้ นฟู บรู ณะ
- ผูบ้ ังคับการตารวจ
ภูธรจังหวัด
- ผูก้ ากับการสถานี
ตารวจภูธรเมือง
พัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงมนุษย์จังหวัด
- ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง - งานป้องกันการโจรกรรม
- งานรักษาความปลอดภัย
- องค์กรที่เกี่ยวข้อง
- งานจราจร
ฯลฯ
- ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง - งานประเมินความเสียหายและความต้องการ
- งานสงเคราะห์ผูป้ ระสบภัย
- องค์กรที่เกี่ยวข้อง
- งานจัดหาปัจจัยสี่ที่จาเป็ น
- ศูนย์พกั พิงชั่วคราว
ฯลฯ
การขับเคลื่อนแผนไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ประกอบด้วย

องค์กรบริหารจัดการและขับเคลื่อนแผนฯ
1) กปภ.ช. กากับด ูแลระดับประเทศ
2) กปภ.ช. แต่งตัง้ “คณะอน ุกรรมการประสาน
การขับเคลื่อนย ุทธศาสตร์การป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ” เพื่อทาหน้าที่ประสานการ
ขับเคลื่อนตามแผน ปภ. ชาติ
42
สาระสาคัญของส่วนที่ 2
กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัย
กาหนดขอบเขตการบริหารจัดการสาธารณภัย
แบบบูร ณาการของหน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารหลัก หน่ ว ย
ปฏิบัติการ หน่วยสนับสนนุ หน่วยบรรเทาทกุ ข์และ
ฟ้ ื นฟูอ ย่า งชัด เจน ทั้ง ในระดับ จัง หวัด /กทม. ตาม
ระดับความร ุนแรง กาหนดไว้ 14 ประเภทภัย ตาม
ตัวอย่าง ดังนี้
43
แผนผังการปฏิบตั ิงานแบบบูรณาการระดับจังหวัด (แยกตามประเภทภัยและระดับความร ุนแรง)
นายกรัฐมนตรี
กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิง่ (ความรุนแรงระดับ 4)
สมช.
สัง่ การ
ร้องขอ
ช่วยเหลือ/สัง่ การ
จัดตั้ง
ผบ.ปภ.ชาติ (รมว.มท.)หรือ
ผอ.กลาง (อ.ปภ.)
รายงาน
ผอ.จังหวัด (ผวจ.)
จัดทา
จัดตั้ง/สัง่ การ
แผน ปภ.จว./
แผนปฏิบัติการเฉพาะกิจฯ
จากอุทกภัย และดินถล่ ม
ศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจฯ
ระดับท้ องถิ่น/อาเภอ
(ความรุนแรงระดับ 1)
หน่ วยปฏิบัตกิ าร
อบต./ เทศบาล/เมืองพัทยา/อาเภอ
(นายก อบต./ นายกเทศมนตรี/
นายกเมืองพัทยา/นายอาเภอ)
หน่วยร่ วมปฏิบตั ิการ
รักษาพยาบาล
รักษาพยาบาล 44
รักษาความปลอดภัย
/จัดการจราจร
- สนง.ประปา น้ าดื่มน้ าใช้
- สนง.ไฟฟ้า
ดูแลระบบไฟฟ้ า
- ศูนย์ เทคโนโลยีการเกษตร
แจ้งเตือนเกษตรกร
/ข้อมูลป้ องกันความเสี ยหาย
- อปพร.
ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่
- มูลนิธิ
ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่
ฯลฯ
- โรงพยาบาล
- สถานีอนามัย
- สถานีตารวจ
ปฏิบตั ิการ
-
ก่อนเกิดเหตุ
ขณะเกิดเหตุ
ปฏิบตั ิการ
หลังเกิดเหตุ
ให้ความช่วยเหลือ
หน่ วยบรรเทาทุกข์ และฟื้ นฟูบูรณะ
- อบต./เทศบาล/เมืองพัทยา/ อาเภอ/อบจ.
- ศูนย์ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต
- สนง.ปภ.จังหวัด
- สนง.สาธารณสุ ข จว.
- สนง.เกษตร จว.
- สนง.ประมง จว.
- ปศุสัตว์ จว.
- สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ จว.
- สนง.ประกันสั งคม จว.- สนง.แรงงาน จว.
- เหล่ ากาชาด จว.
- สนง.พัฒนาสั งคมฯ
- มูลนิธ/ิ องค์ กรสาธารณกุศล
ฯลฯ
หน่ วยสนับสนุน
- สภากาชาดไทย
รักษาพยาบาล/ช่วยเหลือ
เครื่ องอุปโภคบริ โภค
- มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ฯ
ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่
- มูลนิธิเพือ่ นพึง่ (ภา) ยามยาก
ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่
- องค์ การระหว่ างประเทศ
- องค์ กรสาธารณกุศล
- อาสาสมัคร
ฯลฯ
หน่ วยปฏิบัตกิ าร
จังหวัด
-
ป้ องกัน/เตรี ยมพร้อม
เตรี ยมการ
ช่วยเหลือ
ศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจฯ
ระดับจังหวัด
(ความรุนแรงระดับ 2)
-
-
-
หน่ วยร่ วมปฏิบัตกิ าร
สนง.ชลประทาน จว.
ข้อมูลปริ มาณน้ า/จัดสรรน้ า
สนง.ปภ.จังหวัด บริ หารจัดการ
อบจ.
สนับสนุนบุคลากร/เครื่ องจักรกล
สนง.ประชาสั มพันธ์ จว.
ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่ ข่าวสาร
หน่ วยทหารในพืน้ ทีแ่ ละศูนย์
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เขต
เครื่ องจักร ยานพาหนะ กาลังพล
สนง.สาธารณสุ ข จว.
ดูแลสุ ขภาพอนามัย
สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ จว.
ฟื้ นฟูสภาพแวดล้อม
สนง.ประมง จว.
ดูแลสัตว์น้ า
สนง.ปศุสัตว์ จว.
ดูแลปศุสตั ว์
กองบังคับการตารวจภูธร จว.
รักษาความสงบ/จัดการจราจร
ทีท่ าการปกครอง จว.
สนับสนุน/ประสานอาเภอและ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อปพร. ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่
มูลนิธิ/องค์ กรการกุศล
ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่
ฯลฯ
ร้องขอ
ประสานงาน
คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ
รายงาน
-
สนับสนุน
สัง่ การ
-
หน่ วยร่ วมปฏิบัตกิ าร
สนง.อุตุนิยมภาค
ข้อมูลพยากรณ์อากาศ
สนง.ชลประทานภาค
ข้อมูลปริ มาณน้ า/จัดสรรน้ า
ศูนย์ ปภ.เขต
เครื่ องจักรกล/ข้อมูล
หน่ วยทหารในพืน้ ที่
เครื่ องจักรกล กาลังพล วัสดุ
อุปกรณ์กภู้ ยั ยานพาหนะ
หน่ วย ตชด.ในพืน้ ที่
สนับสนุนกาลังพล
วัสดุอุปกรณ์กภู้ ยั ยานพาหนะ
สนง.ทางหลวงภาค
ซ่ อมแซมเส้ นทางคมนาคม
สนง.ทางหลวงชนบทภาค
ซ่อมแซมเส้นทางคมนาคม
สนง.ทรัพยากรนา้ ภาค
สนับสนุนผูเ้ ชี่ยวชาญ
ฯลฯ
ศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจฯ
ระดับชาติ
(ความรุนแรงระดับ 3)
หน่ วยปฏิบัตกิ าร
ปภ.
หน่ วยร่ วมปฏิบัตกิ าร
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ดูแลสภาพน้ าและพื้นที่เกษตร
ที่ได้รับความเสี ยหาย
- กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสาร
ดูแลเรื่ องสภาพอากาศและ
การสื่ อสาร การแจ้งเตือน
- ศูนย์ บรรเทาสาธารณภัย กห.
เครื่ องจักรกล กาลังพล
วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะ
- กระทรวงสาธารณสุ ข
ดูแลสุ ขภาพอนามัย
ป้ องกันโรคระบาด
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ
ดูแล/ฟื้ นฟูสภาพแวดล้อม
- สานักงานตารวจแห่ งชาติ
สนับสนุนอากาศยาน กาลังพล
วัสดุอุปกรณ์
- กระทรวงการพัฒนาสั งคมฯ
สงเคราะห์/ฟื้ นฟูผปู ้ ระสบภัย
- กระทรวงแรงงาน
ฟื้ นฟูอาชีพ
- กระทรวงการต่ างประเทศ
ประสานงาน ขอความช่วยเหลือ
กับหน่วยงานต่างประเทศ
- กระทรวงคมนาคม
ฟื้ นฟู/ปรับปรุ งเส้นทาง
คมนาคมและขนส่ง
ฯลฯ
สาระสาคัญของส่วนที่ 3
กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยด้านความมัน่ คง

หลักการป้องกันและบรรเทาภัยด้านความมัน่ คง
 กาหนดขอบเขตการบริหารจัดการภัยแบบบูรณาการ
ของหน่ ว ยปฏิ บั ติ การหลั ก หน่ ว ยปฏิ บั ติ การ หน่ ว ย
สนับสนนุ หน่วยบรรเทาท ุกข์ และฟ้ ื นฟูอย่างชัดเจน ทัง้ ใน
ระดับจังหวัด /กร ุงเทพมหานคร ตามระดับความร ุนแรง
ของภัย กาหนดไว้ 4 ประเภทภัย ด้านความมัน่ คง
45
แผนผังการปฏิบตั ิงานแบบบูรณาการระดับจังหวัด (แยกตามประเภทภัยและระดับความร ุนแรง)
นายกรัฐมนตรี
ประสานงาน
สมช.
สั่งการ
ร้องขอ
ช่วยเหลือ/สั่งการ
จัดตั้ง
ผบ.ปภ.ชาติ (รมว.มท.)
หรือ ผอ.กลาง (อ.ปภ.)
รายงาน
ผอ.จังหวัด (ผวจ.)
จัดทา
จัดตั้ง/สัง่ การ
แผน ปภ.จว./
แผนปฏิบัติการป้องกันและระงับ
การชุมนุมประท้ วงและก่อการจลาจล
ศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจฯ
ระดับท้ องถิ่น/อาเภอ
(ความรุนแรงระดับ 1)
หน่ วยปฏิบัตกิ าร
อบต./ เทศบาล/เมืองพัทยา/อาเภอ
(นายก อบต./นายกเทศมนตรี/
นายกเมืองพัทยา/นายอาเภอ)
หน่ วยร่ วมปฏิบัตงิ าน
- โรงพยาบาล - รักษาพยาบาล 46
- สถานีอนามัย - รักษาพยาบาล
- สถานีตารวจ - รักษาความปลอดภัย
/จัดการจราจร
- อาสาสมัคร - ช่วยเหลือ จนท.
