การปกครองโดยประชาชน

Download Report

Transcript การปกครองโดยประชาชน

การอบรมเชิงปฏิบัติการ
บทบาทเยาวชนและ
“พลเมือง”ในระบอบประชาธิปไตย
การสัมมนาสภานักเรี ยนประจาปี ๒๕๕๔
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๔
โดย ปริ ญญา เทวานฤมิตรกุล
รองประธานคณะกรรมการพัฒนาการศึกษาเพื่อความเป็ นพลเมือง กระทรวงศึกษาธิการ และ
รองอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประชาธิปไตยประสบความสาเร็ จในประเทศไทยหรื อไม่?
เหตุการณ์เมษา-พฤษภา ๒๕๕๓ มีผเู้ สี ยชีวติ ๙๑ คน
ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองในปี ๒๔๗๕ มีเหตุการณ์นอง
เลือด ๔ ครั้ง รัฐประหาร ๑๒ ครั้ง และรัฐธรรมนูญ ๑๘ ฉบับ
ทาไมประชาธิ ปไตยจึงไม่ประสบความสาเร็ จในประเทศไทย?
ปัญหาอยูต่ รงไหน เกิดจาก ระบบ หรื อ คน ?
หรื ออาจจะเป็ นเพราะว่า ประชาธิปไตย ไม่ เหมาะ กับ
ประเทศไทย?
บทเรี ยนจากประเทศสหรัฐอเมริ กา
ปี ค.ศ. ๑๘๖๑ – ๑๘๖๕ ฆ่ากันตายไป ๗๐๐,๐๐๐ คน
บทเรี ยนจากประเทศฝรั่งเศส ปี ค.ศ. ๑๘๗๑
คนเสื้ อแดงฝรั่งเศสยึดปารี ส ฆ่ากันตาย ๓๐,๐๐๐ คน!
บทเรี ยนจากประเทศเยอรมัน
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์มาจากการเลือกตั้ง!
“ประชาธิปไตย” คืออะไร
“ประชาธิปไตย” คืออะไร?
ประชาธิปไตยคืออะไร? ประชา + อธิปไตย
= การปกครองที่อานาจสู งสุ ดเป็ นของประชาชน
“โดยที่คณะราษฎรได้ขอร้องให้อยูใ่ ต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม เพื่อที่บา้ นเมือง
จะได้เจริ ญขึ้น และโดยที่ได้ทรงยอมรับตามคาขอร้องของคณะราษฎร จึงทรงพระกรุ ณา
โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยมาตราต่อไปนี้
มาตรา ๑ อานาจสูงสุ ดของประเทศนั้นเป็ นของราษฎรทั้งหลาย”
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่ นดินสยามชั่วคราว ๒๔๗๕ (๒๗ มิถนุ ายน ๒๔๗๕)
“การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน”
อับราฮัม ลินคอล์ น ประธานาธิ บดีสหรั ฐอเมริ กา, พ.ศ. ๒๔๐๖ ณ เมือง Gettysburg
= การปกครองโดยประชาชน หรื อประชาชนปกครองตนเอง
หลักการพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย :
(๑) หลักประชาธิ ปไตย (Democracy Principles)
หลักประชาธิปไตย
หลักการปกครองที่อานาจสูงสุ ดเป็ นของประชาชน
และเป็ นการปกครองโดยประชาชน
มาตรา ๓ อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริ ยผ์ ทู้ รงเป็ น
ประมุขทรงใช้อานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติ
แห่งรัฐธรรมนูญนี้
มาตรา ๑๙๕ บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอัน
เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีรัฐมนตรี ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
เว้นแต่ที่มีบญั ญัติไว้เป็ นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้
หลักการพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย :
(๑) หลักประชาธิ ปไตย (Democracy Principles)
หลักประชาธิปไตย
หลักการปกครองที่อานาจสูงสุ ดเป็ นของประชาชน
และเป็ นการปกครองโดยประชาชน
มาตรา ๓ อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริ ยผ์ ทู้ รงเป็ น
ประมุขทรงใช้อานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบั
ญญัติ
เจ้าของประเทศย่อมมีสิทธิ
เสรี ภาพในประเทศของตน
แห่งรัประชาชนเป็
ฐธรรมนูนเจ้ญาของ
นี้
ประเทศร่ วมกัน จึงเสมอ
ภาคกันในประเทศ
ใช้เสี ยงข้างมากอย่าง
เดียว จะเป็ น “เผด็จการ
เสี ยงข้างมาก”
หลักความเสมอภาค
หลักสิ ทธิเสรีภาพ
เสี ยงข้างมากต้องเคารพเสียงข้างน้อย
เสี ยงข้างน้อยก็ตอ้ งเคารพเสี ยงข้างมาก
การปกครองโดยเสี ยงข้ างมาก คุ้มครองเสี ยงข้ างน้ อย
ประชาธิปไตย
ทาไมต้ องใช้ กฎหมายในการปกครอง?
