- Home (หน้าแรก)

Download Report

Transcript - Home (หน้าแรก)

งานสัมมนาวิชาการ
โดย ชมรมสยามรันชู
“ก่อนเลี้ยงให้สวย ต้องเลี้ยงให้รอด”
27 มกราคม 2551
วิทยากร
1.
คุณ พรชัย
วลีสุขสันต์
BOSS RANCHU
2.
คุณ ฉัตรชัย
พรรุ่ งเรื องกุล
RANCHUART
3.
คุณ ณัฐพล
สุ ขวัฒนศิริ
RANCHUMANIX
หัวข้อการสัมมนา





วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง
คุณสมบัติของผูเ้ ลี้ยงปลารันชู
การเตรี ยมความพร้อมเบื้องต้น
สิ งห์ญี่ปุ่น VS รันชู
การเลือกซื้ อปลา





การนาปลาใหม่เข้าบ้าน
การเลี้ยง - กิจวัตรประจาวัน
โรค และการรักษา
กฏทองของชาวรันชู
แง่คิดในการอยูร่ ่ วมกัน
วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง

เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลิน หรื อเป็ นงานอดิเรก

เลี้ยงเพื่อการประกวด

เลี้ยงเพื่อการเพาะพันธุ์ ไม่วา่ จะเป็ นงานอดิเรก หรื อเป็ นอาชีพ
คุณสมบัติของผูเ้ ลี้ยงปลารันชู

มีใจรักในการเลี้ยงปลา

มีเวลาในการดูแล

มีความเหมาะสมของสถานที่ในการเลี้ยง
การเตรี ยมความพร้อมเบื้องต้น
 ด้านสถานที่
– อากาศถ่ายเทสะดวก
– มีแสงแดดส่ องถึง, แสงสว่างเพียงพอ
– สะดวกต่อการเปลี่ยนถ่ายน้ า
– ไม่รบกวนผูอ้ าศัยในบริ เวณข้างเคียง
การเตรี ยมความพร้อมเบื้องต้น
 ด้านอุปกรณ์
– ภาชนะ
เช่น ตูป้ ลา, อ่างปูน, อ่างไฟเบอร์,
อ่างพลาสติก, บ่อผ้าใบ
– อุปกรณ์ให้อากาศ เช่น ปั๊มลม, สายลม, หัวทราย
– เครื่ องกรองน้ าประปา (คลอรี น)
อ่างไฟเบอร์
อ่าง และบ่อปูน
อ่างบล็อกประสาน
อ่างผ้าใบ
สิ งห์ญี่ปุ่น VS รันชู

ความแตกต่างทางการพัฒนาพันธุ์
– ประเทศไทยพัฒนาพันธุ์เพื่อการมองด้านข้าง (Sideview Ranchu)
– ประเทศญี่ปุ่นพัฒนาพันธุ์เพื่อการมองด้านบน (Topview Ranchu)

ความแตกต่างทางสรี ระ
– ลักษณะของโครงสร้างส่ วนหลังเมื่อมองจากด้านบน
– ส่ วนลาตัว-ช่วงลาตัวส่ วนกลาง, ช่วงลงโคนหางด้านท้าย
– ส่ วนท้าย-ลักษณะใบหาง, กกหาง
สิ งห์ญี่ปุ่น VS รันชู
สิ งห์ญี่ปุ่น VS รันชู
การเลือกซื้อปลา

สิ่ งที่ควรคานึงถึงเมื่อเลือกซื้อปลา
–
–
–
–
–
–
–
ปลาแข็งแรงไม่เป็ นโรค เช่น ไม่ซึมก้นอ่าง, ว่ายน้ าตลอดเวลา
ปลาไม่พิการ เช่น ไม่มีครี บทวาร, ครี บว่ายไม่ครบ, ตาบอด
ไม่อยูร่ ่ วมตูก้ บั ปลาป่ วย
ร้านค้าดูน่าเชื่อถือ
งบประมาณที่เหมาะสม
สถานที่พกั ปลาใหม่เมื่อนาเข้าบ้าน
ปลาใหม่เพิ่มง่าย อ่างใหม่เพิ่มยาก
ข้อพิจารณาในการนาปลาใหม่เข้าบ้าน




