คลิก - ศูนย์สุขภาพจิตที่ 11

Download Report

Transcript คลิก - ศูนย์สุขภาพจิตที่ 11

องค์ ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับ
“โรคซึมเศร้ า”
นพ.ธิติพนั ธ์ ธานีรัตน์
รองผู้อานวยการฝ่ ายวิจยั วิชาการ โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
Contents
1
บทนา : โรคซึมเศร้ า
2
อาการทางคลินิก สาเหตุ การดาเนินโรค
3
การจัดการดูแลรักษาโรคซึมเศร้ าและการฆ่ าตัวตาย
โรคซึมเศร้ า คือ อะไร???
• เป็ นอารมณ์เศร้าที่ผิดปกติ (4Ds)
– รบกวนจิตใจตนเอง (Distress)
– รบกวนผูอ้ ื่นและสังคม (Disturb)
– ก่อให้เกิดผลกระทบ ความเสี ยหาย หรื อเสี ยสมรรถภาพ (Disability)
ทั้งด้านการเรี ยน การทางาน หรื อทางสังคม
– เข้ากับเกณฑ์การวินิจฉัยในทางจิตเวช (Diagnosis)
โรคซึมเศร้ า คือ อะไร???
• โรคซึมเศร้า แบ่งออกเป็ น
– โรคซึมเศร้ารุ นแรง (Major Depressive Disorder: MDD)
• มีอาการรุ นแรง นานติดต่อกันตั้งแต่ 2 สัปดาห์ข้ ึนไป
– โรคซึมเศร้าเรื้ อรังไม่รุนแรง (Dysthymia)
• มีอาการไม่รุนแรงนัก แต่เป็ นนานติดต่อกันตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป
โดยมีช่วงเวลาที่อารมณ์ปกติไม่นานเกิน 2 เดือน
โรคซึมเศร้ า พบบ่ อย???
• เป็ นโรคที่พบได้ในบุคคลทุกเพศ ทุกวัยและทุกระดับเศรษฐานะ
• โรคซึมเศร้าในกลุ่มต่างๆ
– โอกาสเกิดโรคซึ มเศร้าในบุคคลทัว่ ไป : 15-20%
– เพศหญิง : เพศชาย = 2:1
– คนยากจนมีโอกาสป่ วยเป็ นโรคซึ มเศร้ามากกว่า
• โรคและปัญหาที่พบร่ วมด้วย
– โรควิตกกังวล (โรคเครี ยด)
– ปั ญหาพฤติกรรมก้าวร้าวรุ นแรง และการทาร้ายตนเอง
– การติดสารเสพติด การติดการพนัน/ติดเกมส์
ผลกระทบจากโรคซึมเศร้ า
• ผลกระทบต่อตนเอง
– การทาร้ายตนเอง และการฆ่าตัวตาย
– โรคติดเชื้อและโรคมะเร็ งบางชนิด
• ผลกระทบต่อสังคม
– ภาระในการดูแลผูป้ ่ วยโรคซึมเศร้า
– การสูญเสี ยทรัพยากรในหลายๆ ด้าน
โรคซึมเศร้ า
•
•
•
•
เป็ นการเจ็บป่ วย หรื อเป็ นโรค (Disease)
พบได้บ่อย และอาจร้ายแรงถึงขั้นเสี ยชีวติ ได้
จาเป็ นต้องให้การรักษา
เป็ นโรคที่รักษาได้
ลักษณะอาการของโรคซึมเศร้ า (MDD)
• ผู้ป่วยต้ องมีอาการ (อย่างน้ อย 5 อาการ
ใน 9 อาการ) ดังต่ อไปนี้
• เป็ นอยู่นานอย่างน้ อย 2 สั ปดาห์
• โดยต้ องมีอาการต่ อไปนี้
(อย่างน้ อยอย่ างใดอย่ างหนึ่ง)
1.
2.