ประชาธิปไตยทาไมต้องใช้ “กฎหมาย” ในการ
ปกครอง?
ใช้กาลังตัดสิ น?
คาถาม : ทุกคนต่างก็มีสิทธิ เสรี ภาพ แล้วมีความขัดแย้งกัน จะตัดสิ นอย่างไร?
การแข่งฟุตบอลมีคนสองกลุ่มที่ขดั แย้งกันอย่างสิ้ นเชิง แต่ทาไมจึงแข่งกันได้?
ฟุตบอลที่แข่งกันได้เพราะใช้ “กติกา”
ผูเ้ ล่นต้องเคารพ “กติกา”
ประชาธิปไตยทาไมต้องใช้ “กฎหมาย” ในการ
ปกครอง?
คาถาม : ทุกคนต่างก็มีสิทธิ เสรี ภาพ แล้วมีความขัดแย้งกัน จะตัดสิ นอย่างไร?
การแข่งฟุตบอลมีคนสองกลุ่มที่ขดั แย้งกันอย่างสิ้ นเชิง แต่ทาไมจึงแข่งกันได้?
ฟุตบอลที่แข่งกันได้เพราะใช้ “กติกา”
ผูเ้ ล่นต้องเคารพ “กติกา”
ประชาธิปไตยทาไมต้องใช้ “กฎหมาย” ในการ
ปกครอง?
คาถาม : ทุกคนต่างก็มีสิทธิ เสรี ภาพ แล้วมีความขัดแย้งกัน จะตัดสิ นอย่างไร?
การแข่งฟุตบอลมีคนสองกลุ่มที่ขดั แย้งกันอย่างสิ้ นเชิง แต่ทาไมจึงแข่งกันได้?
ฟุตบอลที่แข่งกันได้เพราะใช้ “กติกา”
ผูเ้ ล่นต้องเคารพ “กติกา”
ถ้าไม่ใช้กติกา ผูแ้ ข็งแรงกว่าจะเป็ นผูช้ นะ ผูอ้ ่อนแอกว่าคือผูพ้ า่ ยแพ้ !
ตัวอย่าง : กรุ งไคโร ไม่มีไฟเขียวไฟแดง แล้วชาวเมืองขับรถผ่านสี่ แยกกันอย่างไร?
