ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านใหม่นาแขม

Download Report

Transcript ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านใหม่นาแขม

การศึกษาแผนพัฒนาชุมชน
บ้ านใหม่ นาแขม
ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง
คาขวัญประจาชุมชน
บ้านใหม่นาแขม มีคาขวัญประจาชุมชนคือ
“ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งเศรษฐกิจ ผักปลอดสารพิษ มิตรไมตรี งาม”
ประวัตศิ าสตร์ ชุมชนบ้ านใหม่ นาแขม
บ้ านใหม่ นาแขม เป็ นหมู่บา้ นที่อพยพมาจากการขยายเหมือง
แม่เมาะแต่เดิมประกอบด้วยบ้านนาแขม บ้านท่าตุ่น บ้านนาปม
ซึ่งได้อพยพมาพร้อมกันในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๐
มีการอพยพหมู่บา้ นเพิ่มเติมอีก ๓ หมู่บา้ นคือ บ้านเมาะหลวง
บ้านหางฮุง บ้านเวียงสวรรค์ มีจานวนครัวเรื อนเพิ่มขึ้น ประมาณ
๓,๕๐๐ ครัวเรื อน และมีประชากรเพิ่มขึ้นอีกหมื่นกว่าคน อาศัยอยูใ่ น
หมู่บา้ นเดียวกัน
ซึ่ งต่อมาได้มีการแยกหมู่บา้ นและเปลี่ยนชื่อเป็ น
“บ้ านใหม่ นาแขม”
ประวัตศิ าสตร์ ชุมชนบ้ านใหม่ นาแขม
เดิมเป็ นป่ าละเมาะได้มีการย้ายโดย กฟผ. ขอเวนคืนพื้นที่เดิมซึ่ง
ในขณะนั้นมี นายบุญเย็น ยะม่ อนแก้ วเป็ นผูใ้ หญ่บา้ นและเป็ นผูน้ าคนแรกของหมู่บา้ น
โดยมีการทยอยย้ายมาทีละหมู่บา้ น พื้นที่ซ่ ึงหมู่บา้ นแรก ที่ยา้ ยมาคือบ้านนาแขมท่าปะตุ่น
พร้ อ มทั้ง วัด นาแขม และโรงเรี ย นวัด นาแขมในปี ๒๕๒๕ โดยไม่ มี น้ า และไฟฟ้ า
หลังจากผูใ้ หญ่บุญเย็นเกษียณก็ได้มีการเลือกตั้งใหม่ได้
นายสนอง ฟุ้ งเฟื้ อง เป็ นผูใ้ หญ่บา้ นและต่อมาได้เป็ นกานันได้หมดวาระและเกษียณพอดี
จึ งมี การเลื อกตั้งใหม่ ไ ด้ นายบุ ญ ธั น ย์ นุ ชนิ ยม เป็ นผูใ้ หญ่ บ้านและลาออกไปเป็ น
คณะกรรมการกองทุ น หมู่ บ้า นเลื อ กตั้ง ใหม่ คื อ นางอริ ส สรา เครื อ บุ ญ มา เป็ น
ผูใ้ หญ่ บ้านจนถึ งปั จ จุ บ ันได้รับ เลื อ กเป็ นผูใ้ หญ่ บ้า นดี เด่ น แหนบทองคา ปี ๒๕๕๔
ผลงานตลาด SML และปลูกผักปลอดสารพิษ
ประวัตศิ าสตร์ ชุมชนบ้ านใหม่ นาแขม
ชุมชนบ้านใหม่นาแขมได้ถูกแยกออกเป็ นหมู่ ๗ และหมู่ ๑๑
โดย บ้ านใหม่ นาแขมคือหมู่ ๗ และหมู่ที่แยกออกไปเป็ น หมู่ ๑๑ บ้ าน
นา-แขมพัฒนา ลักษณะบ้านเป็ นบ้านไม้และบ้านปูน มีท้ งั ไม้ยนื ต้น
และ พืชล้มลุก ประกอบอาชีพรับจ้าง ค้าขาย ทาสวน รับจ้างกฟผ. และ
เป็ นพนักงานกฟผ. ๗๐ % ของชุมชน จานวนครัวเรื อนมี ๕๑๓
ครัวเรื อน ประชากร ๑,๗๘๕ คน ชาย ๘๘ คน หญิง ๙๐๕ คน
ประวัตศิ าสตร์ หมู่บ้านใหม่ นาแขม
บ้านใหม่นาแขมตั้งอยูห่ ่างจากอาเภอแม่เมาะประมาณ ๕๐๐ เมตร
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบ มีพ้นื ที่สาธาณะประโยชน์ใช้ร่วมกันประมาณ
๘๐ ไร่ มีแหล่งน้ า ๓ แห่ง มีตลาดสดอยูก่ ลางหมู่บา้ น มีตลาด
SML ๑ แห่ง มีกองทุนหมู่บา้ น ๑ กองทุน มีธนาคารหมู่บา้ นรักษ์
แม่เมาะ ๑ แห่ง มีอาคารอเนกประสงค์ ๓ แห่ง ศูนย์สาธิต