อาการซึมเศร้ า หรือท้ อแท้ ตลอดเวลา
เกือบทั้งวัน เกือบทุกวัน
เบือ่ หน่ ายสนใจเรื่องต่ างๆลดลงอย่ าง
มากหรือแทบจะไม่ รู้สึกสนุกสนาน
เหมือนเดิม เกือบตลอดเวลา
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
เบื่ออาหารหรื ออยากรับประทานอาหารเพิ่มขึ้น
เกือบทุกวัน หรื อน้ าหนักตัวของคุณลดลงหรื อ
เพิ่มขึ้นโดยที่ไม่ต้งั ใจที่จะลดหรื อเพิ่ม (อย่างน้อย
5% ของน้ าหนักตัว)
ปัญหาการนอนหลับเกือบทุกคืน ( เช่น หลับยาก
ตื่นกลางดึก ตื่นเช้ากว่าปกติ หรื อนอนมากกว่า
ปกติ)
พูดช้าลงหรื อทาอะไรช้าลงกว่าปกติ หรื อ รู้สึก
หงุดหงิด กระสับกระส่าย หรื อนัง่ อยูน่ ิ่ งๆไม่ได้
เกือบทุกวัน
รู้สึกอ่อนเพลียหรื อไม่มีแรงเกือบทุกวัน
รู้สึกไม่มีค่าหรื อรู้สึกผิดเกือบทุกวัน
ไม่มีสมาธิหรื อตัดสิ นใจลาบากเกือบทุกวัน
คิดที่จะทาร้ายตัวเอง อยากฆ่าตัวตาย หรื อคิดอยาก
ตายซ้ าๆ
ลักษณะอาการของโรคซึมเศร้ า (MDD)
• ต้องไม่มีอาการที่เข้าได้กบั เกณฑ์การ • อาการดังกล่าว ไม่ได้เกิดจากผลทาง
สรี รวิทยาจากการใช้ยาหรื อสารเสพติด
วินิจฉัย Manic, Hypomanic หรื อ
หรื อเป็ นผลมาจากโรคหรื อภาวะผิดปกติ
Mixed episode (ใน Bipolar Disorders)
ทางร่ างกาย
• อาการที่มีตอ้ งรุ นแรงเพียงพอที่จะทา • อาการดังกล่าว ไม่สามารถอธิ บายได้จาก
การสูญเสี ยในภาวะปกติ (นอกจากมี
ให้เกิดความทุกข์หรื อความบกพร่ องใน
อาการคงอยูน่ านกว่า 2 เดือน หรื อมี
ชีวติ ประจาวัน ไม่วา่ จะเป็ นด้านสังคม
ความบกพร่ องในการทางานอย่างชัดเจน
การทางาน หรื อด้านอื่นๆ ที่สาคัญใน
หรื อมีความคิดไร้ค่าอย่างหมกมุ่น หรื อ
ชีวิต
ความคิดฆ่าตัวตาย หรื อมี Psychotic
symptoms หรื อมี Psychomotor
retardation)
โรคซึมเศร้ าในวัยรุ่น
• ส่ วนใหญ่ มีอาการเหมือนในผู้ใหญ่
• อาจมี “Masked Depression”
–
–
–
–
–
อารมณ์ ฉุนเฉียว
อาการทางร่ างกาย : ปวดท้ อง ปวดศีรษะ
หนีเรียน พฤติกรรมต่ อต้ าน เกเร อันธพาล
ใช้ สารเสพติด ดืม่ สุ รา
มีพฤติกรรมเสี่ ยงทางเพศ เทีย่ วกลางคืน
• Depressive Equivalencies / Depression Triads
โรคซึมเศร้ าในวัยรุ่น
• หงุดหงิดอารมณ์ เสี ยง่ าย
83%
– อาจดือ้ ดึง ถึงขั้นมีพฤติกรรมก้ าวร้ าว อาละวาด หรือไม่ เข้ าร่ วมกิจกรรมครอบครัว
• ซึม พูดน้ อย คิดช้ าพูดช้ า เหม่ อลอย แยกตัว
• อาการวิตกกังวล: ตื่นเต้ น ตกใจง่ าย ใจสั่ น
– บางรายมีอาการตื่นตระหนก (Panic attack) หรือยา้ คิดยา้ ทา
78%
59%
โรคซึมเศร้ าในผู้สูงอายุ
• พบ depression ในผูส้ ู งอายุ ในอัตราที่สูงกว่าประชากรโดยทัว่ ไป (สูงถึง 25-50%)
• สัมพันธ์กบั
– ระดับเศรษฐานะไม่ดี
– คู่สมรสเสี ยชีวติ
– โรคเรื้ อรังทางกาย
– ขาดสัมพันธภาพทางสังคม