“กติกา” ก็คือ “กฎหมาย” นัน่ เอง
การทาให้ทุกคนเท่าเทียมกันโดยใช้ “กติกา”
ใช้ระบบ “ใจถึง” ใครใจถึง
กว่าได้ทางไป ใครอ่อนแอ ไม่
มีทางไปถึงที่หมาย
หลักการพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย :
(๒) หลักนิติรัฐ (The Rule of Law)
หลักนิตริ ัฐ
การจากัดสิ ทธิเสรี ภาพ
เป็ นเรื่ องยกเว้น คือต้อง
จากัดเพียงเท่าที่จาเป็ น
การปกครองโดยกฎหมาย
The Rule of Law
การมีอานาจเป็ น
เรื่ องยกเว้น คือต้อง
มีเพียงเท่าที่จาเป็ น
ผูบ้ ริ หารประเทศจะมีอานาจก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อานาจ
ประชาชนมีสิทธิเสรี ภาพตราบเท่าที่ไม่มีกฎหมายมาจากัด
หลักการพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย :
(๒) หลักนิติรัฐ (The Rule of Law)
หลักนิตริ ัฐ
การปกครองโดยกฎหมาย
The Rule of Law
ผูป้ กครองจะมีอานาจก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อานาจ
ประชาชนมีสิทธิเสรี ภาพตราบเท่าที่ไม่มีกฎหมายมาจากัด
หลักประชาธิปไตย
การปกครองโดยประชาชน
Government by the People
ระบอบประชาธิปไตย = กฎหมายที่ใช้ในการปกครองต้องมาจากประชาชน
“กฎหมาย” ในระบอบประชาธิปไตยจึงเป็ น การตกลงกันของประชาชน
“พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตย
“สิ ทธิเสรีภาพ” ทีค่ วบคู่กบั “หน้ าที”่
และ “ความรับผิดชอบ”
ความล้ มเหลวของประชาธิปไตยหากไร้ “พลเมือง”
เกิดชนชั้นปกครองใหม่ที่มา
จากการเลือกตั้ง
ประชาธิปไตย
ที่ลม้ เหลว
ประชาธิ ปไตยนาไปสู่ ความ
แตกแยกของคนในสังคม
เสรี ภาพตามอาเภอใจ ซึ่ ง
นาไปสู่ ความเสื่ อมของสังคม
ไม่ใช่การปกครอง
โดยประชาชน แต่
เป็ นการปกครองโดย
นักการเมืองที่มาจาก
การเลือกตั้ง
ครอบครัวแตกแยก
ชุมชนแตกแยก
สังคมแตกแยก
ร้ายแรงที่สุดคือเกิด
สงครามกลางเมือง
ใช้เสรี ภาพกันตาม
อาเภอใจ โดยไม่มี
ความรับผิดชอบต่อ
สังคม
สภาพสังคมไทยในวันนี้ :
ขโมยน็อตเสาไฟฟ้ า – ปาหิ น
สภาพสังคมไทยในวันนี้ :
ลักพระพรหม จิ๊กกระบี่ ขโมยปี่ พระอภัย
สภาพสังคมไทยในวันนี้ :
ฉกกางเกง ตัดสายไฟ ขโมยฝาท่อระบายน้ า
สภาพสังคมไทยในวันนี้ :
เยาวชนไทยฆ่าแท็กซี่ เลียนแบบเกมส์คอมพิวเตอร์
สภาพสังคมไทยในวันนี้ :
นักเรี ยนเผาโรงเรี ยนเพื่อไม่ตอ้ งเรี ยนหนังสื อ
สภาพสังคมไทยในวันนี้ : ยุคเสรี ภาพตามอาเภอใจ ใคร
อยากจะทาอะไรก็ทา นาโดยดารา
สภาพสังคมไทยในวันนี้ :
คอนเสิ ร์ตล่าสุ ดของใหม่ - ติ๊นา
สภาพสังคมไทยในวันนี้ : ภาพตัวอย่างอีเวนต์เปิ ดตัว
สิ นค้าที่จดั ตามห้างสรรพสิ นค้าต่างๆ
ตัวอย่างของการใช้เสรี ภาพตามอาเภอใจ สั งคมไทยกาลังเสื่ อม!
คลิปลามกโหลดทางมือถือ โฆษณากันอย่างเสรี ไม่มีการควบคุม
ตัวอย่างของการใช้เสรี ภาพตามอาเภอใจ สั งคมไทยกาลังเสื่ อม!