การเกษตรชุมชนในหมู่บา้ น
ประวัตชิ ุมชน
อาณาเขต ติดต่อของบ้านใหม่นาแขมมีดงั นี้
ทิศเหนือ
ติดต่อกับ หมู่บา้ นเมาะหลวง
ทิศใต้
ติดต่อกับ หมู่บา้ นนาแขมพัฒนา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่บา้ นเมาะหลวง หมู่บา้ นนาแขมพัฒนา
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่บา้ นใหม่มงคล
พืน้ ที่อยู่อาศัย บริ เวณหมู่บา้ น ๔๔๕ ไร่
พืน้ ที่ที่ดนิ ทากิน
พื้นที่ทาสวน ๒๐ ไร่
จานวนประชากรและครัวเรือน
จานวน ๕๑๓ ครัวเรื อน จานวนประชากรทั้งหมด ๑,๕๒๗ คน
แยกเป็ น
ชาย ๗๕๕ คน หญิง ๗๗๒ คน
ตาบลแม่เมาะ
ตาบลแม่เมาะ
ตาบลแม่เมาะ
ตาบลแม่เมาะ
ประวัตชิ ุมชน(ต่ อ)
อาชีพหลัก :
รับจ้ าง
เกษตรกรรม , โรงงานน้ าดื่มในหมู่บา้ น
ค้ าขาย
เปิ ดกิจการเป็ นของตัวเอง(ขายของชา), ขายผัก, ผลไม้,เนื้อสัตว์
รับราชการ
ครู , ตารวจ , ทหาร
รัฐวิสาหกิจ
พนักงาน กฟผ.
อาชีพเสริม
เลี้ยงสัตว์(หมู, เป็ ด, ไก่), การรวมกลุ่มประกอบอาชีพ (ผลิตแหนม, เพาะเห็ดฟางเห็ด
นางฟ้ าหัตถกรรมไม้แปรรู ป (ชิงช้า สุ่ มไก่ ฯลฯ)
เศรษฐกิจของชุมชนบ้ านใหม่ นาแขม
หมู่บา้ นใหม่นาแขม เป็ นหมู่บา้ นโครงการอพยพ โดยการขยายเหมือง
ลิกไนต์แม่เมาะ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕
ประชาชนว่างงานไม่มีรายได้ จึงได้ทาการเกษตรบริ เวณรอบสระน้ าในปี
พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้มีการรวมกลุ่มและจัดตั้งกลุ่มโดย คุณธันย์ นุชนิยม เป็ น
ประธานกลุ่ม มีกิจกรรมครั้งแรกคือ เลี้ยงสุ กรและปลูกพืชผักปลอดภัยจาก
สารพิษมีราษฎรเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกจานวน ๓๘ ครัวเรื อน โดยมีสานักงาน
เกษตร อาเภอแม่เมาะเป็ นผูป้ ระสานและดาเนินงานพัฒนากลุ่ม กฟผ.แม่
เมาะเป็ นผูว้ างแปลน ต่อมาได้มีหน่วยงานภาครัฐและเอกชน องค์กรชุมชน
ได้มีส่วนร่ วมในการสนับสนุนกลุ่ม และศึกษาดูงาน
ส่ งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๕๒ นางอริ สสรา เครื อบุญมา ตาแหน่ ง
ผูใ้ หญ่ บ ้า นใหม่ น าแขม ได้เ ข้า มาด าเนิ น งาน สร้ า งความเข้า ใจใน
แนวทางเศษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดการนาไปใช้จริ งในชีวิตประจาวัน
ส่ งเสริ มเศษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การส่ งเสริ มอาชีพ ส่ งเสริ มการออม
สร้างกระบวนการเรี ยนรู ้ร่วมกัน และขยายผล สมาชิกกลุ่มปลูกผัก
ปลอดสารพิ ษ เพิ่ ม อี ก ๒๐ ครั ว เรื อ น พร้ อ มทั้ง ขยายผลสู่ ชุ ม ชนทุ ก
ครัวเรื อน
ส่ งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ(ต่ อ)
แนวคิดของศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านใหม่นาแขม
ผลิตพืชปลอดสารพิษ ชีวิตจะปลอดภัยดาเนินวิถีตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยมีเป้ าหมายให้สมาชิกมีรายได้ ลดรายจ่าย มีสุขภาพที่
แข็งแรงสมบูรณ์ อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข
การเปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ
ประสมประสาน
จากการศึกษาชุมชนบ้านนาแขมจะเห็นได้วา่ การพัฒนาเศรษฐกิจ
ของชุมชนบ้านนาแขมสอดคล้องกับแนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบ
ผสมผสาน กล่าวคือ รัฐและรัฐวิสาหกิจเข้ามามีส่วนร่ วมในการแก้ไข
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจโดยสนับสนุนด้านเงินทุนหรื องบประมาณ
ในการจัดทาโครงการต่างๆ โดยชุมชนบ้านนาแขม รัฐได้ให้งบประมาณ
ในการสนับสนุนโครงการในการจัดตั้งโครงการต่างๆของชุมชน โดยให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมและเป็ นการสร้างรายได้ของชาวบ้านใน
ชุมชนมากขึ้น
การเปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ
ประสมประสาน(ต่ อ)
รัฐได้เข้ามามีส่วนในการวางแผนพัฒนาชุมชนรวมทั้งสนับสนุนให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจทางเศรษฐกิจระดับรากหญ้า
โดยเปิ ดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้ามาวางแผน ตัดสิ นใจ ในการทา
โครงการในการพัฒนาชุมชนของตนเองให้มีรายได้ มีศกั ยภาพ สามารถ
พึ่งพาตนเองได้และพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
การเปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ
ประสมประสาน(ต่ อ)
อีกทั้งรั ฐและรั ฐวิสาหกิ จยังเข้ามามีส่วนร่ วมในการแก้ไขปั ญหา
พื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยเข้ามามีส่วนร่ วมในการสนับสนุนในการจัดตั้ง
การรวมกลุ่ ม ประกอบอาชี พ เพื่ อ เป็ นอาชี พ เสริ ม ให้กับ ประชาชนใน
ชุมชน เป็ นการแก้ไขปั ญหาความยากจน ปั ญหาการว่างงาน ที่เกิดขึ้นใน
ชุ มชน โดยการที่ รั ฐ และรั ฐ วิส าหกิ จ ได้ใ ห้ง บประมาณ จัด หาเงินทุ น
ให้กบั ชุ มชน ทาให้ชุมชนมีงบประมาณที่สามารถนาไปบริ หารจัดการ
เพื่อจะพัฒนาชุมชนให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ประชาชนมีงานทา สร้าง
รายได้ให้แก่ตนเองเพิ่มมากขึ้น พึ่งพาตนเองได้ มีชีวิตความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน
ภาพชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมด้ านเศรษฐกิจ
ภาพชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมด้ านเศรษฐกิจ(ต่ อ)
ภาพชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมด้ านเศรษฐกิจ(ต่ อ)
ภาพชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมด้ านเศรษฐกิจ(ต่ อ)
การพัฒนาชุมชนบ้ านใหม่ นาแขม
ทางด้ านสั งคมและวัฒนธรรม
บ้านใหม่นาแขมเป็ นชุมชนที่ยา้ ยมาจากต่างที่ต่างถิ่น แต่สามารถอยู่
ร่ วมกันได้ดว้ ยความสามัคคี มีแหล่งเศรษฐกิ จการค้าขาย ไม่วา่ จะเป็ น
ตลาดบ้านใหม่ นาแขม ร้านค้าชุมชน การรวมตัวของกลุ่มอาชี พต่างๆ
เช่ น กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มการเกษตร หัตถกรรม โดยเฉพาะกลุ่ม
ปลูก ผัก ปลอดสารพิษ ของศู น ย์ก ารเรี ย นรู ้ เ ศรษฐกิ จ พอเพีย งชุ มชนฯ