• มักจะถูกละเลยเนื่องจากอาการมักจะเด่นเรื่ อง somatic complaints และ Agisms
อาจมีอิทธิ พลและทาให้แพทย์หลายรายเชื่อว่า depressive symptoms พบได้ใน
ผูส้ ู งอายุทวั่ ไป
สาเหตุของโรคซึมเศร้ า
สาเหตุของโรคซึมเศร้ า
Biological
Factors
(ปัจจัยทางชีวภาพ)
Psychosocial
Factors
(ปัจจัยทางจิตใจและสั งคม)
ปัจจัยทางชีวภาพ
• ปัจจัยทางพันธุกรรม
– หากพ่อหรือแม่ เป็ นโรคซึมเศร้ า โอกาสทีล่ ูกจะเป็ น
เท่ ากับ 10-25%
• ปัจจัยเกีย่ วกับระดับสารสื่ อประสาทและฮอร์ โมน
– Serotonin, Dopamine และ Nor-epinephrine
– ฮอร์ โมนไทรอยด์
• ปัจจัยโครงสร้ างทางสมอง
• ปัจจัยด้ านยา
หรือสารทีอ่ อกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ปัจจัยด้ านจิตใจ
• กลุ่มเสี่ ยง
– มีสัมพันธภาพทีไ่ ม่ ดกี บั บิดามารดา
– มีประสบการณ์ การสู ญเสี ยหรือ
การพลัดพราก (ก่ อนอายุ 11 ปี )
– ถูกทารุณหรือถูกทอดทิง้
– มีการเจ็บป่ วยรุนแรงหรือเรื้อรัง
– มีบุคลิกภาพแบบพึง่ พิงผู้อนื่
(Dependent)
– ไม่ มคี วามภาคภูมใิ จในตนเอง
– มีมโนธรรมสู ง
• การเปลีย่ นแปลงด้ านความคิด
เมื่อเป็ นโรคซึมเศร้ า
(Cognitive Triads)
– มองตนเองด้ านลบ (worthlessness)
– มองผู้อนื่ และสั งคมด้ านลบ
(helplessness)
– มองอนาคตด้ านลบ (hopelessness)
ปัจจัยด้ านสั งคม
• สภาพแวดล้อมหรือครอบครัวที่
– ยากจน
– ยุ่งเหยิง
– ห่ างเหิน
– แตกแยก
– ล้มเหลว
– ผิดหวัง
การดาเนินโรค
•
•
•
•
•
•
โรคซึมเศร้ า เป็ นโรคที่มอี าการเป็ นช่ วงๆ ที่ชัดเจน ช่ วงที่หายขาดมักจะไม่ มอี าการหลงเหลือ
อาการแต่ ละช่ วงจะคงอยู่นาน 6-13 เดือน (ระยะเวลาไม่ เกิน 3 เดือนหากได้ รับการรักษา)
การป่ วยครั้งแรกมักมีปัจจัยความเครียดในชีวติ มากระตุ้น แต่ การป่ วยครั้งหลังๆ อาจเกิดขึน้ เอง
ยิง่ เป็ นโรคนานเท่ าไร ยิง่ เป็ นถี่ขนึ้ และระยะเวลาในแต่ ละ episode ก็นานขึน้
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ า ร้ อยละ 75 มีอาการกาเริบซ้าภายใน 5 ปี
20% ของวัยรุ่นทีเ่ ป็ นโรคซึมเศร้ า จะกลายเป็ น Bipolar disorders ในวัยผู้ใหญ่
Suicide VS Depression
• พบว่ าผู้ป่วยจิตเวชมีความเสี่ ยงต่ อการฆ่ าตัวตายสู งถึง 3-12 เท่ าของประชากรทั่วไป
โดยกลุ่มทีม่ คี วามเสี่ ยงสู งทีส่ ุ ด ได้ แก่ Depressive disorders, Schizophrenia, and
Substance abuse
• 2 ใน 3 ของผู้ป่วย depression มี suicide ideation
และ 10-15% commit suicide
• พบการฆ่ าตัวตายในผู้ป่วยชาย มากกว่ าผู้ป่วยหญิง
• ส่ วนใหญ่ commit suicide ตั้งแต่ ช่วงเริ่มป่ วยใหม่ ๆ
และมักเป็ นในช่ วง onset หรือช่ วงสิ้นสุ ดของแต่ ละ episode
• สั มพันธ์ กบั การรักษาโรคซึมเศร้ าทีย่ งั ไม่ เหมาะสม