- มูลนิธิ
- ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่
ฯลฯ
ช่วยเหลือ
ศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจฯ
ระดับจังหวัด
(ความรุนแรงระดับ 2)
หน่ วยปฏิบัตกิ าร
จังหวัด
หน่ วยร่ วมปฏิบัตกิ าร
- สนง.ประชาสั มพันธ์ จว.
ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่ ข่าวสาร
ป้ องกัน/เตรี ยมพร้อม
- หน่ วยทหารในพืน้ ที่
งานป้ องกัน
เตรี ยมการ
ดูแลรักษาความสงบเรี ยบร้อย,
ก่ อนเกิดเหตุ
การข่าว
- สนง.สาธารณสุ ข จว.
รักษาพยาบาลผูบ้ าดเจ็บ
ปฏิบตั ิการ
ปฏิบตั ิการ
ขณะเกิดเหตุ
- กองบังคับการตารวจภูธร จว.
รักษาความสงบ/จัดการจราจร,
การข่าว
ปฏิบตั ิการ - กอ.รมน.จว.
หลังเกิดเหตุ
การข่าว, ปฏิบตั ิการจิตวิทยา
- ทีท่ าการปกครอง จว.
ให้ความช่วยเหลือ
การข่าว,ปฏิบตั ิการจิตวิทยา
หน่ วยบรรเทาทุกข์ และฟื้ นฟูบูรณะ
- อปพร.
- อบต. /เทศบาล/เมืองพัทยา /อาเภอ / อบจ.
ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่
- มูลนิธิ/องค์ กรการกุศล
- สนง.ปภ.จว.สนง.สาธารณสุ ข จว.
ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่
- สนง.ประกันสั งคม จว.- สนง.แรงงาน จว.
- ศูนย์ ปภ.เขต
- เหล่ ากาชาด จว.
- สนง.พัฒนาสั งคมฯ
เครื่ องจักรกล,อพยพ,กาลังพล
- มูลนิธ/ิ องค์ กรสาธารณกุศล
วัสดุอุปกรณ์กภู้ ยั ,ยานพาหนะ
ฯลฯ
ฯลฯ
ร้องขอ
คณะกรรมการเตรียมพร้ อมแห่ งชาติ
รายงาน
สนับสนุน
สั่งการ
หน่ วยร่ วมปฏิบัตกิ าร
- ศูนย์ ปภ.เขต
เครื่ องจักรกล,อพยพ,
ยานพาหนะ
- หน่ วยทหารในพืน้ ที่
เครื่ องจักรกล กาลังพล วัสดุ
อุปกรณ์กภู้ ยั ยานพาหนะ
- ตารวจภูธรภาค
จัดการจราจร,รักษาความสงบ
เรี ยบร้อย
- สถาบันการแพทย์ ฉุกเฉิน
แห่ งชาติ
รักษาพยาบาล
- กอ.รมน. ภาค
การข่าว,ปฏิบตั ิการจิตวิทยา
- กรมการปกครอง
การข่าว,ปฏิบตั ิการจิตวิทยา
-
หน่ วยสนับสนุน
สภากาชาดไทย
รักษาพยาบาล/ช่วยเหลือ
เครื่ องอุปโภคบริ โภค
มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ฯ
ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่
มูลนิธิเพือ่ นพึง่ (ภา) ยามยาก
ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่
องค์ การระหว่ างประเทศ
องค์ กรสาธารณกุศล
อปพร.
ฯลฯ
ศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจฯ
ระดับชาติ
(ความรุนแรงระดับ 3)
หน่ วยปฏิบัตกิ าร
สานักงานตารวจแห่ งชาติ
หน่ วยร่ วมปฏิบัตกิ าร
- กระทรวงกลาโหม
ดูแลรักษาความสงบ
- กอ.รมน.
ป้ องกันและระงับการ
ก่อการจลาจลปฏิบตั ิการจิตวิทยา,
การข่าว,แจ้งเตือน
- สขช.ปฏิบตั ิการด้านการข่าว
- กระทรวงสาธารณสุ ข
การรักษาพยาบาล
- กระทรวงมหาดไทย
การข่าว,การอพยพ,อานวย
ความ
สะดวกผูช้ ุมนุม,วัสดุอุปกรณ์
ยานพาหนะ
- กระทรวงการต่ างประเทศ
ประสานงานทาความเข้าใจกับ
ต่างประเทศ
- กระทรวงยุตธิ รรม
อานวยความยุติธรรม
พิสูจน์เอกลักษ์บุคคล
- กรมประชาสั มพันธ์
ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่
46
ข่าวสาร
ฯลฯ
หัวข้อที่ 3
บทบาทของผูอ้ านวยการท้องถิ่น
ตามแผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 – 2557
47
โครงสร้างการจัดตั้งองค์กรปฏิบตั กิ ารป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ระดับจังหวัด
ระดับชาติ
นายกรัฐมนตรี
กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิง่
กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
ผบ.ปภ.ช./รอง ผบ.ปภ.ช./ผอ.กลาง (รมว.มท./ป.มท./อปภ.)
กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร
ผูอ้ านวยการจังหวัด
(ผูว้ ่าราชการจังหวัด/รองผูว้ ่าราชการจังหวัดที่ได้รบั มอบหมาย)
รองผูอ้ านวยการจังหวัด
(นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด)
ผูอ้ านวยการกรุงเทพมหานคร
(ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร)
รองผูอ้ านวยการกรุงเทพมหานคร
(ปลัดกรุงเทพมหานคร)
กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
อาเภอ
กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สานักงานเขตกรุงเทพมหานคร
ผูอ้ านวยการอาเภอ
(นายอาเภอ)
ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการกรุงเทพมหานคร
(ผูอ้ านวยการเขต)
กองอานวยการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยเทศบาล
(2,010 แห่ง)
ผูอ้ านวยการท้องถิ่น
(นายกเทศมนตรี)
กองอานวยการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยองค์การ
บริหารส่วนตาบล (5,765 แห่ง)
ผูอ้ านวยการท้องถิ่น
(นายกองค์การบริหารส่วนตาบล)
กองอานวยการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยเมืองพัทยา
ผูอ้ านวยการท้องถิ่น
(นายกเมืองพัทยา)
บทบาทของผูอ้ านวยการท้องถิ่นตาม
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2553 - 2557
•สนับสน ุนงบประมาณเพื่อการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยในเขตพื้นที่ของตน
• แผนฯจังหวัด จะต้องมีแผนและขัน้ ตอนของ อปท.
ในการจัดหาวัสด ุอ ุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และ
ยานพาหนะ
• ดาเนินการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
49
บทบาทของผูอ้ านวยการท้องถิ่นตาม
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2553 - 2557
•สัง่ ข้าราชการ พนักงานท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน
อาสาสมัคร บ ุคคลใดๆ
• ใช้อาคาร สถานที่ วัสด ุอ ุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
ยานพาหนะของรัฐและเอกชนในพื้นที่เท่าที่จาเป็น
• ใช้เครื่องมือสื่อสารท ุกระบบ
• ขอความช่วยเหลือ อปท. อื่น
• สัง่ ห้ามเข้าออกพื้นที่ อาคาร/สถานที่
• จัดให้มีการสงเคราะห์ผป้ ู ระสบภัยโดยทัว่ ถึงและรวดเร็ว
50
บทบาทของผูอ้ านวยการท้องถิ่นตาม
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2553 - 2557
 จัดสถานที่อยูอ่ าศัยชัว่ คราว/ปฐมพยาบาล/รักษา
ทรัพย์สิน
 จัดระเบียบการจราจรชัว่ คราวในพื้นที่เกิดภัยและ
ใกล้เคียง
 ปิดกัน้ ผูไ้ ม่เกี่ยวข้องเข้าไปยังพื้นที่เกิดภัย
 จัดการรักษาความสงบเรียบร้อย
 ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย/ขนย้ายทรัพย์สินเมื่อเจ้าของ
ร้องขอ (อาจมอบองค์การสาธารณก ุศลช่วยดาเนินการได้)
51
บทบาทของผูอ้ านวยการท้องถิ่นตาม
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2553 - 2557
 สารวจความเสียหายที่เกิดขึ้น
 ทาบัญชีรายชื่อผูป้ ระสบภัยและทรัพย์สินที่เสียหาย
 ออกหนังสือรับรองผูป้ ระสบภัยไว้เป็นหลักฐานในการ
รับการสงเคราะห์
 ถ้าผูป้ ระสบภัยร้องขอกรณีเอกสารราชการสูญหาย
ให้ทอ้ งถิ่นแจ้งหน่วยงานรับผิดชอบดาเนินการโดย
ไม่เสียค่าใช้จ่าย
52
ผอ.ท้องถิ่นต้องขอความเห็นชอบจาก
ผูว้ ่าราชการจังหวัด

ในกรณีเกิดสาธารณภัยและภยันตรายจากสาธารณภัย
ใกล้ถึง จาเป็นต้องป้องกันภัยอย่างเร่งด่วน
- ดัดแปลง ทาลาย เคลื่อนย้าย สิ่งก่อสร้าง
- ดัดแปลง ทาลาย เคลื่อนย้าย วัสด ุ
- ดัดแปลง ทาลาย เคลื่อนย้าย ทรัพย์สิน
 ในกรณีที่การดัดแปลง ทาลาย เคลื่อนย้ายดังกล่าว
มีผลให้เกิดสาธารณภัยในพื้นที่อื่น หรือเกิดความ
เสียหายเพิ่มขึ้น
53
หัวข้อที่ 4
การป้องกันและบรรเทาภัยจากโรคระบาดในมนุษย์
โรคแมลง สัตว์ ศัตรูพชื ระบาด โรคระบาดสัตว์
และสัตว์น้า ตามกรอบแผนการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ.2553-2557
นิยาม “โรคระบาดในมนุ ษย”์
“โรคระบาดในมนุษย์” คือ เป็ นการจาแนกโรคอย่างหนึ่ง
ซึ่งปรากฏขึ้นในประชากรกลุ่มหนึ่ง ในระยะเวลาหนึ่ง ในอัตราที่
สู งขึ้ นมากกว่ า ที่ค าดการณ์ไว้ โดยเทีย บกับประวัติก ารเกิ ดโรค
ในอดีต โรคนั้นอาจเป็ นโรคติดต่อทางสัมผัสหรือไม่ก็ได้ ส่งผลต่อ
ชีวิตความเป็ นอยู่ของประชาชนในพื้นที่เกิดโรคระบาดและพื้นที่
ใกล้เคียง
นิยาม “โรค แมลง สั ตว ์ ศั ตรูพช
ื ระบาด”
พืช หมายความว่า พันธุพ์ ืชทุกชนิดทั้งพืชบก พืชน้ า และ
พืชประเภทอื่น รวมทั้งส่วนหนึ่งส่วนใดของพืช ...