ที่ กฟผ.แม่เมาะ ได้ให้การสนับสนุน
จนปัจจุบนั ประสบความสาเร็ จเป็ นกลุ่มที่เข้มแข็ง เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้
แก่บุคคลภายนอกและสามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง
การศึกษา
บ้า นใหม่ น าแขมได้มี ก ารจัด ตั้ง ศู น ย์พ ัฒ นาเด็ ก เล็ ก ศู น ย์เ พื่ อ ใช้เ ป็ น
สถานที่ที่ใช้อบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย คืออายุประมาณ 2-6 ขวบ ซึ่ งที่มาของ
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กในอดีตเนื่ องจากพ่อแม่ไม่มีเวลาดูแลลูก จึงรวมตัวกันหา
สถานที่ และหาผูด้ ูแลเด็กในหมู่บา้ น ค่าใช้จ่ายก็มาจากผูป้ กครอง
ซึ่ งทางศูนย์พฒั นาเด็กเล็กในปั จจุ บนั นี้ ได้รับการดูแลจากทางเทศบาล
ตาบลแม่ เมาะเป็ นผูร้ ั บผิดชอบ ดู แล เพื่อ ที่ จะทาให้ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กนั้น
พัฒนาเป็ นระบบและมีความเป็ นมาตราฐานในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นด้าน
สถานที่ สุ ขอนามัย รวมทั้งบุคลากรที่เข้ามาปฏิบตั ิงานในศูนย์
การศึกษา(ต่ อ)
วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ.แม่ เมาะ
เมื่อประเทศต้องปรับปรุ งความสามารถในการแข่งขันบนเวทีโลก การเร่ งพัฒนา
ด้านทรัพยากรบุคคล ซึ่ งเป็ นโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญยิง่ ของประเทศ จึงเป็ นวาระ
แห่งชาติที่ตอ้ งเร่ งระดมความร่ วมมือจากทุกภาคส่ วนของสังคม ดังนั้น ด้วยการ
ตระหนักร่ วมกันในความจาเป็ นข้างต้น ผูบ้ ริ หารของ 2 องค์กร ซึ่ งรับผิดชอบเกี่ยวกับ
โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ คือ ผูว้ า่ การการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (นาย
สิ ทธิพร รัตโนภาส) และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (นายพยุง
ศักดิ์ จันทร์สุรินทร์) จึงได้ตอบรับข้อเสนอของผูอ้ านวยการวิทยาลัยเทคนิคลาปาง
(นายไพบูลย์ ชามาตย์) และคณะ ที่ได้นาเสนอโครงการเพื่อจัดตั้งสถานศึกษาด้าน
อาชีวศึกษาที่ อ. แม่เมาะ เมื่อเดือนสิ งหาคม 2546 และหลังจากนั้น ผูว้ า่ การการไฟฟ้ า
ฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้นาเสนอคณะกรรมการ กฟผ. และได้รับอนุมตั ิในคราว
ประชุมครั้งที่ 10/2546 วันที่ 15 สิ งหาคม 2546 โดยใช้ชื่อในขณะนั้นว่า โครงการจัดตั้ง
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 วิทยาเขต กฟผ. แม่ เมาะ
การศึกษา(ต่ อ)
แนวทางการบริ หารและการจัดการศึกษาที่กาหนดไว้ในช่วงเริ่ มต้น คือ ให้เป็ น
การจัดการศึ กษาตามกระบวนทัศน์ใหม่ ในการจัดการอาชี วศึ กษา ซึ่ งมุ่ งเน้นความ
เชี่ ยวชาญเฉพาะด้า นของ กฟผ. และใช้รู ปแบบการจัด การศึ กษาในระบบทวิ ภาคี
เช่นเดียวกับประเทศที่พฒั นาแล้ว เช่น ในประเทศเยอรมันและสวีเดน ทั้งยังสอดคล้อง
กั บ แนวคิ ด ขององค์ ก รทั น สมั ย และการเป็ นส่ วนที่ ดี ข องสั ง คม (Good