อุณหภูมิน้ า
– ปลาทองสามารถปรับตัวในน้ าที่มีอุณหภูมิต่างกันได้ ไม่เกิน 3 องศา
ค่า PH
– ปลาทองไม่สามารถปรับตัวในน้ าที่มีค่า PH ต่างกันมากได้ อาจเกิด
อาการที่เรี ยกว่า “น็อคน้ า”
ระยะเวลาในการเดินทาง
– หากระยะทางไกล ใช้เวลาเดินทางนาน จะมีผลต่อความสดชื่น และ
ความแข็งแรงของปลาหลังจากปรับสภาพน้ า
ระยะเวลาในการอดอาหารก่อนเดินทาง
ข้อพิจารณาในการนาปลาใหม่เข้าบ้าน

หากต้องขนย้ายในระยะเวลาที่นาน ควรอดอาหารอย่างน้อย 1-2 วัน เพื่อเป็ น
การลดปริ มาณของเสี ยที่อาจจะเกิดในระหว่างขนย้าย

สภาพปลาก่อน-หลังเดินทาง
– ควรตรวจดูสภาพปลา และสังเกตุความแข็งแรงของตัวปลาก่อนขนย้ายทุก
ครั้ง เนื่องจากหลังจากขนย้ายปลาจะมีสภาพอ่อนเพลีย ทาให้ป่วยได้ง่าย

ขนาดของถุง และน้ าในการขนย้าย
– ถุงควรมีขนาดใหญ่ และมีปริ มาณน้ าที่มากพอสาหรับการขนย้าย
การนาปลาใหม่เข้าบ้าน

การเตรี ยมน้ า

การปล่อยปลา

ข้อควรระวังก่อนการปล่อยปลา

สอบถามการเลี้ยงเบื้องต้นของปลาตัวนั้นเพื่อเป็ นข้อมูล
ในการดูแลต่อไป
ขั้นตอนการนาปลาใหม่เข้าบ้าน
1.
นาถุงมาล้างฝุ่ น และสิ่ งสกปรกด้านนอกออก
2.
นาไปแช่ในอ่างที่ตอ้ งการใช้เลี้ยงเพื่อปรับสภาพปลา
3.
แช่ในอ่างเพื่อปรับอุณหภูมิอย่างน้อย 15 นาที หรื อจนกว่าอุณหภูมิจะเท่ากัน
(ควรใช้เทอร์โมมิเตอร์เปรี ยบเทียบ)
4.
ตักน้ าจากอ่างพอประมาณเติมลงในถุงทุกๆ 10 นาที เพื่อเป็ นการปรับ
อุณหภูมิ และค่า PH ให้ใกล้เคียงกัน
ขั้นตอนการนาปลาใหม่เข้าบ้าน
5.
ปล่อยเฉพาะตัวปลาลงอ่างเลี้ยง โดยไม่นาน้ าในถุงเติมลงในอ่างเลี้ยง
6.
ควรงดการให้อาหารปลาอย่างน้อย 1 วัน เพื่อให้ปลาปรับสภาพ
7.
ควรงดการให้อาหารสดในช่วงสัปดาห์แรก เพื่อลดความเสี่ ยงในการติดโรค
ในช่วงที่ปลายังไม่แข็งแรงเพียงพอ และควรให้ในปริ มาณที่พอเหมาะ
8.
ควรมีวสั ดุบงั แสงช่วงกลางอ่างเลี้ยง เพื่อให้ปลาหลบ ลดอาการตื่นตกใจ
การเลี้ยง - กิจวัตรประจาวัน

การถ่ายน้ า

ระดับน้ าในการเลี้ยง

การให้อาหาร

การสังเกตุอาการของปลา

การเคลื่อนย้ายปลา แพ็คปลา
ข้อแนะนาในการเลี้ยง
1.
ปลาที่จะเลี้ยงรวมกันควรมีขนาดไล่เลี่ยกัน
2.
ปลาทุกตัวควรมีสุขภาพแข็งแรงในระดับใกล้เคียงกัน โดยสังเกตุจากสี เกล็ด
และการขับเมือกของตัวปลา
3.
ปริ มาณปลาต่ออ่างเลี้ยงควรน้อยกว่าปกติ
วิธีสงั เกตุปลาป่ วย