ศัตรูพืช หมายความว่า สิ่งซึ่งเป็ นอันตรายแก่พืช เช่น เชื้อ
โรคพืช แมลง สัตว์ หรือพืชที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่พืช
นิยาม “โรคระบาดสั ตว ์ และสั ตวน
์ ้า” (ตอ)
่
“สัตว์” หมายความว่า
(1) ช้าง ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แพะ แกะ สุกร สุนัข แมว
กระต่าย ชะนี และให้หมายความรวมถึงน้ าเชื้อสาหรับผสมพันธุ ์
สัตว์เหล่านี้
(2) สัตว์ปีก จาพวกนก ไก่ เป็ ด ห่าน และให้ความหมาย
รวมถึงไข่สาหรับใช้ทาพันธุด์ ว้ ย และ
(3) สัตว์ชนิดอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงกาหนดสัตว์
ชนิดอื่นตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2546
“สัตว์ป่า” หมายความว่า สัตว์ทุกชนิด ไม่ว่าสัตว์บ ก สัตว์น้ า
สัต ว์ปี ก แมลง หรื อ แมง ซึ่ ง โดยสภาพธรรมชาติย่อ มเกิ ด และ
ดารงชี วิตอยู่ในป่ า หรือในน้ า และให้หมายความรวมถึงไข่ของ
สัตว์ป่าเหล่านั้นทุกชนิดด้วย...
นิยาม “โรคระบาดสั ตว ์ และสั ตวน
์ ้า” (ตอ)
่
“ซากสัตว์” หมายความว่า ร่างกายหรือส่วนของร่างกายสัตว์ที่
ตายแล้ว และยังไม่ได้แปรสภาพเป็ นอาหารสุก หรือสิ่งประดิษฐ์
สาเร็จรูป และให้หมายความรวมถึงงา เขา ขน ที่ได้ตดั ออกจาก
สัตว์ขณะมีชีวิต และยังไม่ได้แปรสภาพเป็ นสิ่งประดิษฐ์สาเร็จรูปด้วย
“สัต ว์น้ า ” หมายความว่ า สัต ว์ที่อ าศัย อยู่ใ นน้ า หรือ มี วงจร
ชี วิ ต ส่ว นหนึ่ ง อยู่ใ นน้ า หรือ อาศัยอยู่ใ นบริเวณที่น้ า ท่วมถึ ง เช่ น
ปลา กุง้ ปู แมงดาทะเล หอย เต่า กระ ตะพาบน้ า จระเข้ รวมทัง้
ไข่ ข องสัต ว์น้ า นั้ น สัต ว์น้ า จ าพวกเลี้ ยงลู ก ด้ว ยนม ปลิ ง ทะเล
ฟองน้ า หินปะการัง กัลปั งหา และสาหร่ายทะเล ...
“เกษตรกรประมง” หมายความว่า เกษตรกรผูเ้ พาะสัตว์น้ า
จืดและเกษตรกรผูเ้ พาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั ่งทุกชนิด โดยต้องเป็ น
ผูม้ ีรายชื่ออยูใ่ นทะเบียนผูเ้ พาะเลี้ยงสัตว์น้ าของจังหวัด
การจัดทาแผนฯ
• พัฒนาระบบเครือข่าย
ฐานข้อมูลสารสนเทศด้านโรค
ระบาดฯ
การใช้โครงสร้าง
• แผนปฏิบตั กิ ารป้องกันและแก้ไข
ปั ญหาโรคระบาดฯ ระดับ
ประเทศ/จังหวัด/อาเภอ/ท้องถิ่น
ให้สอดคล้องกับแผนการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ/
จังหวัด
• แผนยุทธศาสตร์เตรียม
ความพร้อม ป้องกัน และแก้ไข
ปั ญหาโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ
(พ.ศ.2556-2559)
• ฝึ กซ้อมแผนปฏิบตั กิ าร
ป้องกันและบรรเทาภัยจากโรค
ระบาดฯ
การฝึ กซ้อมแผนฯ
• พัฒนาทีมแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญ
และพยาบาลดูแลผูป้ ่ วยวิกฤติ
• จัดตั้งและฝึ กอบรม
อาสาสมัครเพื่อช่วยเหลืองาน
เจ้าหน้าที่ เช่น อปพร.