citizen) ในด้านการมีส่วนร่ วมในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ในรู ปแบบเครื อข่าย
เชื่ อมโยง และการสนับสนุ นทางวิชาการ (Academic network and
academic support) ร่ วมกับสถาบันการศึกษา เช่นเดียวกับที่บริ ษทั ชั้นนา
หลายแห่งในหลายประเทศ มีความร่ วมมือทางวิชาการหรื อร่ วมมือในการพัฒนาบุคคล
กับมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ดในอเมริ กา หรื อการที่บริ ษทั Tenaga Nasional
Berhard (TNB) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ผูผ้ ลิตไฟฟ้ ารายใหญ่ของประเทศมาเลเซี ยได้
สนับสนุน University Tenaga Nasional ให้เป็ นมหาวิทยาลัยในอุปถัมภ์
เพื่อผลิตบุคลากรให้องค์กร และเปิ ดกว้างสู่ สงั คมและระดับนานาชาติ
สาธารณะสุ ข
บ้านใหม่นาแขมได้รับการดูแลเรื่ องสุ ขภาพ อนามัยจากทาง
โรงพยาบาลแม่เมาะ ซึ่งเป็ นสถานพยาบาลที่อยูใ่ นพื้นที่ของหมู่บา้ น
เป็ นสถานพยาบาลที่อยูใ่ กล้ และประชาชนในหมู่บา้ นสามารถเข้ารับ
บริ การได้อย่างรวดเร็ วเมื่อได้รับการเจ็บป่ วย
ศาสนา
วัดนาแขม(เดิม)
วัดนาแขมตั้งอยูท่ ี่บา้ นนาแขม หมู่ที่ ๒ ตาบลบ้านดง อาเภอแม่เมาะ จ.
ลาปาง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยูบ่ นเนื้อที่ดิน 30 ไร่
- อณาเขตทิศเหนือ จรดป่ าละเมาะ
- อณาเขตทิศใต้ จรดป่ าละเมาะ
- อณาเขตทิศตะวันออก จรดป่ าละเมาะ - อณาเขตทิศตะวันตก จรดหมู่บา้ น
อาคารเสนาสนะประกอบด้วย วิหาร ศาลาการเปรี ยญ หอระฆัง กุฎิ และ
ปูชณี ยวัตถุมี พระพุทธรู ป
วัดนาแขมสร้างเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๕
ศาสนา(ต่ อ)
ประวัติวดั นาแขม(ใหม่ )
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๕ ทางการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทยได้ทาการ
ขยายเหมืองลิกไนต์ จึงย้ายวัดขี้นใหม่มาสร้างในพื้นที่ของ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ ง
ประเทศไทย ได้จดั ไว้ให้บนเนื้อที่ดิน 35 ไร่ โดยตั้งอยูบ่ า้ นใหม่นาแขม หมู่ที่ 7
ตาบลแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง
- อณาเขตทิศเหนือ จดวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ.แม่เมาะ
- อณาเขตทิศใต้จดสระน้ าบ้านนาแขม
- อณาเขตทิศตะวันออกจดสุ สานบ้านนาแขม
- อณาเขตทิศตะวันตก จดหมู่บา้ นนาแขมพัฒนา
เปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาทางด้ านสั งคมกับทฤษฎี
ความจาเป็ นพืน้ ฐาน
จากการศึกษาชุมชนบ้านนาแขมจะเห็นได้วา่ แนวทางการพัฒนา
ทางด้านเศรษฐกิจนั้นได้มีการพัฒนาไปในรู ปแบบของทฤษฎีความ
จาเป็ นพื้นฐาน(จปฐ.) ดังจะเห็นได้จาก ทางชุมชนนั้นได้เน้นถึงความ
ต้องการของประชาชนในชุมชนเป็ นหลักในการพัฒนาหมู่บา้ น
ซึ่งการพัฒนาตามแนวทฤษฎีน้ ีเป็ นแนวความคิดที่ทาให้ชุนชนนั้น
สามารถพัฒนาเป็ นชุมชนที่พ่ งึ ตนเองได้ เป็ นชุนชนเข้มแข็งที่กลายเป็ น