ลักษณะการเคลื่อนไหวของปลาที่เป็ นโรคจะผิดปกติ มีอาการเซื่ องซึ ม อาจว่าย
น้ าเสี ยดสี หรื อถูกบั ก้นบ่อว่ายมาออกันที่ผิวน้ า โดยเฉพาะปลาที่มีปรสิ ตเกาะ

ปลาที่เป็ นโรค ขณะว่ายน้ าจะไม่กางครี บออกครี บอาจจะกร่ อนแหว่งหายไป

เหงือกบวมแดงเห็นชัดเจน เนื่องจากหายใจไม่สะดวก พยายามเปิ ดปิ ดเหงือก
มากที่สุดเหงือกอาจบวมจนถึงกระดูกเหงือก

มีเลือกออกตามเกล็ด หรื อมีบาดแผลตามตัว
วิธีสงั เกตุปลาป่ วย

ปลาที่เป็ นโรคจะมีสีซีดกว่าปกติ

ปลาขับเมือกออกมามากผิดปกติ น้ ามีสีขาวขุ่นภาชนะที่ใช้เลี้ยงปลามีเมือก
จับเต็มไปหมด

เกล็ดพองลุกชัน ท้องโต ทั้ง ๆ ที่ปลาไม่มีไข่เรี ยกว่าอาการท้องน้ า

ปลาเสี ยการทรงตัวเกิดจากถุงลมผิดปกติ อาจว่ายน้ าหมุนควงหรื อว่ายน้ าแบบ
บังคับทิศทางไม่ได้
โรคหนอนสมอ (Anchor worms)
อาการ : หนอนสมอจะมีขนาดความยาว 0.6-1 เซนติเมตร หนอนสมอจะใช้ส่วนหัว
ฝังเข้าไปในตัวปลาและยืน่ ส่ วนหางออกมาทาให้เห็นเหมือนมีเส้นด้าย
เกาะติดอยูท่ ี่ตวั ปลา ถ้าดึงออก ส่ วนที่เป็ นสมอมักจะขาดติดอยูใ่ ต้ผวิ หนัง
ทาให้เกิดแผล เป็ นทางให้แบคทีเรี ยเข้าสู่ ตวั ปลาได้ ปลาที่พบหนอนสมอ
จะมีอาการซึ มไม่กินอาหาร ว่ายถูตวั กับขอบตูห้ รื อบ่อ และมีรอยแดงช้ า
เป็ นจ้ าตามตัว เนื่องจากปลาระคายเคืองเป็ นอย่างมาก จะเอาตัวถูขา้ งบ่อ
การรักษา : แช่ปลาในสารละลาย ดิพเทอเร็ กซ์ 0.25-0.5 กรัม ต่อน้ า 1,000 ลิตร
แช่ตลอดไป และแช่ซ้ าทุก 7 วัน รวมระยะเวลารักษา 4 ครั้ง
โรคหนอนสมอ (Anchor worms)
โรคเห็บ (Fish lice) Argulus sp.
อาการ : เห็บมีลกั ษณะกลมแบบคล้ายรู ปจาน ขนาดยาว 3 - 5 มิลลิเมตร มีขา 8 ขา
แต่ละขายังแยกเป็ นขาละ 2 คู่ ปลาที่มีเห็บเกาะอยูจ่ ะว่ายถูตวั กับข้างบ่อ
เพื่อให้เห็บหลุดเกล็ดปลาจะหลุดเป็ นแผล ซึ่ งทาความเสี ยหายมาก
เนื่องจากปรสิ ตนี้สามารถขยายพันธุ์เร็ ว
การรักษา : แช่ปลาที่มีเห็บในสารละลาย ดิพเทอเร็ กซ์ในอัตราส่ วน 0.25-0.5 กรัม
ต่อน้ า 1,000 ลิตร แช่ตลอดไปและแช่ซ้ าทุก 7 วันต่อครั้ง