เครื่ องมือที่ใช้ในการประเมินโรคซึมเศร้า
• แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า ชนิด 2 คาถาม (2Q)
• แบบประเมินโรคซึมเศร้า ชนิด 9 คาถาม (9Q)
• แบบประเมินความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตาย ชนิด 8 คาถาม (8Q)
2Q
ใน 2 สั ปดาห์ ทผี่ ่านมา รวมวันนี้ ท่ านรู้ สึก
1. หดหู่ เศร้า หรื อท้อแท้ สิ้ นหวัง หรื อไม่
2. เบื่อ ทาอะไรก็ไม่เพลิดเพลิน หรื อไม่
ใช่
คัดกรองด้วย 2Q ก่อน หากมีอาการตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป
ถือว่ามีความเสี่ ยงต่อโรคซึ มเศร้า ให้ประเมินต่อด้วย 9Q
ไม่ ใช่
9Q
ในช่ วง 2 สัปดาห์ ทผี่ ่านมารวมทั้งวันนี้
ท่ านมีอาการเหล่ านีบ้ ่ อยแค่ ไหน
ไม่ มี
เลย
1. เบื่อ ไม่สนใจอยากทาอะไร
2. ไม่สบายใจ ซึมเศร้า ท้อแท้
3. หลับยาก หรื อหลับๆตื่นๆหรื อหลับมากไป
4. เหนื่อยง่าย หรื อ ไม่ค่อยมีแรง
5. เบื่ออาหาร หรื อ กินมากเกินไป
6. รู ้สึกไม่ดีกบั ตัวเอง คิดว่า ตัวเองล้มเหลวหรื อ
ทาให้ตนเองหรื อ ครอบครัวผิดหวัง
7. สมาธิไม่ดีเวลาทาอะไร เช่น ดูโทรทัศน์ ฟัง
วิทยุ หรื อทางานที่ตอ้ งใช้ความตั้งใจ
8. พูดช้า ทาอะไรช้าลงจนคนอื่นสังเกตเห็นได้
หรื อกระสับกระส่ายไม่สามารถอยูน่ ิ่งได้
เหมือนที่เคยเป็ น
9. คิดทาร้ายตนเอง หรื อคิดว่าถ้าตายไปคงจะดี
0
0
0
0
0
0
เป็ นบาง เป็ น
วัน
บ่ อย
1-7 วัน >7 วัน
1
2
1
2
1
2
1
2
1
2
1
2
เป็ นทุก
วัน
3
3
3
3
3
3
0
1
2
3
0
1
2
3
0
1
2
3
รวมคะแนน
• การประเมินด้วย 9Q ไม่สามารถใช้
วินิจฉัยโรคซึ มเศร้า (MDD) ได้โดยตรง
แต่สามารถระบุและบอกความรุ นแรงของ
Major depressive episode ของผูป้ ่ วยได้
–
–
–
–
9Q < 7
9Q = 7-12
9Q = 13-18
9Q > 19
No depression
Mild
Moderate
Severe
– ในกรณีที่ 9Q > 7 ให้ ประเมินความเสี่ ยง
ในการฆ่ าตัวตายด้ วย 8Q ด้ วยเสมอ
8Q
• ใช้สาหรับประเมินความเสี่ ยงในการฆ่าตัว
ตาย โดย
คาถาม
ไม่ มี
มี
1.ในเดือนที่ผา่ นมา คิดอยากตายหรื อคิดว่าตายไปจะดีกว่า
2. ในเดือนที่ผา่ นมา อยากทาร้ายตัวเองหรื อทาให้ตวั เอง
บาดเจ็บ
3. ในเดือนที่ผา่ นมา คิดเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย
(ถ้าตอบว่าใช่ ให้ถามต่อ)
ท่านสามารถควบคุมความอยากฆ่าตัวตายที่ท่านคิดอยู่
นั้นได้หรื อไม่ หรื อ บอกได้ไหมว่าคงจะไม่ทาตาม
ความคิดนั้น ในขณะนี้
4. ในเดือนที่ผา่ นมา มีแผนการที่จะฆ่าตัวตาย
5.ในเดือนที่ผา่ นมา ได้เตรี ยมการที่จะทาร้ายตนเองหรื อ
เตรี ยมการจะฆ่าตัวตาย โดยตั้งใจว่าจะให้ตายจริ งๆ
6. ในเดือนที่ผา่ นมา ได้ทาให้ตรเองบาดเจ็บ แต่ไม่ได้
ตั้งใจที่จะเสี ยชีวติ
7. ในเดือนที่ผา่ นมา ได้พยายามฆ่าตัวตาย โดยคาดหวัง/
ตั้งใจที่จะให้ตาย