ชุมชนที่มีการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และยังเป็ นแบบอย่างให้กบั ชุมชนอื่น
เพื่อนาแนวทางของทฤษฎีน้ ีไปพัฒนาหมู่บา้ นของตนต่อไป
ภาพชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมทางด้ านสั งคม
การพัฒนาชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมทางด้ านการเมือง
การมีส่วนร่ วมของคนในชุมชน
ในการจัดตั้งกลุ่มหรื อในการประชุ มที่เกี่ ยวข้องกับทางชุ มชนนั้น
ทุ ก คนในชุ ม ชนต่ า งเข้า มามี ส่ ว นร่ ว มในการร่ ว มคิ ด ร่ ว มตัด สิ น ใจ
ช่วยกันเสนอแนะความคิดเห็นต่างๆ เพื่อเป็ นการพัฒนาชุนชมจากคนใน
ชุมชนด้วยกัน ซึ่ งผลที่ออกมาจะตรงตามความต้องการของคนในชุมชน
ทาให้ชุมชนนั้นได้รับการพัฒนาที่ตรงตามเป้ าหมายและเป็ นการพัฒนาที่
ยัง่ ยืนอีกด้วย
การพัฒนาชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมทางด้ านการเมือง(ต่ อ)
ซึ่ งแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การมี ป ระชาธิ ป ไตยภายในชุ ม ชน โดยการที่
ประชาชนมีส่วนร่ วมในการทากิ จกรรมภายในชุ มชน มีส่วนร่ วมในการคิด
การแสดงความคิดเห็น รวมทั้งการกาหนดกฎเกณฑ์ วิธีการดาเนิ นงาน อีกทั้ง
ทุกคนมีสิทธิเสรี ภาพเท่าเทียมกัน ในการได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน
นอกจากนี้ ประชาชนในชุ มชนมีเสรี ภาพ สถานภาพที่เสมอกัน ได้รับ
การปฎิบตั ิอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่มีการเลือกปฎิบตั ิพร้อมทั้งการได้รับความ
ยุติธรรมและความเท่าเทียมทางกฏหมาย
ดังนั้นทาให้การดารงชีวิตของคนในชุมชนสงบสุ ข เข้มแข็ง ไม่ค่อยเกิด
ปัญหาเพราะคนในชุมชนมีความรัก และสามัคคีกนั เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
แนวทางการพัฒนาทางการเมือง
ชุมชนบ้านใหม่นาแขม เมื่อเปรี ยบเทียบกับแนวทางการพัฒนาทาง
การเมืองนั้น ชุมชนบ้านใหม่นาแขมมีการพัฒนามาจากการที่เป็ นชุมชน
อพยพ ก็ได้พฒั นาเป็ นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ที่มีความก้าวหน้า ความ
เจริ ญเติบโตยิง่ ขึ้น
ซึ่งจากการพัฒนาเป็ นสังคมดังกล่าวก็ทาให้การพัฒนาทางการเมือง
โดยเฉพาะการมีส่วนร่ วมของประชาชนมีการพัฒนาเพิ่มขึ้น ดังเช่ น ที่
ชุ ม ชนเมื่ อ มี ก ารจัด ตั้ง กลุ่ ม ประชาชนก็จ ะเข้า มามี ส่ ว นร่ วมในชุ ม ชน
ร่ วมกัน
แนวทางการพัฒนาทางการเมือง(ต่ อ)
อีกทั้งปัจจุบนั รัฐและรัฐวิสาหกิจได้เข้ามาสนับสนุนงบประมาณในการ
สร้างสถานศึกษาภายในชุมชน รวมทั้งมีนโยบายภาคบังคับการศึกษา ส่งผล
ทาให้คนในชุมชนได้รับการศึกษา ซึ่งทาให้เกิดความรู ้ อ่านออก เขียนได้ จึง
ทาให้ติดตามข่าวสารทางสื่ อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ อินเตอร์เน็ต
ซึ่งจากการที่ประชาชนมีความรู ้และมีการรับข้อมูลข่าวสารทางสื่ อต่างๆ
นั้น ทาให้ประชาชนสามารถที่จะวิเคราะห์ หรื อพิจารณาข้อมูลข่าวสารที่