• แต่งตั้งคณะกรรมการ
อานวยการเตรียมความพร้อม
ป้องกัน และแก้ไขปั ญหา
โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่แห่งชาติ
การเตรียมบุคลากร
และชุมชน
การสร้างความตระหนัก
เกี่ยวกับสาธารณภัย
• เสริมสร้างความรูแ้ ละความ
ตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันและ
ปฏิบตั ติ นอย่างถูกต้องและ
ปลอดภัยจากโรคระบาดฯ
• จัดทาสรุปบทเรียนของการ
เกิดภัยจากโรคระบาดฯ
• จัดทาฐานข้อมูลกาลังเจ้าหน้าที่
อาสาสมัคร เครือ่ งมือ และ
อุปกรณ์ในการช่วยเหลือ
• จัดหาเครือ่ งมือและอุปกรณ์ใน
การตรวจคัดกรอง
• จัดเตรียมระบบสือ่ สารหลัก
ระบบสือ่ สารรอง และ
ระบบสือ่ สารสารองที่จาเป็ น
การเตรียมฐานข้อมูล
เครือ่ งมืออุปกรณ์
• ประสานข้อมูลหน่วยงาน
ด้านสาธารณสุขในพื้ นที่
• จัดทีมเจ้าหน้าที่เฝ้ าระวัง
สอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว
• แจ้งเตือนประชาชนในพื้ นที่หรือ
บริเวณใกล้เคียงทราบเหตุการณ์
และวิธีป้องกันตัว
เฝ้ าระวังและแจ้งเตือนภัย
องค์กรปฏิบตั ิ
• ศูนย์อานวยการฯ ตามระดับ
ความรุนแรง พร้อมทั้งจัด
เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์
• ให้การรักษาพยาบาลแก่ผเู ้ จ็บป่ วย
ตามความเหมาะสม
• ประสานหน่วยงานเครือข่าย เช่น
หน่วยกูช้ ีพกูภ้ ยั แพทย์พยาบาล ฯลฯ
• การจัดตั้งศูนย์รบั บริจาค
• การตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล
• การใช้เงินทดรองราชการ
การช่วยเหลือ
ผูป้ ระสบภัย
การสร้างขวัญและกาลังใจ
• สารวจความเสียหายและ
จัดทาบัญชีรายชื่อผูป้ ระสบภัย
เพื่อรับการสงเคราะห์และฟื้ นฟู
• เงินทดรองราชการ
• งบปกติของหน่วยงาน
• ฟื้ นฟูสภาพจิตใจประชาชน
ที่ประสบภัยให้กลับสูภ่ าวะปกติ
• จัดหาสถานที่เก็บรักษาศพ
• พิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลและส่งกลับ
• เคลื่อนย้ายศพ
• ฟื้ นฟูความเสียหาย
• ศึกษาผลกระทบจากโรคระบาด ฯ
การสงเคราะห์และฟื้ นฟู
การจัดการศพ
การฟื้ นฟูผปู ้ ระสบภัย
• สารวจความเสียหาย
ด้าน ชีวิตและทรัพย์สนิ
เช่น ผูเ้ สียชีวิต บาดเจ็บ
บ้านพักอาศัย เครือ่ งมือ
ประกอบอาชีพ ฯลฯ
การสารวจความเสียหาย
• การจัดหาที่พกั อาศัย
ชั ่วคราว
• การฟื้ นฟูสภาพจิตใจ
• การฟื้ นฟูคุณภาพชีวิต
และฟื้ นฟูอาชีพ
• ฟื้ นฟูสงิ่ สาธารณประโยชน์
เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา
ฯลฯ ให้กลับสูภ่ าวะปกติ
• ฟื้ นฟูสภาพแวดล้อม
การฟื้ นฟูพื้นที่ประสบภัย
หัวข้อที่ 5
แผนปฏิบตั ิการ
ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. ...
(แผน อปท.)
66
แผนปฏิบตั ิการ
ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. ...
67
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทนา
 ข้อมูลพื้นฐานของท้องที่
 การจัดตัง
้ กองอานวยการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยในเขตพื้นที่
 การปฏิบต
ั ิกอ่ นเกิดภัย
 การปฏิบต
ั ิขณะเกิดภัย
 การอพยพ
 การปฏิบต
ั ิหลังเกิดภัย
 การสื่อสาร
 ภาคผนวก
68
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 1 บทนา
» วัตถ ุประสงค์
» แผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพ
ของ ชื่อ อปท.
69
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของ ชื่อ อปท.
2.1 ลักษณะทางภ ูมิศาสตร์
2.2 ประชากร
2.3 ลักษณะการประกอบอาชีพ
2.4 สถิติการเกิดสาธารณภัย
2.5 ข้อมูลความเสี่ยงภัย
2.6 การประเมินความเสี่ยงภัยของ ชื่อ อปท.
70
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 3 การจัดตัง้ กองอานวยการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
3.1 องค์กรปฏิบตั ิ
3.2 โครงสร้างและหน้าที่
3.3 การบรรจุกาลัง
71
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ชือ
่
อปท
(ผู้อานวยการทองถิ
น
่ เป็ นผู้อานวยการศูนยฯ)
้
์
ฝ่าย
อานวยก
าร
•เทศมนต
รี/รอง
นายก
อบต. ที่
ไดรั
้ บ
มอบหมา
ย
•สานัก
ปลัด
•กานัน/
ผู้ใหญ/่
ฝ่าย
แผนและ
โครงกา
ร
•กอง
วิชาการ
และ
แผนงาน
ฯลฯ
ฝ่าย
ป้องกัน
และ
ปฏิบต
ั ก
ิ าร
•สานักปลัด
•ตารวจ
•กานัน/
ผู้ใหญ/่
ผู้นาชุมชน
•อปพร.
