Psychopathologic Disorders Process and their evaluation

Download Report

Transcript Psychopathologic Disorders Process and their evaluation

ความรู้ทวั่ ไปด้านจิตเวชศาสตร์
สาหรับนักศึกษาสหเวศาสตร์
พญ.สรสพร จูวงษ์
รพ.สวนสราญรมย์ กรมสุ ขภาพจิต
“จิตเวชศาสตร์” คืออะไร ???
ไสยศาสตร์
จิตวิทยา
(Psychology)
จิตเวช
ศาสตร์
อัจฉริยะ
ศิลปิ น
ประสาทวิทยา
(Neurology)
คนแปลก....
จิตเวชศาสตร์
ไสยศาสตร์
นักจิตวิทลัยา
กษณะของงานทีท่ า
ตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา โดยการใช้
เครื่ องมือทดสอบจิตวิทยาที่เป็ นมาตรฐาน
ร่ วมกับการสังเกตพฤติกรรม และการ
สัมภาษณ์ วิเคราะห์ และแปลผลการ
ทดสอบ
2. บาบัดรักษาทางจิตวิทยา เป็ นวิธีการ
บาบัดรักษาที่ไม่ตอ้ งใช้ยา ซึ่งแตกต่างจาก
จิตแพทย์อาจบาบัดรักษา โดยการใช้ยาได้
1.
ประสาทวิทยา
ศิลปิ น / อัจฉริ ยะ
เหตุตั้งต้น
(Precursors)
ความโน้มเอียง
ปัจจัยทาง
พันธุกรรม
พยาธิวทิ ยา
ทางสมอง
ประสบการณ์
การเรียนรู้ ใน
ระยะแรกของชีวติ
ปัญหาหรือความขัดแย้ง
ในครอบครัว
www.themegallery.com
(Diathesis)
ความเครียด
(Stress)
ความไม่ เข้ าใจ
ตนเอง
ความอ่อนแอ
(vulnerability)
ผลลัพธ์
(Outcome )
ความเจ็บป่ วย
ทางจิตใจ/ร่ างกาย
พลศาสตร์ ใน
ครอบครัวทีก่ ่ อให้
เกิดความเครียด
ความเครียดทางสั งคม
Company Logo
เรื่ องของ “ความผิดปกติ”
***เปรียบเทียบ***
จากครอบ
ครัว
ผิดปกติ
จาก
ชุ มชน
www.themegallery.com
จากเพือ่ น
/สั งคม
จากเดิม
จากระเบียบ
/กฎหมาย
Company Logo
ICE BERG
Behavior
Feeling
Thought &
perception
Expectation
Yearning
self
แค่ไหน ถึงจะจัดว่าผิดปกติทางจิตเวช ???
1.
2.
เมื่อมีอาการ(ความคิด ความรู้สึก การตัดสิ นใจ การรับรู้ การแสดงออก
ทั้งทางด้ านภาษาและพฤติกรรม)ทีท่ าให้ บุคคลนั้นหรือสั งคมรอบตัว
เกิดความทุกข์ ทรมาน หรือมีความบกพร่ องอย่ างมากในกิจวัตรต่ างๆ
ทั้งด้ านความสั มพันธ์ ส่วนตัว ครอบครัว การทางานหรือการดาเนิน
ชีวติ ประจาวัน
อาการที่เกิดขึน้ ต้ องผิดปกติ คือต้ องไม่ เป็ นสิ่ งทีส่ ั งคมนั้นๆ ยอมรับกันว่ า
เป็ นเรื่องปกติ เช่ น อาการซึมเศร้ าจากการสู ญเสี ยผู้ทตี่ นรัก พฤติกรรม
ที่เบี่ยงเบนไปจากค่ านิยมด้ านการเมือง ศาสนา หรือด้ านเพศ หรือเป็ น
จากความขัดแย้ งระหว่ างบุคคลนั้นๆ กับสั งคม ไม่ ถือว่ าเป็ นความผิด
ปกติทางจิตเวช นอกจากปัญหาเหล่านี้ จะก่อให้ เกิดภาวะดังข้ อแรก
www.themegallery.com
Company Logo
คาสาคัญ
ทีค่ วรรู้ จัก
โรคจิต (Psychosis)
โรคทางร่ างกาย
โรคประสาท
(Organic
Disorders/
General medical
conditions)
(Neurosis)
โรคทางจิตใจ
(Functional
Disorders)
www.themegallery.com
Company Logo
www.themegallery.com
Company Logo
Introduction
โรคจิต (Psychoses)
