การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง

Download Report

Transcript การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง

อาจารย ์ มานิ ตา หนู สวัสดิ ์
 การมีส่วนร่วมทางการเมือง
Participation)
(Political
่
 การเปลียนแปลงทางสั
งคมและ
วัฒนธรรม (Social and cultural
changes)
• ความหมาย
• “การมีสว่ นร่วมทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมที่
่ อท
บุคคลมีจด
ุ ประสงค ์เพือมี
ิ ธิพลในกระบวนการ
ติดสินใจของร ัฐบาล” (สุจต
ิ บุญบงการ 2542)
• “การมีสว่ นร่วมทางการเมือง คือ การแสดงออกซึง่
กิจกรรมทางการเมืองของบุคคลในสังคม
ั พันธ์ระหว่าง
กิจกรรมเหล่านีก
้ อ
่ ให ้เกิดความสม
ิ ในสงั คมการเมือง และความสม
ั พันธ์
สมาชก
ิ กับองค์กรทางการเมือง รวมถึง
ระหว่างสมาชก
ั พันธ์ระหว่างประชาชนกับรัฐบาล การ
ความสม
แสดงออกซงึ่ กิจกรรมเหล่านี้ คือ กระบวนการทาง
• การมีส่วนร่วมทางการเมืองมีความสาคัญ
อย่างไร?
• กระบวนการมีสว่ นร่วมทางการเมืองของ
ประชาชนเป็ นกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย
• ระดับการมีสว่ นร่วมทางการเมืองของประชาชน
เป็ นเป้ าหมายของการพัฒนาการเมือง
• ใครมีส่วนร่วมทางการเมืองบ้าง?
ประชาชน (The People)
ร ัฐบาล (Government)
พรรคการเมือง (Political Parties)
กลุ่มผลประโยชน์หรือกลุ่มอิทธิพลต่างๆ
(Interest Groups)
• ประชาธิปไตยกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
ของประชาชน
“The Government of The People,
The Government by The People,
The Government for The People”
(Abraham Lincoln)
่
“การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพือ
ประชาชน”
 การปกครองโดยประชาชน มีนัยยะว่าประชาชนมี
สว่ นร่วมในการปกครองโดยตรง = มีสว่ นร่วมใน
ิ ใจนโยบายหรือเรือ
กระบวนการตัดสน
่ งสาคัญๆ ที่
เกีย
่ วข ้องกับชวี ต
ิ ความเป็ นอยูข
่ องประชาชน (Public
participation in government and govern itself)
่
ื่ มโยง
 การปกครองเพือประชนชน
มีนัยยะเชอ
ความคิดเรือ
่ งประโยชน์สาธารณะและแนวคิดทีว่ า่
รัฐบาลต ้องทาประโยชน์แก่สว่ นรวม ในความหมายนี้
ประชาชนไม่ได ้ใชอ้ านาจในการปกครองตัวเอง
โดยตรง (Public interest and the government
• การมีสว่ นร่วมทางการเมืองของประชาชนทีม
่ ี
ิ ธิภาพในระบอบประชาธิปไตยนัน
ประสท
้ ร ัฐต้องให้
ความสาคัญก ับการให้โอกาส เปิ ดช่องทาง และ
สร ้างความเท่าเทียมในสิทธิเสรีภาพต่อการ
แสดงออกและความคิดเห็นทางการเมืองของ
ประชาชน
• ลักษณะของการมีสว่ นร่วมทางการเมือง
- การกาหนดต ัวผู ป
้ กครอง
- การผลักดันการตัดสินใจของร ัฐบาล
- การวิพากษ ์วิจารณ์ร ัฐบาล
• บริบทสังคมการเมือง
- สงั คมการเมืองทีม
่ ป
ี กครองแบบเผด็จการ การมีสว่ นร่วม
ทางการเมืองมีแนวโน ้มจะถูกจากัด - เสรีภาพทางการแสดง
ื่ ถูกปิ ด
ความคิด เสรีภาพการแสดงออก และเสรีภาพของสอ
กัน
้
• แนวนโยบายของร ัฐและร ัฐบาล
- การมีสว่ นร่วมทางการเมืองจะไม่เติบโต หากรัฐและรัฐบาล
ไม่สนับสนุน ไม่รับรอง ไม่คุ ้มครองการมีสว่ นร่วมทางการ
เมืองหรือกิจกรรมการแสดงออกทางการเมืองของ
ประชาชน
่
้
• แนวโน้มและความเสียงการใช้
ความรุนแรงทังจากฝ
่ ายร ัฐ
และประชาชน
้
- การใชความรุ
นแรงเป็ นอุปสรรคทีอ
่ น
ั ตรายทีส
่ ด
ุ ไม่วา่ จะเป็ น
ความรุนแรงจากรัฐทีแ
่ สดงตัวเป็ นปฏิปักษ์ กบ
ั การ
เคลือ
่ นไหวของภาคประชาชน ซงึ่ มันเป็ นเงือ
่ นทีจ
่ ะนาไปสู่
่
การเปลียนแปลงทางสั
งคมและวัฒนธรรม
(Social and cultural changes)
•
•
่
การเปลียนแปลงทางสั
งคม (social change)
หมายถึง
“การทีร่ ะบบสงั คม กระบวนการ
่
แบบอย่างหรือรูปแบบทางสงั คม เชน
ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว ระบบการ
ปกครองได ้เปลีย
่ งแปลงไป ไม่วา่ จะเป็ นด ้านใดก็
ตาม การเปลีย
่ นแปลงทางสงั คมนีอ
้ าจเป็ นไป
ในทางก ้าวหน ้าหรือถดถอย เป็ นไปอย่างถาวรหรือ
ชวั่ คราวโดยวางแผนหรือเป็ นไปเอง และทีเ่ ป็ น
ิ้ ”
ประโยชน์หรือให ้โทษก็ได ้ทัง้ สน
การเปลีย
่ นแปลงทางสงั คมเป็ นการเปลีย
่ นแปลง
•
่
การเปลียนแปลงทางวัฒนธรรม
(cultural
change) หมายถึง การเปลีย
่ นแปลงทีเ่ กิดขึน
้ ใน
ด ้านต่างๆทีม
่ นุษย์ประดิษฐ์และสร ้างขึน
้ และการ
ทาให ้เกิดการเปลีย
่ นแปลงในด ้านค่านิยม บรรทัด
ั ลักษณ์ตา่ งๆในสงั คมนัน
ฐานและระบบสญ
้ ๆ
่
1. กระบวนการเปลียนแปลงสู
่ความเป็ นสมัยใหม่
 การทาให ้เป็ นเรือ
่ งทางโลก (Secularization)
ึ ษาของ
เมือ
่ ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์และการศก
มนุษย์เจริญ ทาให ้รู ้ว่าหลายๆเรือ
่ งในสงั คมไม่ใช ่
ั ดิส
ิ ธิ์ แต่เป็ นเรือ
้ ก
เรือ
่ งของสงิ่ ศก
์ ท
่ งทีต
่ ้องใชหลั
เหตุผลพิจารณา
้ ผล
 กระบวนการหรือวิธก
ี ารใชเหตุ
(Rationalization)
การยึดหลักเหตุผลและการจัดให ้เข ้ากับหลัก
ิ ธิภาพในการทางาน
เหตุผล เพือ
่ เพิม
่ ประสท
่
1. กระบวนการเปลียนแปลงสู
่ความเป็ นสมัยใหม่
 การทาให ้เป็ นอุตสาหกรรม
(Industrialization)
กระบวนการพัฒนาการทางเทคโนโลยีโดยใช ้
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ในการขยายฐานการผลิต
 การทาให ้เป็ นเมือง (Urbanization)
กระบวนการทีช
่ ม
ุ ชนกลายเป็ นเมือง เป็ นการ
เคลือ
่ นย ้ายผู ้คน การขยายพืน
้ ทีเ่ มืองออกไป การ
เพิม
่ จานวนประชากร และรวมถึงการขยายวิถช
ี วี ต
ิ
แบบชาวเมือง
่
2. กระบวนการเปลียนแปลงร่
วมสมัย
 การทาให ้เป็ นประชาธิปไตย
(Democratization) กระบวนการแพร่ขยายของ
ปรัชญาหรือระบบสงั คมแบบหนึง่ ทีเ่ น ้นการที่
ประชากรมีสว่ นร่วมและควบคุมกิจกรรมของชุมชน
ฐานะเป็ นตัวของมันเอง โดยไม่คานึงถึง
คุณลักษณะเฉพาะบุคคล ยศ สถานภาพ หรือ
ทรัพย์สมบัต ิ
 การแพร่ของการจัดองค์กรขนาดใหญ่
(Bureaucratization) กระบวนการแพร่ของ
ั ้ ซงึ่
ระบบบริหารงานโดยมีเจ ้าหน ้าทีต
่ ามลาดับชน
่
2. กระบวนการเปลียนแปลงร่
วมสมัย