อาสาสมัคร
ตางๆ
่
ฯลฯ
ฝ่าย
ฟื้ นฟู
บูรณะ
•กองช่าง
•กองคลัง
•สาธารณสุ
ขอาเภอ
•ไฟฟ้า
•ประปา
•ทางหลวง
ชนบท
ฯลฯ
ฝ่าย
ประชาสั ม
พันธ ์
•สานัก
ปลัด
•กอง
วิชาการ
และ
แผนงาน
•วิทยุ
ชุมชน
ฯลฯ
72
แผนภูมท
ิ ี่ 3.1 โครงสรางกองอ
านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
้
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 4 การปฏิบตั ิกอ่ นเกิดสาธารณภัย
4.1 วัตถ ุประสงค์
4.2 การปฏิบตั ิ
4.2.1 การป้องกันและลดผลกระทบ
(การวิเคราะห์ความเสี่ยง เตรียมข้อมูล การให้ความรู้ เตรียมพร้อม
ด้านโครงสร้างและสัญญาณเตือนภัย)
4.2.2 การเตรียมความพร้อม
(ระบบปฏิบตั ิการฉ ุกเฉิน บ ุคลากร เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และ
เตรียมพร้อมรับสถานการณ์)
73
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 5 การปฏิบตั ิในภาวะฉ ุกเฉิน
5.1 วัตถ ุประสงค์
5.2 การปฏิบตั ิเมื่อเกิดสาธารณภัย
1) ระดับหมูบ่ า้ น/ช ุมชน
2) สาธารณภัยร ุนแรงเกินกว่าระดับ
หมูบ่ า้ น/ช ุมชนจะควบค ุมได้
3) สาธารณภัยร ุนแรงเกินกว่าระดับ
ท้องถิ่นจะควบค ุมได้
5.3 การจัดตัง้ ศูนย์บญ
ั ชาการเหต ุการณ์
74
การจัดองค์กรรับผิดชอบ ณ พื้นที่เกิดภัย
ศ ูนย์บญ
ั ชาการเหต ุการณ์
เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
เจ้าหน้าที่ประสานงาน
เจ้าหน้าที่รกั ษาความปลอดภัย
ฝ่าย
วางแผน
ฝ่าย
ปฏิบตั ิการ
ฝ่าย
สนับสน ุน/
ฝ่ายการเงิน/
บริหาร
ส่งกาลังบาร ุง
75
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 6 การอพยพ
6.1 วัตถ ุประสงค์
6.2 การปฏิบตั ิ
1) การเตรียมการอพยพ
2) การจัดระเบียบสถานที่อพยพและ
การรักษาความปลอดภัย
3) การดาเนินการอพยพขณะเกิดภัย
4) การดาเนินการอพยพเมื่อภัยสิ้นส ุด
76
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 7 การปฏิบตั ิหลังเกิดภัย
7.1 วัตถ ุประสงค์
7.2 หลักการปฏิบตั ิ
- นาคน ทรัพย์สิน และเครือ่ งมือ เข้าฟ้ ื นฟู
7.3 การปฏิบตั ิ
1) การฟ้ ื นฟูผป้ ู ระสบภัย
- ทาแผนฟ้ ื นฟู
- ตัง้ หน่วยบรรเทาท ุกข์
- ให้ความช่วยเหลือและฟ้ ื นฟู
- จัดตัง้ หน่วยควบค ุมความปลอดภัย
77
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2) การฟ้ ื นฟูโครงสร้างพื้นฐานและ
สิ่งสาธารณะประโยชน์
- ทาแผนฟ้ ื นฟู
- สารวจความเสียหาย
- ดาเนินการซ่อมตามแผนฟ้ ื นฟู
3) การติดตามและประเมินผล
- ตัง้ คณะทางานประเมินผล
- ปรับปร ุงและทบทวนแผน
78
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประปาอาเภอ.....
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
กองอานวยการป้ องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยอาเภอ......
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่ องความถี่)
องค์ กรภาคเอกชน
(ชมรม/สมาคม/มูลนิธิ)
ทีม่ เี ครื่องมือสื่อสาร
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่ องความถี่)
วิทยุสมัครเล่ น.....
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่ องความถี่)
กองอานวยการป้ องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด.....
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่ องความถี่)
กองอานวยการป้องกัน
และบรรเทา
สาธารณภัย อปท.
บทที่ 8 การสื่อสาร
โรงพยาบาล/สถานพยาบาล.....
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่ องความถี่)
กองอานวยการป้ องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย อปท.
ข้ างเคียง
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่้ อาส่งความถี
การไฟฟ
วนภูมภิ ่) าค
อาเภอ..............
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่ องความถี่)
วิทยุชุมชน.....
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่ องความถี่)
สถานีตารวจภูธรอาเภอ.....
โทร. .............
วิทยุสื่อสาร ..........
(ช่ องความถี่)
การสือ่ สารหลัก – โทรศัพท์,โทรศัพท์เคลือ่ นที่,โทรสาร
การสือ่ สารรอง – วิทยุสอื่ สาร,วิทยุชมุ ชน
การสือ่ สารสารอง – วิทยุสมัครเล่น
79
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาคผนวก

บัญชีรายชื่อบ ุคคลและหน่วยงานต่างๆ- ในเขต
อปท. และในเขตจังหวัด, จพง., อปพร.
 สถานที่สาคัญในเขตท้องที่
 พื้นที่ปลอดภัยในเขตท้องที่
 บัญชีเครือ
่ งจักรกล ยานพาหนะ และเครือ่ งมือ
อ ุปกรณ์ที่ใช้งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 รายงานสถานการณ์ภย
ั
80
แผนการจัดหาพัสด ุในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .... เมืองพัทยา/เทศบาล/อบต. ......
อาเภอ.....................จังหวัด.................................