โรคประสาท (Neuroses)
มีการสู ญเสี ยการทดสอบความจริง
ไม่ มีการสู ญเสี ยการทดสอบความจริง
(Loss of contact with
reality)
Hallucinations
Delusions
Several abnormalities of
behavior
Lack of insight
สาเหตุส่วนใหญ่ เกิดจากความขัดแย้ ง
ในจิตใจ (intrapsychic conflicts)
หรือเหตุการณ์ ชีวติ (life event) ที่
ก่ อให้ เกิดความวิตกกังวล (anxiety)
“สวัสดีค่ะ ทีน่ ี่สายด่ วน จิตเวช
ถ้ าคุณเป็ นคนประเภท ยา้ คิดยา้ ทา โปรดกดหมายเลข 1 ซ้าแล้วซ้าอีก
ถ้ าคุณเป็ นคนทีต่ ้ อง พึง่ พาคนอืน
่ โปรดวานคนอืน่ ให้ ช่วยกดหมายเลข 2
ถ้ าคุณมี หลายบุคลิกภาพอยู่ในตัว โปรดกดหมายเลข 3, 4, 5 และ 6
ถ้ าคุณมี อาการ ประสาทหลอน หวาดระแวง เราพอทราบว่ าคุณเป็ นใคร
และต้ องการอะไร โปรดถือสายรอสั กครู่
จนกว่ าเราจะสื บทราบว่ าคุณโทรฯมาจากไหน
ถ้ าคุณรู้สึกปริวติ กเพราะ จิตสั บสน โปรดฟังให้ ดจี ะมีเสี ยงเล็ก ๆ
กระซิบบอกว่ าคุณควรกดหมายเลขอะไร
ถ้ าคุณเป็ นโรค วิกลจริตสลับกับซึมเศร้ า กดหมายเลขอะไรก็ได้
ไม่ มีใครรับสายคุณหรอก”
Clinical syndrome
นพ.พรรธนภ ตัณฑ์ศุภศิริ
จิตแพทย์
รองผูอ้ านวยการโรงพยาบาลสวนสราญรมย์
 Early-onset
disorders (eg. Learning disorder)
 Disorders related to substance use
 Schizophrenia and other psychotic disorders
 Mood disorders
 Anxiety disorders
 Somatoform disorders
 Physical and sexual abuse of children, adults, and
elders
 Other disorders (eg. Dissociative, impulse
control, post-traumatic stress disorder)
โรคจิต (Psychoses)
มีการสูญเสี ยการทดสอบความจริ ง (Loss of contact with
reality)
Hallucinations
Delusions
Several abnormalities of behavior
Lack of insight
โรคประสาท (Neuroses)
 ไม่มีการสู ญเสี ยการทดสอบความจริ ง
 สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากความขัดแย้งในจิตใจ (intrapsychic
conflicts) หรื อเหตุการณ์ชีวิต (life event)
กังวล (anxiety)
ที่ก่อให้เกิดความวิตก
Psychopathology (จิตพยาธิสภาพ)
 โรคหรื อความผิดปกติในทางจิตเวชนั้น บางครั้งแยกจากภาวะ
ผิดปกติได้ไม่ชดั เจน
 เนื่ องจากอาการที่เกิดขึ้นเป็ นการเบี่ยงเบนของอารมณ์ ความคิด
และพฤติกรรม ซึ่ งอาจพบได้เป็ นครั้งคราวในผูท้ ี่ปกติ
หลักการพิจารณาโรคทางจิตเวช
มีอาการด้านจิตใจหรื อพฤติกรรมที่มีความสาคัญทางคลินิก
อาการเหล่านี้ทาให้บุคคลนั้นเกิดความทุกข์ทรมาน
มีความบกพร่ องในกิจวัตรต่างๆ
มีกิจวัตรด้านต่างๆ แย่ลงมาก
มีความเสี่ ยงสู งที่จะถึงแก่ชีวิต
อาการที่เกิดขึ้น ต้องไม่เป็ นสิ่ งที่สงั คมนั้น ยอมรับกันว่าเป็ นเรื่ องปกติ
การประเมินทางคลินิก
 การสัมภาษณ์ทางจิตเวช (Psychiatric interview)
 ประวัติทางจิตเวช (Psychiatric history)