รวมระยะเวลารักษา 4 ครั้ง หรื อเวลารักษา 1 เดือน
โรคเห็บ (Fish lice) Argulus sp.
โรคจุดขาวหรื ออิ๊ค (White spot "Ich")
อาการ : เกิดจากโปรโตซัวขนาดใหญ่ที่มีรูปร่ างเป็ นรู ปไข่ Ichthyophthirius multifilis โดยจะฝัง
อยูท่ ี่ผวิ และเหงือกของปลาปลาจะสร้างเซลล์ผวิ หนังชั้นนอกเพิม่ ขึ้นจนหุม้ ปรสิ ตหมด
ทาให้บริ เวณนั้นกลายเป็ นจุดขาว ๆ ระคายเคือง ผิวหนังมีอาการคันปรสิ ตจะขยายพันธุ์
เจริ ญเต็มที่ หลุดออกจากตัวปลา ว่ายน้ าเป็ นอิสระส่ วนหนึ่งจะสร้างเกราะหุม้ ตัวให้ตวั อ่อน
เมื่อสภาพเหมาะสมเกราะก็จะแตกออก ตัวอ่อนว่ายเข้าติดตัวปลาต่อไป ถ้าเกาะไม่ได้
ตัวอ่อนจะตายภายใน 4 วัน โรคจะลามภายใน 7-8 ชัว่ โมงเท่านั้น มักเกิดช่วงหน้าฝน
เมื่อปลากระทบน้ าฝนหรื อหนาวเย็นจัด ปลาจะมีอาการเซื่องซึม ครี บเปื่ อย
ไม่ค่อยเคลื่อนไหว และว่ายน้ าถูกบั ข้างบ่อ
การรักษา : ใช้มาลาไคท์กรี น 0.1-0.2 กรัม ต่อน้ า 1,000 ลิตร แช่ตลอดไป และแช่ซ้ า 2-3 ครั้ง
ห่างกันครั้งละ 5-7 วัน : มาลาไคท์กรี นร่ วมกับฟอร์มาลิน อัตรา 4 ซีซี กับ 1 ซีซี
ต่อน้ า 20 ลิตร
โรคจุดขาวหรื ออิ๊ค (White spot "Ich")
โรคเชื้อรา (Fungus)
อาการ : พบบริ เวณผิวหนัง ครี บ บริ เวณมีบาดแผล และในไข่ปลาที่ไม่ได้รับการ
ผสมลักษณะเป็ นเส้นใยอยูเ่ ป็ นกลุ่ม ปลาที่ได้รับเชื้อ Saprolegnia sp.
จะมีปุยขาวคล้ายปุยสาลีเกาะติดตามลาตัวที่ได้รับความบอบช้ า
หรื อมีบาดแผลตามตัว ราจะเข้าเกาะทันทีราเจริ ญที่อุณหภูมิ 25-28
องศาเซลเซี ยส และมีวงจรชีวิต 1-2 วัน เท่านั้น
การรักษา : แช่ปลาในน้ าที่ผสมเกลือ 3-5 กิโลกรัม ต่อน้ า 1,000 ลิตร นาน
ตลอดไป หรื อใช้มาลาไคท์กรี น0.1-0.2 กรัม ต่อน้ า 1,000 ลิตร หรื อ
2 ซี ซี ต่อน้ า 1 ลิตร แช่จนกว่าปลาจะหายป่ วย ซึ่ งอาจต้องแช่ซ้ า2-3 ครั้ง
โรคครี บและหางเปื่ อย
อาการ : ปลาจะมีอาการเซื่ องซึ มไม่ค่อยกินอาหารและมักจะว่ายน้ าสั่นกระตุก
เป็ นพัก ๆ ครี บและหางจะขาดแหว่งคล้ายถูกกัด บริ เวณปลายครี บและหาง