ลาดับ
ที่
แผนงาน
งาน/โครงการ
รายการ
จานวน
(หน่วยนับ)
วิธี
จัดหา
แผนปฏิบตั ิการ
ประกาศ
สอบ คาดว่าจะ คาดว่าจะ
ราคา/ ลงนามใน มีการ
ประกวด สัญญา ส่งมอบ
ราคา (เดือน/ปี) (เดือน/ปี)
(เดือน/ปี)
แผนการจ่ายเงิน
เงินนอก
งบประมาณ
งบประมาณ หมายเหต ุ
ที่ได้รบั
หรือเงิน
อนมุ ตั ิ (บาท)
สมทบ(บาท)
1
แผนงาน การรักษาความสงบภายใน
งาน ป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือนและ
ระงับอัคคีภยั
รถบรรทุกนา้ ดับเพลิงอเนกประสงค์
1 คัน
ประกวด
ราคา
ม.ค. 53
มี.ค. 53
มิ.ย. 53
2,500,000
-
2
แผนงาน การรักษาความสงบภายใน
งาน ป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือนและ
ระงับอัคคีภยั
รถบรรทุกนา้ ดับเพลิงชนิดมี
ถังนา้ ในตัว
1 คัน
ประกวด
ราคา
ม.ค. 53
มี.ค. 53
มิ.ย. 53
4,000,000
-
3
แผนงาน การรักษาความสงบภายใน
งาน ป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือนและ
ระงับอัคคีภยั
รถบรรทุกนา้ ดับเพลิงขนาดเล็ก
1 คัน
ประกวด
ราคา
ม.ค. 53
มี.ค. 53
มิ.ย. 53
1,284,000
-
4
แผนงาน การรักษาความสงบภายใน
งาน ป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือนและ
ระงับอัคคีภยั
ซื้อชุดป้องกันสารเคมีแบบคลุมทัง้ ตัว
ชุด A และ B ประกอบด้วยเสื้อกางเกง เสื้อคลุมศีรษะ ผ้ารองเท้า
ทัง้ หมดเย็บเชือ่ มติดกันทัง้ ชุด ชุด A
จานวน 5 ชุดๆ ละ
70,000 บาท ชุด B จานวน 5 ชุดๆ
ละ 46,000 บาท
10 ชุด
ตกลง
ราคา
5 วัน
580,000
-
81
แผนการจัดให้มีเครือ่ งหมาย สัญญาณหรือสิ่งอื่นใด
ในการแจ้งให้ประชาชนทราบถึงการเกิดหรือจะเกิดภัย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .... เมืองพัทยา/เทศบาล/อบต. ......
อาเภอ.....................จังหวัด.................................
แผนปฏิบตั ิการ
ลาดับ
ที่
1
2
แผนงาน
งาน/โครงการ
แผนงาน การรักษาความสงบ
ภายใน
งาน ป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือน
และระงับอัคคีภยั
แผนงาน การรักษาความสงบ
ภายใน
งาน ป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือน
และระงับอัคคีภยั
รายการ
จานวน
(หน่วยนับ)
วิธี
จัดหา
การจัดทาป้ายเตือนภัยสึนามิ
พร้อมติดตัง้
10
ป้าย
สอบ
ราคา
การก่อสร้างหอกระจายข่าว
4
รายกา
ร
สอบ
ราคา
ประกาศ
สอบ
ราคา/
ประกวด
ราคา
(เดือน/ปี)
ม.ค. 53
ม.ค. 53
แผนการจ่ายเงิน
คาดว่าจะ คาดว่าจะ
เงินนอก
มีการ งบประมาณ งบประมาณ หมายเหต ุ
ลงนามใน
ที่ได้รบั
สัญญา
ส่งมอบ อนมุ ตั ิ (บาท) หรือเงิน
สมทบ(บาท)
(เดือน/ปี) (เดือน/ปี)
มี.ค. 53
มิ.ย. 53
200,000
-
มี.ค. 53
มิ.ย. 53
450,000
-
82
หัวข้อที่ 6
ปฏิทินภัย
83
ปฏิทินภัย
ประเภทของภัย
ชนิดของภัย
ภัยจากการกระทาของมนุษย์
1. อุบตั ิ เหตุทางถนน
2. ภัยจากสารเคมีและวัตถุอนั ตราย
3. อัคคีภยั
ตุลาคม – มกราคม
มกราคม – พฤษภาคม
มิ ถนุ ายน – พฤศจิ กายน
มิ ถนุ ายน – พฤศจิ กายน
มีนาคม – พฤษภาคม
เฝ้ าระวังตลอดปี
ตุลาคม – พฤศจิ กายน
เฝ้ าระวังตลอดปี
ภาคเหนื อ เมษายน – พฤษภาคม
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ พฤศจิ กายน – พฤษภาคม
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
มีนาคม – พฤษภาคม
ภาคใต้
เฝ้ าระวังตลอดปี
เฝ้ าระวังตลอดปี
เฝ้ าระวังตลอดปี
ภัยที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหรือ
เทศกาลต่างๆ
1. ภัยวันลอยกระทง
2. ภัยในช่วงเทศกาลปี ใหม่
3. ภัยในช่วงวันเด็ก
4. ภัยในช่วงเทศกาลตรุษจีน
5. ภัยในช่วงเทศกาลเชงเม้ง
6. ภัยในช่วงเทศกาลสงกรานต์
พฤศจิ กายน
ธันวาคม – มกราคม
สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนมกราคม
84
มกราคม – กุมภาพันธ์ ขึ้นอยู่กบั ว่าในปี นัน้ ๆ ตรงกับช่วงใด
สัปดาห์แรกของเดือนเมษายน
เมษายน
ภัยธรรมชาติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติและ
การกระทาของมนุษย์
1. ภัยหนาว
2. ภัยแล้ง
3. อุทกภัย
4. ดิ นโคลนถล่ม
5. มรสุมฤดูร้อน
6. แผ่นดิ นไหว
7. คลื่นพายุซดั ฝัง่
1. ไฟป่ า
ระยะเวลา (เดือน)
QUESTIONS
85
ด้วยความขอบค ุณ
86
สานักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โทร. 0-2637-3304-12
กระทรวงมหาดไทย
87