Identifying data
Chief complaint
Present illness
Past psychiatric history
Medical history
Family history
Personal history
Current life situation
 การตรวจร่ างกาย (Physical examination)
 การตรวจสภาพจิต (Mental status examination)
การตรวจสภาพจิต (Mental status examination)

สิ่ งปรากฏทัว่ ไปและพฤติกรรม (General appearance and behavior)

อารมณ์รู้สึกและอารมณ์แสดง (Mood and affect)

การพูดและภาษา (speech and language)

ความคิด: รู ปแบบการคิด (thought form), เนื้อหา (thought content)

การกาหนดรู ้ (perception)
การรับรู้และการรู้ (sensorium and cognition)
 การตัดสิ นใจ (judgment)
 ความหยัง่ เห็น (insight)

Disorder usually first diagnosed
in infancy, childhood, or
adolescent
Mental retardation (MR)

ภาวะปัญญาอ่อน




เริ่ มมีอาการก่ อนอายุ 18 ปี
ระดับเชาวน์ปัญญา (intelligence quotient: IQ) ต่ากว่า 70
มีความบกพร่ องหรื อไม่สามารถปรับตัวใช้ชีวิตในปัจจุบนั อย่างน้อย 2
ด้านต่อไปนี้ คือ การสื่ อสาร การดูแลตนเอง ทักษะการเข้าสังคม การ
เรี ยน เป็ นต้น
IQ= ระดับสติปัญญาที่วดั ได้ X 100 , ค่าเฉลี่ยปกติ คือ 90-110
อายุจริ ง
 พฤติกรรมการปรับตัวหมายถึง การเจริ ญเติบโตถึงวุฒิภาวะ,
ความสามารถในการเรี ยนรู ้ การพึ่งตนเอง และการรับผิดชอบต่อสังคม
อย่างเหมาะสมกับอายุและวัฒนธรรมในสังคมนั้นๆ
 สาเหตุอาจเกิดจากความผิดปกติของ chromosome (เช่น Down
syndrome, fragile X syndrome), ภาวะแทรกซ้อนระหว่างคลอด, การ
ติดเชื้อ หรื อได้รับยาบางอย่างขณะตั้งครรภ์ (โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระยะ 3
เดือนแรก) แต่ส่วนใหญ่มกั ไม่ทราบสาเหตุ

Mild MR

Moderate MR :
35 to 40 and 50 to 55

Severe MR
20 to 25 and 35 to 40

Profound MR :
:
:
50 to 55 and 70
below 20 to 25
 ผูป
้ ่ วย MR
จะมีโรคทางจิตเวชร่ วมด้วย สูงกว่าเด็กทัว่ ไป 3-4
เท่า เนื่องจาก





การทางานที่ผิดปกติของสมอง
ความผิดปกติดา้ นภาษาทาให้ผปู้ ่ วย MR ไม่สามารถสื่ อความหมายกับผูอ้ ื่นได้
สติปัญญาที่ดอ้ ยกว่าเด็กทัว่ ไป ทาให้ปรับตัวต่อความเครี ยดไม่ดี
สังคมไม่ยอมรับ และการเลี้ยงดูไม่ถกู ต้อง
เด็กมีปมด้อยเนื่องจากการเรี ยนไม่ทนั เด็กอื่น
Autistic disorder

Impairment in social interaction

ปัญหาทางพฤติกรรมที่พบบ่อย คือ
• ไม่สามารถสร้างสัมพันธภาพได้ ไม่สบตา
• ต้องการเพื่อนแต่ไม่สามารถเข้าสังคมได้
• ไม่สามารถตอบสนองต่อความสนใจ, อารมณ์ และความรู้สึกของผูอ้ ื่นได้

impairment in communication
 มีความบกพร่ องของพัฒนาการด้านภาษา
 พูดช้าหรื ออาจไม่พด
ู เลย พูดอย่างไม่ความหมาย
Autistic disorder (cont.)

Restricted repetitive and stereotyped patterns of
behavior, interests, and activities.