จะมีสีขาวขุ่นหรื อแดง และค่อย ๆ ลุกลามไปเรื่ อย ๆ จนครี บและหางของ
ปลาหดหายไป ซึ่ งจะทาให้ปลาตายในที่สุด โรคนี้เกิดจากปลาได้รับเชื้อ
โปรโตซัว และมีการติดเชื้อแบคทีเรี ยร่ วมด้วย
การรักษา : แช่ปลาป่ วยด้วยฟอร์ มาลิน 25 - 45 ซี ซี/ น้ า 1,000 ลิตร แช่ปลานาน 2 วัน
: ใช้ยาปฏิชีวนะจาพวกไนโตรฟูราโซน ในอัตราส่ วน 1-2 กรัม
ต่อน้ า 1,000ลิตรแช่ปลานาน 2-3 วัน
โรคเหงือกอักเสบหรื อเหงือกเน่า (Gill rot)
อาการ : เหงือกปลาจะบวมแดง เกิดการเน่าและแหว่งหายไป ปลาหายใจถี่ผดิ ปกติ
และขึ้นมาหายใจบนผิวน้ าเสมอ ๆ หรื อว่ายไปอยูท่ ี่ท่อออกซิ เจน
การรักษา : ควรเปลี่ยนถ่ายน้ าบ่อยขึ้น และให้ออกซิ เจน หรื อใช้ด่างทับทิม 3-4 กรัม
ต่อน้ า 1,000 ลิตรแช่ตลอดไป
โรคเหงือกอักเสบหรื อเหงือกเน่า (Gill rot)
โรคท้องบวม (Abdominal dropsy)
อาการ : เป็ นโรคที่ส่วนใหญ่เกิดจากแบคทีเรี ย ปลาจะมีอาการเซื่ องซึ ม
ไม่เคลื่อนไหว อออยูใ่ ต้ผวิ น้ าหรื อจมก้นบ่อ ปลาไม่ค่อยกินอาหาร
ในแบบเฉี ยบพลัน ส่ วนท้องจะบวมมากมีน้ าสี แดงออกมาจากช่องท้อง
และอาจเกิดเกล็ดตั้งขึ้น ส่ วนแบบเรื้ อรัง ผิวหนังของปลาจะเป็ นรอยช้ า
ตกเลือด
การรักษา : แช่ปลาในยาปฏิชีวนะออกซี่ เตตร้าซัยคลิน หรื อเตตร้าซัยคลิน
ในอัตราส่ วน 10-20 มิลลิกรัมต่อน้ า 1,000 ลิตร แช่นาน 2-3 วัน
จึงถ่ายน้ าใหม่แล้วแช่ยาซ้ าอีก
โรคท้องบวม (Abdominal dropsy)
โรคเสี ยการทรงตัว (Swim bladder disease)
อาการ : ปลาจะว่ายน้ าหมุนควงตีลงั กา เสี ยการทรงตัว ตกเลือดตามตัวและซอกเกล็ด
จะเกิดกับปลาตั้งแต่วยั อ่อนถึงตัวเต็มวัย ซึ่ งอาจเกิดจากความผิดปกติของ
ถุงลมระบบแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติ สาเหตุการเกิดโรคยังไม่แน่ชดั
การรักษา : ไม่พบวิธีการรักษาที่ได้ผล ส่ วนมากถ้าพบปลาป่ วย จะนาปลาไปเลี้ยง
ในที่แคบ ๆ เพิ่มอุณหภูมิ และความเค็ม โรคเสี ยการทรงตัว
บางครั้งไม่ได้ข้ ึนกับกระเพาะลมอย่างเดียวอาจเกิดจากการทางาน
ของระบบย่อยอาหาร ผิดปกติ ทาให้เกิดก๊าซมาก
ยาสามัญประจาบ้าน