8.ในชีวติ ทั้งหมดที่ผา่ นมา ท่านเคยพยายามฆ่าตัวตาย
0
0
1
2
0
6
ได้
0
ไม่ ได้
8
0
0
8
9
0
4
0
10
0
4
รวมคะแนน
คะแนน
1-8
9-16
> 17
แนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายในปั จจุบนั
น้อย
ปานกลาง
สูง
ซึ่ งจาเป็ นต้องมี Suicide precaution
สาหรับความเสี่ ยงในระดับต่างๆ
ที่แตกต่างกัน
การรักษาโรคซึมเศร้ า
• ประเมินความเสี่ ยงของการฆ่ าตัวตาย
• การรักษาโดยการใช้ ยา
– ยาต้ านเศร้ า (Antidepressants)
– ให้ ยานาน 9-12 เดือน ในกรณีทเี่ ป็ นครั้งแรก
– หากเป็ นมากกว่ า 1 ครั้ง จาเป็ นต้ องใช้ ยาต่ อเนื่องอย่ างน้ อย 5 ปี
• การทาจิตบาบัดหรือการให้ คาปรึกษาส่ วนบุคคล
• การทาจิตบาบัดหรือการให้ คาปรึกษาครอบครัว
การประเมินความเสี่ ยงของการฆ่ าตัวตาย
1. สถานที่
– สามารถป้องกันการฆ่ าตัวตายซ้า
– ตรวจยึดอาวุธหรือสิ่ งของอันตรายทีผ่ ้ปู ่ วยมี
– ระวังพฤติกรรมกระโดดหน้ าต่ าง หรือหัวโขกกาแพง
การประเมินความเสี่ ยงของการฆ่ าตัวตาย
2. การประเมิน
– ประเมินความเสี่ ยงหรืออันตรายจากภาวะทางกายก่อนเสมอ
– การสั งเกตอาการและอารมณ์ ของวัยรุ่น และผู้ปกครอง
– การซักถามและการฟัง ในสถานทีท่ ไี่ ม่ พลุกพล่าน เป็ นส่ วนตัว
•
•
Passive
Active
ให้ ผ้ ปู ่ วยเล่ าเหตุการณ์ ทกี่ ระตุ้นให้ กระทาอย่ างละเอียด
การฟังและร่ วมสอบถามหรือแสดงความเห็นใจ หรือ
สะท้ อนความรู้ สึกร่ วม
3. ให้ การวินิจฉัยเบือ้ งต้ นจากข้ อมูลทั้งหมด
การประเมินความเสี่ ยงของการฆ่ าตัวตาย
4. การให้ การช่ วยเหลือรักษาเบือ้ งต้ น
–
การช่ วยเหลือทีด่ ที สี่ ุ ด คือ
•
•
–
การซักถาม (ในสถานทีแ่ ละเวลาทีเ่ หมาะสม) เพือ่ กระตุ้นให้ ผู้ป่วยได้ ระบายความรู้สึก
การรับฟังอย่ างตั้งใจ แสดงความเห็นใจ แสดงความเข้ าใจอารมณ์ และพฤติกรรมของเขา
มากกว่ าการด่ วนตัดสิ น รีบแสดงความคิดเห็นหรือชี้แนะสิ่ งต่ างๆ
การช่ วยเหลือครอบครัวหรือคนใกล้ ชิดของผู้ป่วย
•
•
•
ให้ เข้ าใจสถานการณ์ และสภาพจิตใจของผู้ป่วย
ส่ งเสริมการสื่ อสารทีเ่ หมาะสมระหว่ างผู้ป่วยและครอบครัว
แนะนาการเฝ้ าระวังความเสี่ ยงในการทาร้ ายตนเองซ้าของผู้ป่วย
การประเมินความเสี่ ยงของการฆ่ าตัวตาย
5. ในกรณีที่มีการวินิจฉัยโรคทางจิตเวช ก็ให้ การรักษาโรคนั้นๆ ได้ ทันที
–
–
–
Normal psychological reaction
Adjustment disorder, with depression
Major depressive disorder (MDD)
6. ในกรณีทผี่ ู้ป่วยยังคงมีความเสี่ ยงต่ อการฆ่ าตัวตายสู งอยู่ ควรรับไว้ ใน
โรงพยาบาล ซึ่งมีการเฝ้ าระวังการฆ่ าตัวตายอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
7. การนัดดูแลรักษาต่ อ
–
ควรนัดไม่ เกิน 1 สั ปดาห์ และไม่ จ่ายยาปริมาณมากเมือ่ จาหน่ าย
www.depressclinic.com