การเล่นหรื อการทากิจกรรมจะมีลกั ษณะไม่ยดื หยุน่
ทาซ้ าๆ ชอบมองดูของที่หมุนได้
Symptoms begin before the age of 3 years
 ระดับสติปัญญามักต่ากว่าปกติ แต่ไม่ทุกราย
Learning disorders: LD
 ความบกพร่ องของทักษะในการเรี ยน
 เป็ นกลุ่มอาการที่มีความบกพร่ องของทักษะในการอ่ านหนังสื อ การ
เขียนหนังสื อ การคานวณ อย่างใดอย่างหนึ่ง
ทาไม่ได้เลย หรื อทาได้ต่ากว่าเด็กอื่นที่มีระดับเชาว์ปัญญาและอยูใ่ น
สภาพแวดล้อมคล้ายกันอย่างน้อย 2 ชั้นเรี ยน
 การประเมิน: ซักประวัติในด้านการเลี้ยงดู-พัฒนาการ ประวัติดา้ นการเรี ยน
ประเมินปัญหาทางด้านจิตใจที่อาจเป็ นสาเหตุหรื อเป็ นผลตามมา

Attention deficit hyperactivity disorder
(ADHD)
 โรคซนสมาธิ ส้ น
ั
 อาการซน อยูไ่ ม่นิ่ง (hyperactive):

ยุกยิก อยูไ่ ม่สุข พูดมาก
 อาการหุ นหันพลันแล่น (impulsivity):

วูว่ าม ใจร้อน ทาอะไรโดยไม่คิด รอคอยไม่ค่อยได้
 อาการขาดสมาธิ (inattention):

วอกแวกง่าย ขาดความตั้งใจ เหม่อลอยบ่อยๆ ทางานไม่เสร็ จ ไม่เรี ยบร้อย
 อาการต้องเกิดก่อนอายุ 7 ปี
 การประเมินโดยอาศัยประวัติ และอาการทางคลินิก
 การตรวจร่ างกายทัว่ ไป และการตรวจทางระบบประสาท เพื่อแยกโรค
ทางกาย
 การตรวจสภาพจิตเพื่อประเมินภาวะอื่นทางจิตเวชที่อาจมีร่วมด้วย
Disorders related to
substance use
Substance use disorders
Substance induced disorders
Definition
 Substance: สารที่ทาให้เกิดการเสพติด

Substance abuse หมายถึง


การใช้ยาโดยไม่ใช่การรักษา เพื่อมุ่งหวังให้เกิดผลต่อความรู ้สึกตัว
การใช้ยาในลักษณะไม่เหมาะสม ซึ่ งทาให้เกิดปั ญหาต่อร่ างกาย อาชีพการงาน สังคม
หรื อกฎหมาย

Substance dependence

Psychic dependence มีลกั ษณะเฉพาะคือ แสดงพฤติกรรมแสวงหายามา
เสพซ้ าๆ โดยไม่สามารถหักห้ามใจได้ (Compulsive drug-seeking
behavior)

Physical dependence มีลกั ษณะเฉพาะคือ เมื่อหยุดเสพยาทันทีทน
ั ใดจะ
เกิดอาการขาดยา (Withdrawal symptoms)
 Substance
use disorders:
1)Substance abuse
 Substance

2) Substance dependence
induced disorder:
Intoxication, withdrawal, depression, psychotic, anxiety
etc.
 สารสื่ อประสาทที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับการออกฤทธิ์ : ยาบ้า (dopamine),
alcohol (GABA), บุหรี่ (nicotine), เฮโรอีน (opioid)
Amphetamine

Amphetamine intoxication
มีได้ต้ งั แต่อารมณ์ครื้ นเครงจนถึงเฉยเมย ระแวดระวังมากขึ้น
วิตกกังวล ตึงเครี ยด และอาจเกิดอาการทางจิตในระยะนี้ (amphetamine
induced psychotic disorder) เช่นหวาดระแวงกลัวคนมาทาร้าย มีหูแว่ว ภาพ
หลอน

ผูท้ ี่เสพยาบ้า ช่วงที่ยาออกฤทธิ์ ทาให้มีการหลัง่ ของ dopamine (DA) มากขึ้นทา
ให้อารมณ์ดีมีความสุ ข แต่ถา้ มากเกินไป ทาให้ไปกระตุน้ receptor เกิดอาการ
โรคจิต
Opioid
การใช้ยาเกินขนาดทาให้เสี ยชีวิตจาก respiratory arrest
triad คือ
 overdose:
โดยมี
clinical

coma
pinpoint pupil

respiratory

depression

การตรวจร่ างกายอาจพบ
ที่อวัยวะเพศชาย

Withdrawal: มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก น้ ามูกน้ าตาไหล ท้องเสี ย
การขยายของม่านตา (pupil dilatation)
skin track
ที่ แขน ขา ข้อพับ ขาหนีบ หรื อแม้แต่