เกลือ – อัตราการใส่ เพื่อรักษาโรค 3-5 กรัม ต่อน้ า 1 ลิตร

ยาต้านจุลชีพ (ประเภทยาแก้อกั เสบ)

ยากาจัดปรสิ ต

ยารักษาโรคเชื้อรา
ตัวอย่างยา
สูตรคานวณที่จาเป็ น
การคานวณปริมาตรนา้ ภายในภาชนะรู ปทรงสี่ เหลีย่ ม
ปริ มาตรน้ า (ลิตร) = กว้าง * ยาว * ลึก (หน่วยเป็ นเซนติเมตร) หารด้วย 1,000
ความกว้างและความยาวให้ยดึ ถือความกว้างและยาวของภาชนะที่ใช้บรรจุน้ า
ในการคานวณ ส่ วนความลึก ให้วดั จากระดับความลึกของน้ าเป็ นหลัก
การคานวณอัตราส่ วนในการใช้ ยาต่ อปริมาตรนา้
1 ppm. = ใส่ ยา 1 กรัม หรื อ 1 ซี .ซี . ต่อปริ มาตรน้ า 1,000 ลิตร (1 ตัน)
หมายเหตุ ppm. ย่อมาจาก Part Per Million (หนึ่งส่ วนในล้านส่ วน)
ตัวอย่ างวิธีการใช้ ยาและสารเคมี
ชื่อยา
ฟอร์มาลดีไฮด์
ดิพเทอร์เร็ กซ์
เกลือแกง
มาลาไคท์กรี น
เมททิลีนบลู
ด่างทับทิม
ยาปฎิชีวนะ
วิธีการ
ใส่ ในตูป้ ลา
เตรี ยมใส่ ภาชนะ
ใส่ ในตูป้ ลา
ใส่ ในตูป้ ลา
ใส่ ในตูป้ ลา
ใส่ ในตูป้ ลา
ใส่ ในตูป้ ลา
ผสมอาหาร
ใส่ ในตูป้ ลา
ความเข้มข้น
1-2 cc/100 l.
1-2 cc/10 l.
25-50 mg/100 l.
500 g/100 l.
10-15 mg/100 l.
100-200 mg/100 l.
200-300 mg/100 l.
50 mg/ปลา 1 kg.
250 mg/100 l.
เวลาที่ใช้
ทุก 3-5 วัน
แช่ 15-20 นาที
ตลอดไป
ตลอดไป
ตลอดไป
ตลอดไป
ตลอดไป
7-10 วัน
5-7 วัน
กฏทองสาหรับชาวรันชู
1.
อย่ าเหยียบขอบบ่ อ หรือนั่งบนขอบอ่างปลา
เป็ นการเสี ยมารยาทอย่างรุ นแรง สาหรับผูเ้ ลี้ยงรันชูที่เหยียบขอบบ่อ
หรื อนัง่ ขอบอ่าง ไม่วา่ จะเป็ นอ่างของผูข้ าย หรื ออ่างของผูเ้ ลี้ยงด้วยกันเอง
และไม่ควรที่จะสู บบุหรี่ ในบริ เวณอ่างเลี้ยง
กฏทองสาหรับชาวรันชู
2.
อย่ าจับปลารันชู ของผู้อนื่ โดยไม่ ได้ รับอนุญาต
หากเป็ นผูเ้ ลี้ยงที่มีประสบการณ์สักหน่อย ก็จะสามารถบอกโดยคร่ าวๆ
ได้วา่ หลัง และแกนหางของปลาแต่ละตัวเป็ นอย่างไร แม้จะมองจาก
ด้านบนโดยทัว่ ไปแล้วเมื่อต้องการจะดูปลารันชูของผูอ้ ื่นโดยละเอียด
ควรจะขออนุญาตก่อน หลังจากได้รับอนุญาตจากเจ้าของปลาจึงจับปลา
(แนะนาว่าให้เจ้าของปลาจับเองจะเหมาะที่สุดนะครับ)
กฏทองสาหรับชาวรันชู
3.
อย่ าเคาะขอบอ่าง,บ่ อเลีย้ ง หรือกะละมัง
บางคนเคาะขอบอ่างเพื่อจะดูการว่ายของปลารันชู และลักษณะของปลา
อย่างไรก็ตาม เมื่อปลารันชูตกใจและว่ายน้ า จะไม่แสดงอาการอย่างปกติ
เมื่ออยูใ่ นอ่างเลี้ยง เป็ นการไม่สุภาพอย่างยิง่ สาหรับการเคาะขอบอ่าง
หรื อกะละมัง (แม้แต่ในการประกวดนะครับ)
กฏทองสาหรับชาวรันชู
4.
อย่ าวิจารณ์ ปลารันชู ของผู้อนื่
ไม่ควรวิจารณ์ปลาของผูอ้ ื่น นอกเสี ยจากเจ้าของปลาจะขอให้วิจารณ์