กระบวนการสร ้างคนชายขอบ (Marginalization)
การเปลีย
่ นแปลงทีม
่ ค
ี วามเหลือ
่ มล้ากันมากขึน
้ โดย
เกิดขึน
้ ขณะทีเ่ กิดความเจริญเติบโตเศรษฐกิจใน
ระดับสูงซงึ่ เป็ นผลดีมากแก่คนสว่ นหนึง่ ในเขตเมือง
แต่ก็ทาให ้คนอีกสว่ นหนึง่ อยูห
่ า่ งไกลจากการได ้รับ
ผลประโยชน์ทค
ี่ วรได ้รับ
กระบวนการโลกาภิวัฒน์ (Globalization)
การแพร่กระจายไปทั่วโลก การทีไ่ ม่วา่ ประชาคม
ั พันธ์หรือรับ
โลกอยู่ ณ จุดใด ก็สามารถรับรู ้สม
ผลกระทบจากสงิ่ ทีเ่ กิดขึน
้ ได ้อย่างรวดเร็วและ
ั ดิ์ อุวรรณโณ และ ถวิลวดี บุรก
• บวรศก
ี ล
ุ (2550)
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: สถาบัน
พระปกเกล ้า.
• สุจต
ิ บุญบงการ (2542) การพัฒนาทางการเมืองของไทย:
ปฏิสม
ั พันธ ์ระหว่างทหาร สถาบันการเมือง และการมีส่วน
ร่วมทางการเมืองของประชาชน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
่
ั หวันแก ้ว “การเปลียนแปลงทางสั
• สุรช
ิ ย
งคมและการเมือง”
ภาควิชาสงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2553) สังคมและวัฒนธรรม.
พิมพ์ครัง้ ที่ 12. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
• สมบัต ิ ธารงธัญวงศ ์ (2553) การเมือง: แนวความคิดและ
การพัฒนา. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.