Alcohol withdrawal
 สัน
่ . หงุดหงิด, คลื่นไส้อาเจียน,
 อาการทางระบบประสาทอัตโนมัติที่ทางานมากขึ้น ได้แก่ กังวล, ตื่นตัว, เหงื่อ
ออก, ใจเต้นเร็ ว, ความดันโลหิ ตสู งขึ้น
อาการมักเกิดหลังหยุดดื่มแอลกอฮอล์ 6-8 ชั่วโมง,
 อาการทางจิตและการรับรู ้ผดิ พลาดจะเกิดในช่วง 8-12 ชั่วโมง,
 อาการชัก จะพบในช่วง 12-24 ชัว่ โมง

Alcohol Withdrawal Delirium
 หรื อ Delirium Tremens (DTs)
ภาวะ DTs ถือเป็ นภาวะฉุกเฉิ นทางการแพทย์
 ผูป
้ ่ วย DTs จะเป็ นอันตรายทั้งกับตัวเองและผูอ้ ื่น เนื่องจากอาจมีพฤติกรรมที่
รุ นแรงได้จากการมีภาวะหูแว่ว, ประสาทหลอน
 ผูป
้ ่ วย DTs ที่ไม่ได้รักษามีอตั ราตายถึง 20%

 การเกิด Delirium tremens
พบช่วง 72 ชั่วโมง- 1 สัปดาห์
Wernicke-Korsakoff syndrome

Thiamine deficiency
 Wernicke’s encephalopathy:
 Reversible
 Triad:- mental confusion
- truncal ataxia
- opthalmoplegia (e.g. nystagmus)
 Korsakoff psychosis:
 Irreversible
Schizophrenia and other
psychotic disorders
Schizophrenia(โรคจิตเภท)
 การประเมินอาศัยทั้ง longitudinal และ cross-sectional
features
 มีอาการของความผิดปกติอย่างต่อเนื่ องนานอย่างน้อย 6 เดือน โดยมี
ช่วงระยะอาการกาเริ บ (acute phase) นานอย่างน้อย 1 เดือน
 การตรวจร่ างกายและสภาพจิต เพื่อแยกสาเหตุทางกาย หรื อจากการ
ใช้สาร
 ชนิ ดที่พบบ่อย เป็ นจิตเภทชนิ ดหวาดระแวง (paranoid type) มี
อาการเด่น คือ อาการหลงผิด หรื อหูแว่วบ่อยๆ
Other psychotic disorder
แล้ว ภาวะอื่นๆ ในกลุ่มของ
psychotic disorder ประกอบด้วย:
 นอกจากโรค Schizophrenia





schizoaffective disorder
Schizophreniform disorder
delusional disorder
postpartum psychosis
etc.
Mood disorders




เป็ นกลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของอารมณ์ซ่ ึงอาจแสดงออกในลักษณะของ
อารมณ์ซึมเศร้า (depression), หรื ออารมณ์ดี (elation) มากผิดปกติ
หรื อทั้ง 2 แบบสลับกัน
การวินิจฉัยประเมินจากความรุ นแรงของความผิดปกติทางอารมณ์, ความ
ยาวนาน (duration), การเสื่ อมเสี ยหน้าที่ (impaired functioning)
โรคซึมเศร้า (Depressive disorder)
โรคอารมณ์ 2 ขั้ว (Bipolar disorder), โรคอารมณ์แปรปรวน
Major depressive disorder (MDD)

ลักษณะสาคัญของโรคนี้ คือ ผูป้ ่ วยมีอาการซึมเศร้าเป็ นอาการเด่นชัด ร่ วมกับ
อาการสาคัญอย่างอื่น เช่น




มีความรู ้สึกเบื่อและหมดความสนใจในสิ่ งต่างๆ
เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ ยวแรง
ไม่มีสมาธิ ความจาแย่ลง รู ้สึกไร้ค่า และมีความคิดอยากตาย
มีอารมณ์ซึมเศร้าอย่างต่อเนื่องนานอย่างน้อย 2 สัปดาห์ และอาการทาให้เกิด
การเสื่ อมเสี ยหน้าที่ (impaired functioning)
Bipolar disorder (BD)