เจ้าของปลามักจะรู้สึกดีเมื่อผูอ้ ื่นชื่นชมปลารันชูที่เขาเลี้ยงด้วยความตั้งใจ
ในทางตรงกันข้าม เมื่อผูอ้ ื่นชี้ถึงข้อบกพร่ องของปลา แม้วา่ จะเป็ น
ความจริ ง แต่กท็ าให้เจ้าของปลาเสี ยความรู ้สึกได้
(ข้อนี้คนไทยมักจะลืมนึกถึงกัน)
กฏทองสาหรับชาวรันชู
5.
อย่ าวิจารณ์ ชมรม หรือสมาคมรันชู อนื่
ในแต่ละชมรม หรื อ สมาคม ย่อมมีแนวทาง และนโยบายที่แตกต่างกัน
จึงไม่ควรวิจารณ์แนวทางการปฏิบตั ิงานของแต่ละชมรม
กฏทองสาหรับชาวรันชู
6.
กฏของการซื้อปลารันชู
สังคมของผูเ้ ลี้ยงปลารันชู เกิดขึ้นเพื่อเรี ยนรู ้การเลี้ยงปลาในรู ปแบบ
ของศิลปะญี่ปุ่น อย่าซื้ อปลาด้วยความต้องการที่ไม่สมเหตุสมผล
ควรจะคานึงถึงความสามารถในการเลี้ยงของตนเอง สภาพแวดล้อม
รวมถึงเทคนิคในการเลี้ยงปลาประกอบด้วย
กฏทองสาหรับชาวรันชู
7.
ชาระค่ าปลาทันทีเมื่อตกลงซื้อขาย
หากปลารันชูป่วยตายหลังจากตกลงซื้ อขาย การชาระเงินค่าปลา
ที่คา้ งไว้ยอ่ มเป็ นไปได้ยาก ต้องรักษาเครดิตในข้อตกลงไม่วา่ ปลาจะตาย
หรื อ ป่ วย ก่อนที่จะทาการชาระเงิน
กฏทองสาหรับชาวรันชู
8.
ไม่ ควรให้ -ขาย ปลารันชู ทซี่ ื้อ-ได้ รับมาให้ แก่
บุคคลทีส่ าม โดยไม่ ได้ บอกกล่าวต่ อเจ้ าของเดิม
บางคนคิดว่าเขาสามารถทาอะไรก็ได้กบั ปลารันชูที่อยูใ่ นการครอบครอง
แม้วา่ ปลาจะเป็ นของเขา แต่ในขณะเดียวกันก็เป็ นทรัพย์สินที่มีคุณค่า
ของสังคม การบอกกล่าวต่อเจ้าของคนก่อนนับเป็ นมารยาทที่ดีอย่างหนึ่ง
กฏทองสาหรับชาวรันชู
9.
อย่ าขอให้ ผู้อนื่ เลีย้ งปลารันชู ให้ แม้ ว่าจะเป็ นการชั่วคราว
เป็ นการง่ายที่จะขอ แต่ไม่ใช่งานง่ายๆเลยสาหรับผูท้ ี่ถกู ขอให้เลี้ยง แม้วา่ จะเป็ น
เพียงแค่ชวั่ คราวเท่านั้น หากไม่มีทางเลือกก็ตอ้ งยอมรับเงื่อนไขเหล่านี้


แม้วา่ ปลารันชูของคุณจะตาย หรื อ ป่ วย หรื อ ประสบอุบตั ิเหตุ
ในระหว่างที่ฝากผูอ้ ื่นเลี้ยง ผูท้ ี่รับฝากไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อปลาของคุณ
อย่าลืมที่จะหาของตอบแทนน้ าใจ ให้กบั ผูท้ ี่รับฝากปลารันชูของคุณ
กฏทองสาหรับชาวรันชู
10.
อย่ าขอให้ ผู้อนื่ ขายปลารันชู แทนคุณ
ปลารันชูมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในขณะที่เลี้ยง อย่าขอให้ผอู้ ื่นขาย
ปลารันชูที่คุณเป็ นเจ้าของ หากคุณขอให้ผอู้ ื่นระบายปลารั นชู
ถือเป็ นธรรมเนียมที่จะต้องให้ผขู ้ ายกาหนดราคา และค่านายหน้าเอง
Reference
Website
http://www.jinchu-kai.com
Golden Rules for the Ranchu Connoisseurs
แง่คิดในการอยูร่ ่ วมกัน
ขอบคุณครับ