พาวเวอร์พอยต์ หน่วยที่ 2 - STREE-KM

Download Report

Transcript พาวเวอร์พอยต์ หน่วยที่ 2 - STREE-KM

หน่ วยการเรียนรู้ที่
2
กระบวนการในการดารงชีวติ ของพืช
(ตอนที่ 1)
กระบวนการในการดารงชีวติ ของพืช
(ตอนที่ 1)
กระบวนการเคลือ่ นที่ของ
สารผ่ านเยือ่ หุ้มเซลล์
การลาเลียงสารในพืช
กระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
กระบวนการแพร่ (diffusion)
กระบวนการเคลื่อนที่ของสารที่เป็ นของเหลว (ยกเว้นน้ า) และแก๊ส จากบริ เวณที่มี
ความเข้มข้นสูงไปยังบริ เวณที่มีความเข้มข้นต่า
ปัจจัยทีค่ วบคุมกระบวนการแพร่
•
•
•
•
ความเข้ มข้ นของสาร : สารที่มีความเข้มข้นสู งจะแพร่ ได้เร็ ว
อุณหภูมิ : การเพิม่ อุณหภูมิจะทาให้สารแพร่ ได้เร็ วขึ้น
ขนาดอนุภาคของสาร : สารที่มีขนาดอนุภาคเล็กจะแพร่ ได้เร็ ว
ความสามารถในการละลายของสาร : สารที่สามารถละลายได้ดี จะมีอตั ราการแพร่ สูง
โมเลกุลสี ผสมอาหาร
โมเลกุลน้ า
กระบวนการแพร่ ในสิ่ งมีชีวติ
• การแพร่ ของแร่ ธาตุในดินเข้าสู่ เซลล์รากพืช
• การแพร่ ของแก๊สออกซิ เจนเข้าสู่ เซลล์
• การแพร่ ของแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์เข้าสู่ เซลล์ใบไม้
กระบวนการออสโมซิส (osmosis)
กระบวนการเคลื่อนที่ของน้ าจากบริ เวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่าไปยัง
บริ เวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสู ง หรื อจากบริ เวณที่มีโมเลกุลของน้ ามากไปยัง
บริ เวณที่มีโมเลกุลของน้ าน้อย โดยผ่านเยือ่ เลือกผ่าน (semipermeable membrane)
ปัจจัยทีค่ วบคุมกระบวนการออสโมซิส
• ความเข้ มข้ นของสาร : หากสองบริ เวณ
มีความเข้มข้นของสารละลายแตกต่าง
กันมาก การออสโมซิ สจะเกิดได้เร็ ว
• อุณหภูมิ : การเพิ่มอุณหภูมิจะทาให้การ
ออสโมซิ สเกิดได้เร็ วขึ้น
บริ เวณที่มีความ
เข้มข้นของ
สารละลายต่า
โมเลกุลน้ าเคลื่อนที่
ผ่านเยือ่ เลือกผ่าน
กระบวนการออสโมซิสในสิ่ งมีชีวติ
• การออสโมซิ สของน้ าเข้าสู่ เซลล์รากพืช
• การออสโมซิ สของน้ าเข้าสู่ เซลล์บริ เวณนิ้วมือ
เมื่อแช่น้ าเป็ นเวลานาน
เยือ่ เลือกผ่าน
บริ เวณที่มีความ
เข้มข้นของ
สารละลายสู ง
การลาเลียงนา้ และแร่ ธาตุ
• น้ าจะออสโมซิ สเข้าสู่ เซลล์ราก ส่ วนแร่ ธาตุจะ
แพร่ เข้าสู่ เซลล์ราก
• หากพืชมีการคายน้ ามาก การออสโมซิ สของน้ า
และการแพร่ ของแร่ ธาตุเข้าสู่ รากก็จะเกิดขึ้นมาก
• น้ าและแร่ ธาตุจะลาเลียงผ่านทางท่อไซเล็ม
(xylem) ที่มีลกั ษณะเป็ นท่อกลวงยาวตั้งแต่ราก
จนถึงใบ
• ไซเล็มประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว ซึ่ งเนื้อเยือ่
ภายในเซลล์สลายไปเหลือเพียงผนังเซลล์
• การลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุมีทิศทางจากรากขึ้นไป
สู่ ใบ
เซลล์ที่ตายแล้ว
เนื้อเยือ่ ตรงรอยต่อสลายไป
การลาเลียงอาหาร
• อาหารจะถูกสร้างขึ้นที่ใบโดยกระบวนการ
สังเคราะห์ดว้ ยแสง
• อาหารจะลาเลียงผ่านทางท่อโฟลเอ็ม (phloem)
ซึ่ งประกอบด้วยเซลล์ที่ยงั มีชีวิตอยู่ ได้แก่
เซลล์ตะแกรง (sieve cell) และคอมพาเนียนเซลล์
(companion cell)