รับมา นาสิ่ งที่มีประโยชน์มาใช้กบั ตนเอง กับชุมชน รวมทั้งแบ่งปันข้อมูล
แสดงความคิดเห็นระหว่างกันได้ เพื่อที่จะเป็ นประโยชน์ร่วมกันกับชุมชน
ภาพชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมทางด้ านการเมือง
ภาพชุมชนบ้ านใหม่ นาแขมทางด้ านการเมือง(ต่ อ)
สรุปโดยภาพรวมของชุมชนบ้ านใหม่ นาแขม
บ้านใหม่นาแขมเป็ นชุ มชนที่ ร่ วมคิด ร่ วมทา ร่ วมสร้างสรรค์ ให้
ชุ ม ชนมี ค วามเข้ม แข็ง ทั้ง ด้า นเศรษฐกิ จ การศึ ก ษา ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ
ราษฎรในชุ ม ชน สร้ า งสิ่ ง แวดล้อ มให้ส วยงาม และสร้ า งคุ ณ ธรรม ,
จริ ยธรรม โดยการรณรงค์ เนื่ องในวันสาคัญต่างๆ และวันสาคัญทาง
ศาสนาชุ มชนต้องมี ความเสี ยสละและให้ความร่ วมมื อแก่ ผูน้ าและให้
ความร่ วมมือในหมู่คณะและหน้าที่ที่กระทาอย่างเต็มใจและทุกคนต้อง
แสดงหรื อออกความคิดเห็ นในที่ประชุ ม หรื อจัดให้มีประชาคมทุก ๆ
เดือนและทุกคนต้องมีหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของชุมชน
สรุปโดยภาพรวมของชุมชนบ้ านใหม่ นาแขม(ต่ อ)
เริ่ มต้นด้วยการอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติ ความรัก ความเอาใจใส่ และให้ความร่ วมมือ
ให้ความช่วยเหลือซึ่ งกันและกันและไม่เห็นแก่ตวั เคารพสิ ทธิของตัวเองและผูอ้ ื่น เอา
คุณธรรมเข้าช่วยและเปิ ดโอกาสให้กนั และกันและสิ่ งที่สาคัญ คือ
1. ผูน้ าต้องเข้มแข็ง
2. ชุมชนมีความเป็ นอยูท่ ี่ดีและมีจิตใจที่เข้มแข็ง
3. ทุกคนมีความรัก รักครอบครัวรักคนรอบข้างและรักชุมชนของตัวเอง
4. ทุกคนมีความขยันอดทน อดออม และให้กาลังใจซึ่ งกันและกัน
5. ทุกคนมีความเสี ยสละ ช่วยเหลือกัน และไม่เห็นแก่ตวั
6. ไม่เห็นแก่ได้ ไม่เห็นแก่พรรคพวกไม่เห็นแก่พี่แก่นอ้ ง
7. จัดให้มีสถานที่ส่งเสริ มความรู ้และส่ งเสริ มอาชีพ
8. มีงานทาทุกครัวเรื อนและต้องพึ่งตนเองไม่งอมืองอเท้ารอใคร
9. ยึดถือหลักทางศาสนาและกฎเกณฑ์ในหมู่คณะ
สรุปโดยภาพรวมของชุมชนบ้ านใหม่ นาแขม(ต่ อ)
สาหรับชุมชนบ้านใหม่นาแขม หมู่ที่ 7 ตาบลแม่เมาะ อาเภอแม่เมาะ
จังหวัดลาปาง เป็ นหมู่บา้ นที่ได้กาหนดวิสยั ทัศน์ไว้วา่ (1)เศรษฐกิจมัน่ คง
(2)การศึกษาเข้มแข็ง(3)สุ ขภาพแข็งแรง(4)มีสิ่งแวดล้อมสมบูรณ์(5)เกื้อกูล
คุณธรรมและจริ ยธรรม
ดังนั้นทางชุมชนน่าจะกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาชุมชน สิ่ งที่
ชุ มชนต้ องร่ วมมือกันทาเพือ่ ให้ หมู่บ้านเป็ นไปตามทีม่ ่ ุงหวัง ชุมชนบ้านใหม่
นาแขม ร่ วมคิด ร่ วมทา ร่ วมสร้างสรรค์ ให้ชุมชนมีความเข้มแข็งทั้งด้าน
เศรษฐกิจ การศึกษา ส่ งเสริ มสุ ขภาพ ราษฎรในชุมชน สร้างสิ่ งแวดล้อมให้
สวยงาม และสร้างคุณธรรม , จริ ยธรรม โดยการรณรงค์ เนื่องในวันสาคัญ
ต่างๆ และวันสาคัญทางศาสนา
รายชื่อคณะทางาน
นายสิ ทธิพนั ธ์
นายณัฐวัธน์
นายเบญจ
นายภัทรพล
ก่อวณิ ชกุล
สุ รินทร์วงศ์
อินดาวงศ์
วิเชียรกุล
5503007
5503109
5503115
5503117
จบการนาเสนอ
สวัสดี...