คลิปลามกโหลดทางมือถือ โฆษณากันอย่างเสรี ไม่มีการควบคุม
สภาพสังคมไทยในวันนี้ : ละครไทยเต็มไปด้วยการ
ปล้ าผูห้ ญิง ตบแย่งผูช้ าย ขายเลิฟซี น
สภาพสังคมไทยในวันนี้ :
ปัญหานักเรี ยนหญิงตบกันเพือ่ แย่งผูช้ าย
สภาพสังคมไทยในวันนี้ : สถิติการข่มขืน ปล้ า
ล่อลวง ล่วงละเมิดทางเพศเพิม่ ขึ้น
สภาพสังคมไทยในวันนี้ :
ผูก้ ระทาผิดทางเพศอายุเฉลี่ยน้อยลงเรื่ อยๆ
สภาพสังคมไทยในวันนี้ : ปี ๒๕๕๑ ที่ผา่ นมา ๔๓ %
ของการข่มขืนกระทาโดยแฟน
เพื่ อ น
103
43
185
แฟน
คนในครอบครั ว
เพื่ อ นบ้าน
172
สามีเก่า
ครู ,พระฯลฯ
8
37
34
54
แหล่งข้อมูล : โรงพยาบาลตารวจ
ในปี ๒๕๕๑ ผูท้ ี่ถูก
ข่มขืน ๔๓ % ถูกกระทา
โดย แฟนตัวเอง
คนแปลกหน้ า
480
คนรู้ จกั
ไม่แจ้ ง
สภาพสังคมไทยในวันนี้ : ปี ๒๕๕๑ ที่ผา่ นมา เด็กที่
ถูกข่มขืน ๕๒ % ถูกกระทาโดยแฟน
55
62
17
เมื่อดูเฉพาะผูถ้ ูกข่มขืนที่
เป็ น เด็ก ปรากฏว่า
จานวนที
25 ่ถูกกระทาโดย
แฟนตัวเอง คือ ๕๒ %
238
เพื่ อ น
แฟน
คนในครอบครั ว
เพื่ อ นบ้าน
ครู ,พระฯลฯ
คนแปลกหน้ า
คนรู้ จกั
ไม่แจ้ ง
16
23
29
แหล่งข้อมูล : พลตารวจตรี หญิง จันทนา วิธวาศิริ
หัวหน้าคณะทางานศูนย์พ่ งึ ได้ โรงพยาบาลตารวจ
การละเมิดทางเพศที่กระทาต่อเยาวชนอายุ ๑๐ – ๑๙ ปี
เปรี ยบเทียบปี ๒๕๔๓, ๒๕๔๕ และ ๒๕๕๑
ปี ๒๕๔๓
ปี ๒๕๔๕
ปี ๒๕๕๑
อายุ ๑๐ – ๑๔ ปี
๒๐๕ ราย
๓๔๙ ราย
๔๐๙ ราย
อายุ ๑๕ – ๑๙ ปี
๓๕๕ ราย
๓๙๕ ราย
๔๑๖ ราย
แหล่งข้อมูล : พลตารวจตรี หญิง จันทนา วิธวาศิริ
หัวหน้าคณะทางานศูนย์พ่ งึ ได้ โรงพยาบาลตารวจ
สภาพสังคมไทยในวันนี้ : สถิติการตั้งท้องในวัย
เรี ยน และการทาแท้งเพิ่มมากขึ้น ปี ๒๕๕๑ มีนกั เรียน
ปี ๒๕๕๒ ประเทศไทยมี
แม่ในวัยเด็กสู งที่สุดใน
เอเชีย และสูงที่สุดในโลก!