Manic symptoms:
 อารมณ์ครื้ นเครง (euphoric mood) ,
 ความคิดหรื อหลงผิดว่าตัวเองยิง
่ ใหญ่ (grandiosity),
 ใช้จ่ายเงินมากขึ้น, ความคิดแล่นเร็ ว พูดมาก มีโครงการใหญ่โต ฯลฯ
อาการซึมเศร้าเป็ นลักษณะหนึ่งของโรคอารมณ์แปรปรวนนี้
 คือผูป
้ ่ วยอาจจะมีช่วงที่อารมณ์ดีมาก และซึมเศร้ามากสลับกันเป็ นช่วง
 ซึ มเศร้า โดยไม่เคยมี mania
โรคซึมเศร้า
 มีอาการของ mania +/- อาการซึ มเศร้า
bipolar disorder

Anxiety disorders
 เป็ นกลุ่มโรคที่มีความวิตกกังวล และการหลีกเลี่ยง (avoidance)
เป็ นอาการสาคัญ

Most common psychiatric disorder

Panic disorder
Obsessive-compulsive disorder
Social & specific phobia
Acute & posttraumatic stress disorder



Panic disorder
อย่างไม่คาดหมายอยูบ่ ่อยๆ (recurrent &
unexpected) และไม่ได้เกิดจาก medical problem or substance
 เกิด panic attack
use

Panic attack: เป็ นช่วงเวลาที่มีความกลัว หรื อความรู้ สึกไม่ สบายอย่ าง
รุ นแรง (intense fear or discomfort) เกิดขึ้นแบบทันทีทนั ใด
 อาการรุ นแรงภายในเวลาสั้นๆ (5-10 นาที)

ร่ วมกับอาการทางกาย (physical symptoms) เช่น ใจสัน่ เหงื่อออก
หายใจไม่อิ่ม เจ็บอก ชาหรื อร้อนวูบวาบ
 การประเมินจากประวัติและต้องแยกสาเหตุทางกาย
สามารถเกิดได้กบั โรควิตกกังวลชนิดอื่น,
โรคทางกายหลายโรคเช่น โรคหัวใจ น้ าตาลในเลือดต่า
 Agoraphobia: มีความวิตกกังวลหรื อการหลีกเลี่ยงสถานที่หรื อ
สถานการณ์ที่การหนี หรื อการขอความช่วยเหลือกระทาได้ยาก
 อาการของ panic attack
Obsessive-compulsive disorder (OCD)

Obsession: การย้าคิด

Recurrent, intrusive thought: distressing to the patient (pt.)
The pt. attempt to suppress, or neutralize these thoughts.

ความคิดนี้เป็ นสาเหตุของความวิตกกังวลหรื อความรู ้สึกตึงเครี ยด


Compulsion: การย้าทา



Repetitive behaviors or mental acts that are often done to
neutralize an obsessive thought.
การย้าทาเป็ นสิ่ งที่ทาให้ความวิตกกังวลลดลง
ผูป้ ่ วย OCD ทราบว่า ความคิดและ/หรื อการกระทาของตนเองไม่สมเหตุสมผล
Posttraumatic stress disorder (PTSD)
 เกิดภายหลังจากที่ผป
ู ้ ่ วยเผชิญเหตุการณ์ที่รุนแรง
 เช่น ภาวะสงคราม อุทกภัย วินาศภัย ถูกทาร้ายร่ างกายหรื อข่มขืน หรื อ
อุบตั ิเหตุร้ายแรง
 โดยอาจเป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวผูป
้ ่ วยหรื อคนใกล้ชิด
 ลักษณะสาคัญ คือ ผูป
้ ่ วยยังคงรู ้สึกถึงเหตุการณ์ร้ายแรง หรื อภยันตรายที่
ตนได้เผชิญ มีอาการคงอยู่นานกว่ า 1 เดือน
 ถ้าระยะเวลาของอาการผิดปกตินอ้ ยกว่า 1 เดือน: Acute stress
disorder
Posttraumatic stress disorder (PTSD)
การรู สึกเหมือนกับว่าเหตุการณ์
สะเทือนใจอย่างยิง่ กาลังเกิดขึ้นใหม่ เช่น ฝันร้าย

Reexperiencing symptoms:

Avoidance of associated stimuli:

Hyperarousal:
มีการหลีกเลี่ยงอยูต่ ลอดต่อสิ่ ง
เร้าที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนจิตใจ เช่น การหลีกเลี่ยงที่จะ
คิดหรื อพูดถึง, หลีกเลี่ยงการไปสถานที่น้ นั ๆ, ไม่สามารถระลึกถึงส่ วนที่
สาคัญของเหตุการณ์น้ นั เป็ นต้น
มีอาการของภาวะตื่นตัวมากอยูต่ ลอด เช่น นอนหลับยาก
หงุดหงิด ระวังมากกว่าปกติ สะดุง้ ตกใจมากกว่าปกติ
 Specific



การถูกกระตุน้ ให้เกิดความวิตกกังวลอย่างมากในขณะที่เผชิญกับวัตถุ หรื อ
สถานการณ์เฉพาะอย่างที่กลัว (specific feared object or situation)
บุคคลนั้นมักมีการเหลีกเลี่ยงสิ่ งที่ตนกลัว
เป็ นภาวะทางจิตเวชที่พบบ่อยที่สุดในผูห้ ญิง และเป็ นที่สองในผูช้ าย
 Social

phobia:
phobia:
การถูกกระตุน้ ให้เกิดความวิตกกังวลอย่างมากในขณะที่เผชิญกับสถานการณ์ทาง
สังคม หรื อสถานการณ์ที่ใช้ความสามารถ
Somatoform disorders
ลักษณะที่สาคัญของโรคในกลุ่มนี้ คือ ผูป้ ่ วยมีอาการทางกายคล้ายโรคทาง
กาย โดยมีปัญหาทางด้ านจิ ตใจเป็ นสาเหตุ
 เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ปวดท้อง ปวดหลัง ฯลฯ ที่ไม่สามารถอธิ บายได้ดว้ ย
ภาวะความเจ็บป่ วยทางกายทัว่ ไป (คือหาสาเหตุทางกายไม่พบ)
 ปั ญหาทางด้านจิตใจอาจเป็ นปั ญหาเกี่ยวกับชีวติ สมรส ปั ญหาทางครอบครัว
การงาน
 ปั จจัยทางจิตสังคม: อาการที่แสดงออกเป็ นวิธีการสื่ อสารทางสังคมของ
ผูป้ ่ วย, เป็ นการแสดงออกทางอารมณ์, เป็ นตัวแทนของแรงผลักดันที่ถูกเก็บ
กดเอาไว้

Somatoform disorders

Somatization disorder
 Conversion disorder
 Hypochondriasis
 Body dysmorphic disorder
 Pain disorder
บุคคลที่แสดงออกเป็ นอาการทางกาย มักมีปัญหาในการสื่ อสารอารมณ์ของ
ตนเอง หรื อไม่สามารถเข้าใจอารมณ์ของตนเอง เรี ยกว่า “Alexithymia”
 การประเมินอาศัยประวัติ การตรวจร่ างกายและสภาพจิต เพื่อแยกโรคทางกาย
ทุกครั้ง และประเมินว่ามีโรคทางจิตเวชอื่นร่ วมด้วยหรื อไม่

Dissociative disorder
 ลักษณะที่สาคัญของโรค คือ มีความผิดปกติเกี่ยวกับ สติสม
ั ปชัญญะ
ความจา เอกลักษณ์ หรื อการรับรู ้ภาวะแวดล้อม
 อาจเป็ นทันที หรื อค่อยๆ เป็ น อาจเป็ นเพียงชัว่ คราว หรื อเรื้ อรัง

ผูป้ ่ วยลืมเรื่ องราวสาคัญๆ ของตน
(important personal information) โดยจะเป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับ
เหตุการณ์ร้ายแรงที่ได้ประสบ
Dissociative amnesia:
Dissociative disorder

่ ี่อื่น โดย
Dissociative fugue: ผูป้ ่ วยออกจากบ้านเดินทางไปอยูท
ไม่ได้คาดคิดไว้ก่อน (suddenly travels away) และลืมเรื่ องราว
เกี่ยวกับตัวเอง (self-identity)

Dissociative identity disorder (multiple personality
ผูป้ ่ วยจะมีต้ งั แต่ 2 บุคลิกภาพขึ้นไป แต่ละบุคลิกภาพ
แตกต่างกันอย่างชัดเจน ชนิดนี้มีอาการรุ นแรงที่สุด
disorder):
Personality Disorders

An enduring pattern of inner experience and
behavior
 Deviates markedly from the expectations of the
individual’s culture
 2/4 of the following:




Cognition
Affectivity
Interpersonal functioning
Impulse control

Cluster A:
 มีลก
ั ษณะแปลก (odd) หรื อประหลาด (eccentric)
 Cluster B:
 เจ้าอารมณ์ (emotional) ไม่แน่ นอน (erratic) มีพฤติกรรมเหมือนกับการ
แสดงละคร (dramatic)
 Cluster C:
 มีความวิตกกังวล (anxious) และความกลัว (fearful) เป็ นลักษณะเด่น
ประกอบด้วย
Physical and sexual abuse of
children, adults, and elders
Physical abuse of children
 การประทุษร้ายร่ างกายต่อเด็ก หมายความถึง การที่เด็กถูกทาร้ายร่ างกายโดย
บิดา มารดา หรื อผูป้ กครอง
 สาเหตุที่สาคัญ:



ปัจจัยทางบิดามารดา- ขาดการควบคุมอารมณ์, เคยถูกทาร้ายร่ างกายในวัยเด็กมาก่อน
เด็กมักมีความผิดปกติแฝงอยูใ่ นตัว เช่น พัฒนาการช้า พิการหรื อไม่สมบูรณ์ ซนมาก
สิ่ งแวดล้อม- ยากจน ครอบครัววุน่ วาย มีบุตรมาก ไม่มีงานทา
 การประเมินจากลักษณะทางคลินิก 4 ด้าน:
ประวัติการเจ็บป่ วย, 2) อาการแสดง
, 3) ลักษณะเฉพาะของบิดามารดา 4) ลักษณะเฉพาะของเด็ก
 เด็กที่มาด้วยได้รับบาดเจ็บทางร่ างกาย ควรนึ กถึงความเป็ นไปได้ของภาวะนี้ ไว้ดว้ ย
1)
ประวัติการเจ็บป่ วย








มีการนาตัวเด็กมารักษาช้ากว่าปกติ
ประวัติการเจ็บป่ วยไม่น่าเป็ นความจริ ง หรื อมีขอ้ ขัดแย้งกัน
ประวัติและการตรวจร่ างกายไม่สอดคล้องกัน
เด็กเคยถูกนาตัวมารักษาด้วยอาการบาดเจ็บหลายครั้ง
เด็กมีประวัติได้รับการบาดเจ็บซ้ าๆ และมีขอ้ น่าสงสัย
บิดามารดา กล่าวหาว่าพี่นอ้ ง หรื อคนอื่นเป็ นคนทา
บิดามารดา ระบุวา่ เด็กทาร้ายตนเอง
บิดามารดา ขาดความเอาใจใส่ ต่ออาการของเด็ก
อาการแสดง






ลักษณะบาดแผลที่เฉพาะเจาะจง เช่น แผลช้ าบริ เวณสะโพก อวัยวะเพศ
แผลช้ าที่มีลกั ษณะแตกต่างกันตามพยาธิ สภาพ เช่น บางแผลดีข้ ึน บางแผลเป็ น
รอยใหม่ บ่งชี้วา่ เด็กถูกทาร้ายซ้ าๆ
แผลถูกไฟไหม้หรื อถูกจี้ดว้ ยบุหรี่
มีเลือดคัง่ ใต้กะโหลกศีรษะ (subdural hematoma)
บาดเจ็บที่นยั น์ตา เช่น เลือดออกที่จอภาพตา
ภาพถ่ายเอกซเรย์ของกระดูกผิดปกติ
Sexual abuse of children

การประทุษร้ายทางเพศต่อเด็ก หมายความถึง การที่เด็กถูกประทุษร้ายทางเพศ
จากบุคคลในครอบครัวหรื อคนอื่น
การประทุษร้ายทางเพศ มีผลอย่างรุ นแรงต่อจิตใจ
 เด็กจะมีความวิตกกังวล มีความรู ้สึกผิดคิดว่าตนเองไม่ดี
 อาจมีอาการของ PTSD
 อาจกลายเป็ นเด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว เกเร หมกมุ่นเกี่ยวกับเรื่ องเพศ

Sexual abuse of children
การวินิจฉัยโรค:
เมื่อตรวจร่ างกายจะพบว่าอวัยวะเพศของเด็กมีร่องรอยของการถูกทาร้าย
 เกิดโรคติดเชื้อในทางเดินปั สสาวะบ่อยๆ มีเลือดในปั สสาวะ
 มีเลือดในบริ เวณ anal fissure
 ควรปรึ กษากุมารแพทย์เพื่อการวินิจฉัยโรค และวินิจฉัยแยกโรคในเด็ก

Question?