• อาหารจะถูกลาเลียงจากใบผ่านท่อโฟลเอ็มไปยัง
ส่ วนต่างๆ ของพืช โดยกระบวนการแพร่
• การลาเลียงอาหารมีทิศทางทั้งขึ้นและลง
เซลล์ตะแกรง
คอมพาเนียนเซลล์
ทิศทางการลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุ
ทิศทางการลาเลียงอาหาร
ความสาคัญของการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
•
•
•
•
เป็ นกระบวนการสร้างอาหารเพื่อการดารงชีวิตของพืช
เป็ นจุดเริ่ มต้นของการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิ เวศ
ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊สออกซิ เจน ซึ่ งมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์
ช่วยลดปริ มาณแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศ
โครงสร้ างของใบ
เซลล์ ช้ ั น ที่ 1 เป็ นเซลล์ช้ ัน เดี ยว มี สารคิ ว ทิ น (cutin)
ลักษณะคล้ายขี้ผ้ งึ เคลือบไว้ แสงสามารถส่องทะลุผา่ น
เซลล์ช้ นั บนนี้ลงไปยังเซลล์ช้ นั ที่อยูด่ า้ นล่างได้
เซลล์ ช้ ันที่ 2 มีรูปร่ างยาว เรี ยงตัวกันแถวเดียว แต่ละเซลล์มี
คลอโรพลาสต์อ ยู่ ภายในคลอโรพลาสต์มี ค ลอโรฟิ ลล์ ซึ่ ง
เซลล์ช้ นั นี้มีหน้าที่สงั เคราะห์ดว้ ยแสง
เซลล์ ชั้ นที่ 3 เป็ นเซลล์ รู ปร่ าง
ค่ อ นข้า งกลม เรี ยงตัว กัน อย่ า ง
หลวมๆ คล้ายฟองน้ า มีหน้าที่เก็บ
น้ าที่ ลาเลี ยงมาจากราก เพื่ อใช้ใน
การสังเคราะห์ดว้ ยแสง
เซลล์ช้ ันที่ 4 บางเซลล์เปลี่ยนรู ปร่ างไปเป็ นเซลล์คุมที่ตรงกลาง
เป็ นปากใบ ซึ่ ง เป็ นทางผ่า นของแก๊ ส คาร์ บอนไดออกไซด์
จากอากาศเข้าสู่ ใบ และเป็ นทางออกของแก๊สออกซิ เจนและ
ไอน้ าที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
กระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
• มีแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์และน้ าเป็ นสารตั้งต้น
• มีคลอโรฟิ ลล์เป็ นตัวดูดซับพลังงานแสง
• ได้น้ า น้ าตาลกลูโคส และแก๊สออกซิ เจนเป็ นผลิตภัณฑ์
สรุปทบทวนประจาหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2
• กระบวนการแพร่ คือ กระบวนการเคลื่อนที่ของสารที่เป็ นของเหลว (ยกเว้นน้ า) และ
แก๊ส จากบริ เวณที่มีความเข้มข้นสู งไปยังบริ เวณที่มีความเข้มข้นต่า
• กระบวนการออสโมซิ ส คือ กระบวนการเคลื่อนที่ของน้ าจากบริ เวณที่มีโมเลกุลน้ ามาก
ไปยังบริ เวณที่มีโมเลกุลน้ าน้อย โดยผ่านเยือ่ เลือกผ่าน
• ท่อลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุของพืช คือ ไซเล็ม ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นท่อกลวงยาวตั้งแต่ราก
จนถึงใบ
• ท่อลาเลียงอาหารของพืช คือ โฟลเอ็ม ซึ่ งประกอบด้วยเซลล์ที่ยงั มีชีวิตอยู่ ได้แก่
เซลล์ตะแกรง (sieve cell) และคอมพาเนียนเซลล์ (companion cell)
• กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง เป็ นกระบวนการสร้างอาหารของพืช โดยมีน้ าและ
แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์เป็ นสารตั้งต้น มีคลอโรฟิ ลล์เป็ นตัวดูดซับพลังงานแสง
ซึ่ งจะได้น้ า น้ าตาลกลูโคส และแก๊สออกซิ เจนเป็ นผลิตภัณฑ์