ตั้งครรภ์และคลอดกว่า ๗
หมื่นราย ส่ วนที่ทาแท้งมี
มากกว่านี้ประมาณ ๓ เท่า
ความล้ มเหลวของประชาธิปไตยหากไร้ “พลเมือง”
แก้ได้ดว้ ย “การศึกษาเพื่อสร้าง
ความเป็ นพลเมือง” ซึ่ งประเทศ
สหรัฐอเมริ กา เยอรมัน และ
ประเทศอื่นๆ ทาสาเร็ จมาแล้ว
เกิดชนชั้นปกครองใหม่ที่มา
จากการเลือกตั้ง
ประชาธิปไตย
ที่ลม้ เหลว
ประชาธิ ปไตยนาไปสู่ ความ
แตกแยกของคนในสังคม
ประชาธิปไตยไม่ใช่กฎ
ธรรมชาติ ถ้าไม่มีการฝึ กฝน
ไม่มีการสร้างประชาธิปไตย
ที่ “คน” ก็จะไม่มีทาง
ประสบความสาเร็จ
เสรี ภาพตามอาเภอใจ ซึ่ ง
นาไปสู่ ความเสื่ อมของสังคม
ไม่ใช่การปกครอง
โดยประชาชน แต่
เป็ นการปกครองโดย
นักการเมืองที่มาจาก
การเลือกตั้ง
ครอบครัวแตกแยก
ชุมชนแตกแยก
สังคมแตกแยก
ร้ายแรงที่สุดคือเกิด
สงครามกลางเมือง
ใช้เสรี ภาพกันตาม
อาเภอใจ โดยไม่มี
ความรับผิดชอบต่อ
สังคม
ไม่มีชนชาติใดในโลกนี้ที่เกิดมาเป็ นประชาธิปไตย!
ประชาธิปไตยจะประสบความสาเร็จได้
ประชาชนจะต้ องเป็ น “พลเมือง”
ตระหนักว่าตนเป็ นสมาชิกคนหนึ่งของสังคม
และมีส่วนร่ วมในการแก้ปัญหา โดยไม่ก่อ
ปัญหาและลงมื่อแก้ดว้ ยตัวเอง
พึ่งตนเองและรับผิดชอบตนเองได้ ไม่อยู่
ใต้การครอบงาหรื อระบบอุปถัมภ์ของใคร
เป็ นสมาชิกของ
สังคมที่พ่ งึ ตนเองได้
เคารพสิ ทธิ
ผูอ้ ื่น
ไม่ใช้สิทธิเสรี ภาพของ
ตน ไปละเมิดสิ ทธิ
เสรี ภาพของบุคคลอื่น
พลเมือง
เคารพความ
แตกต่าง
เคารพหลัก
ความเสมอภาค
ยอมรับความแตกต่าง
และเคารพผูอ้ ื่นที่
แตกต่างจากตนเอง
เห็นคนเท่าเทียมกัน
โดยมองคนเป็ นแนว
ระนาบ ไม่ใชแนวดิ่ง
รับผิดชอบต่อสังคม
โดยเริ่ มต้นที่ตนเอง
เคารพกติกา
หรื อกฎหมาย
เคารพกติกา เคารพกฎหมาย ไม่
ใช้กาลังแก้ปัญหา ยอมรับผลของ
การละเมิดกติกา และทาหน้าที่
ตามกฎหมาย เช่น เสี ยภาษี
ประชาธิปไตยจะประสบความสาเร็จได้
ประชาชนจะต้ องเป็ น “พลเมือง”
คุณสมบัติ ๖ ข้อของ “พลเมือง” เราสามารถยุบ
ได้เหลือ ๓ ข้อคือ หนึ่ง เคารพผูอ้ ื่น สอง เคารพ
กติกา สาม แก้ปัญหาโดยเริ่ มต้นที่ตนเอง
พลเมือง =
กาลังของเมือง
เป็ นสมาชิกของ
สังคมที่พ่ งึ ตนเองได้
เคารพสิ ทธิ
ผูอ้ ื่น
เคารพผูอ้ ื่น
พลเมือง
เคารพความ
แตกต่าง
เคารพหลัก
ความเสมอภาค
เคารพกติกา
รับผิดชอบต่อสังคม
โดยเริ่ มต้นที่ตนเอง
เคารพกติกา
หรื อกฎหมาย
แก้ปัญหาโดยเริ่ มต้นที่ตนเอง
ประชาธิปไตยจะประสบความสาเร็จได้
ประชาชนจะต้ องเป็ น “พลเมือง”
Civil Society =
สังคมพลเมือง
ประชาธิปไตยไม่ใช่กฎธรรมชาติ ความ
เป็ น “พลเมือง” จึงต้องฝึ กฝนกันตั้งแต่
เป็ นเด็ก และเรี ยนรู้ต้งั แต่ในโรงเรี ยน
เป็ นสมาชิกของ
สังคมที่พ่ งึ ตนเองได้
เคารพสิ ทธิ
ผูอ้ ื่น
เคารพผูอ้ ื่น
พลเมืองของครอบครัว พลเมืองของ
โรงเรี ยน พลเมืองของชุมชนพลเมือง
ของประเทศ และ พลเมืองโลก
พลเมือง
เคารพความ
แตกต่าง
เคารพหลัก
ความเสมอภาค
เคารพกติกา
รับผิดชอบต่อสังคม
โดยเริ่ มต้นที่ตนเอง
เคารพกติกา
หรื อกฎหมาย
แก้ปัญหาโดยเริ่ มต้นที่ตนเอง
เมื่อประชาชนเป็ น “พลเมือง” จะเกิด “สังคมพลเมือง”
(Civil Society) และประชาธิปไตยจะประสบความสาเร็ จ
เคารพผูอ้ ื่น
เคารพสิ ทธิ เคารพความเสมอภาค เคารพความแตกต่าง
มาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ หรื อใช้สิทธิ
และเสรี ภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุคคลอื่น ไม่
เป็ นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญ หรื อไม่ขดั ต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน
เคารพกติกา
เคารพ “กติกา” ก็คือ เคารพ “กฎหมาย” นัน่ เอง
ร่ วมกันรับผิดชอบ เปลี่ยนทัศนะ “ไม่เกี่ยวกับฉัน” มาเป็ น “พลเมือง –
กาลังของเมือง” ในการร่ วมกันแก้ปัญหาของส่ วนรวม
ต่อสังคม
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็ นพลเมืองในทางปฏิบตั ิ :
ตัวอย่างการทดลองของธรรมศาสตร์
ผูเ้ รี ยนเป็ น “ประธาน”
ไม่ใช่ “กรรม”
การใช้กระบวนการกลุ่มให้ผเู ้ รี ยนได้แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น : นักเรี ยนสามารถ “คิด” ได้ ถ้าให้เขาได้ “คิด”
ใช้กลุ่มย่อยกลุ่มละ
๑๒ - ๑๓ คน ให้
พูดคุยแลกเปลี่ยนกัน
ไม่มีความคิดใครผิด ไม่มี
ความคิดใครถูก ทุกคนต้องพูด
เมื่อคนหนึ่งพูดทุกคนต้องฟัง
เคารพผูอ้ ื่น – เคารพกติกา!
ตัวอย่างเทคนิคการสอน : นาสิ่ งที่เกิดขึ้นรอบตัว เช่น
ในห้องเรี ยน ในมหาวิทยาลัย มากระตุน้ ให้ “คิด”
ที่อ่านหนังสื อพิมพ์ ณ
หน่วยงานแห่งหนึ่งใน
สังคมแย่
มธ. เวลา ๙ โมงเช้า
เพราะใคร?
สถานที่เดียวกัน
เวลา ๑๑ โมง
หลักการคือเปลี่ยนทัศนะ It’s Someone Else’s Problem (ISEP)
ให้นกั ศึกษาตระหนักว่า เราทุกคนเป็ นส่ วนหนึ่งของปั ญหา
หลักการคือเปลี่ยนทัศนะ “ไม่เกี่ยวกับฉัน” ให้ผเู้ รี ยนได้ตระหนัก
ว่า เราทุกคนเป็ นส่ วนหนึ่งของปัญหา และให้ลงมือปฏิบตั ิ
ตัวอย่างโครงงานแก้ปัญหาในวิชา “พลเมือง” ของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตัวอย่างโครงงานแก้ปัญหาในวิชา “พลเมือง” ของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตัวอย่างโครงงานแก้ปัญหาในวิชา “พลเมือง” ของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตัวอย่างโครงงานแก้ปัญหาในวิชา “พลเมือง” ของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์