12 - ayph.in.th

Download Report

Transcript 12 - ayph.in.th

ฮอร์โมนกับอารมณ์
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร
สถาบันนิ ติจติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
สานักงานศาลยุตธิ รรม
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
สาเหตุของอารมณ์แปรปรวน
1.พันธุกรรม
2.การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสมอง
3.การเปลี่ยนแปลงทางเคมีในสมอง
4.การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนมีผล
ต่ออารมณ์ ฮอร์โมน Estrogen Progesterone, Testosterone
และฮอร์โมนที่จาเป็ นอืน่ ๆอีกหลายตัวเมื่อมีการแปรปรวนจะมีผล
ต่ออารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ทง้ั สิ้น
5.การเปลี่ยนแปลงสิง่ แวดล้อม
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
สาเหตุของอารมณ์เศร้า
1. Intrapsychic model
Abraham
- Ambivalence
Introject ความโกรธ
- Primal depression
Denial
Freud
- Separation / Loss
Dp
Dp
Dp
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร
2. Negative cognition
Aron Beck (1967) Helpless Hopeless Worthless
3. Behavioral
- Learned Helplessness
- ไม่เคยได้รบั คาชม
4. Biological
- Imbalance ของ biogenic amine
- Neuroendocrine
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร
ปัจจัยเสีย่ งต่อภาวะซึมเศร้า
1. เพศ หญิง : ชาย = 2-3 : 1
2. อายุ 25-44 ปี
3. สถานภาพสมรส โสด : คู่ : หย่า = 4 : 1 : 2.5
4. เศรษฐานะ ยากจน > ฐานะดี
5. บุคลิก ขี้อาย 30.4% ย้าคิด 18.6% พึ่งพิง 15.7
6. พันธุกรรม
- ฝาแฝดไข่ใบเดียว 54% ไข่คนละใบ
24%
- บิดา หรือมารดา 27%
บิดาและมารดา 74%
7. เชื้อชาติ ไม่พบความแตกต่าง
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร
โรคทางกายที่มีภาวะซึมเศร้าร่วมด้วย
1. ธัยรอยด์ ทัง้ สูงและตา่
2. ยาเสพติด
3. การใช้ ยา สเตอรอยด์(Steroid) ขนาดสูง นานๆ
4. ภาวะซีด(Anemia)
5. โรคหัวใจ/หลอดเลือด เช่น เบาหวาน ความดัน โรคตับ
6. CVA สมองซ้าย 25-60% สมองซีกขวา 18%
7. มะเร็งขัว้ ตับอ่อน 30-40%
8. สมองเสือ่ ม ,เอดส์
นายแพทย์ ประยุกต์ เสรี เสถียร ศูนย์ สุขภาพจิตที่ 1
ความดันสูง
กล้ ามเนือ้ หัวใจขาดเลือด
ลมชัก
อัมพฤต อัมพาต
เบาหวาน
มะเร็ง
เอดส์
วัณโรค
29%
22%
30%
31%
27%
33%
44%
46%
ประชากรทั่วไป 10%
WHO, 2003, unpublished document
สาเหตุของอารมณ์ เศร้ าใน
1. อาการปวดที่ควบคุมไม่ ได้
2. การเผาผลาญในร่ างกาย:
- แคลเซี่ยมในเลือดสูง.
- โซเดียมกับโปแตสเซี่ยมไม่ สมดุล
- ภาวะซีด/มีไข้
- ขาดวิตามิน B12 /โฟเลท
--
นายแพทย์ ประยุกต์ เสรี เสถียร ศูนย์ สุขภาพจิตที่ 1
3. ความผิดปกติของฮอร์โมน:
- ธัยรอยด์สูงหรือตา่ .
- ความบกพร่องของต่อมหมวกไต.
4. ยา
- สเตอรอยด์
- ไซโตคินทัง้ ภายใน/ภายนอก เช่น interferon-alfa
aldesleukin (interleukin-2, IL-2)
- ยาลดความดันเลือด Methyldopa,Reserpine. Propranolol.
- ยากลุม่ Barbiturates.
- ยาต้านเชื้อรา เช่น amphotericin B
- เคมีรกั ษามะเร็ง เช่น procarbazine, L-asparaginase
นายแพทย์ ประยุกต์ เสรี เสถียร. ศูนย์ สุขภาพจิตที่ 1
5.มาตรฐานการตัดสินถูกผิดขึ้นกับความสามารถในการ
แยกผิดกับถูก(ทางความรู)้ ไม่ใช่ทาตามที่รูค้ วามถูกผิด
ได้หรือไม่
6. เยาวชนในสถานพินิจ 2/3ในชาย และ 3/4 ในหญิงมี
ความผิดปกติทางจิตอย่างน้อย 1 อย่าง เมื่อเทียบกับเยาวชนทัว่ ไป
ที่มีความผิดปกติแค่ 15%
7.นักโทษ 1 ใน 6 เป็ นผูป้ ่ วยจิตเวช ในราชทัณฑ์ทง้ั หมดมี
มากเป็ น 3 เท่าของผูป้ ่ วยจิตเวชในโรงพยาบาลและมาก
เป็ น 3 เท่าของประชากรทัว่ ไป
นายแพทย์ ประยุกต์ เสรี เสถียร ศูนย์ สุขภาพจิตที่ 1
ความสัมพันธ์ของฮอร์โมนกับอารมณ์แปรปรวน
1. ผลของฮอร์โมน ต่อการควบคุมอารมณ์ พฤติกรรมและการนอนหลับ
2. Estrogen และ Progesterone มีผลอย่างลึกซึ้งต่อระบบreceptorของ
Serotonin ,Nor-epinephrine, Dopamine, Endorphine ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับการควบคุมอารมณ์
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
บทบาทของฮอร์โมนเพศหญิงต่อเรื่องอารมณ์
1. บทบาทเชิงสาเหตุและวิธกี ารรักษา
2. ความชุกของโรคซึมเศร้าในหญิงทัว่ โลกสูงกว่าชายอย่างมาก
3. การมีหรือขาด Estrogen มีความสาคัญต่อการควบคุมและเป็ นพยาธิ
สภาพทางกายของอารมณ์ และพฤติกรรมของบุคคล
4. การศึกษาพบว่าผลกระทบหลายด้านจาก Estrogen มีปฏิสมั พันธ์อนั
ซับซ้อนกับสมองส่วนกลางและระบบฮอร์โมน
5. ข้อบ่งชี้มากมายว่า Estrogen มีบทบาทสาคัญในการก่อเกิดและดาเนิ น
ความผิดปกติทางอารมณ์ในหญิง
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
6. มีการใช้ Estrogen เพื่อรักษาอารมณ์ผิดปกติในสองกรณี
- เพื่อปรับและรักษาสมดุลที่สูญเสียไป
- ควบคุมภาวะจิตระหว่างช่วงที่ Estrogenลดลงและเพิ่มความเสีย่ งต่อ
อารมณ์ผิดปกติในหญิง
7. Estrogen เป็ นยาต้านเศร้าในหญิงวัยทอง(ร่างกายสร้างเอง) และยัง
เป็ นวิธีเสริมการรักษาแทน ยาต้านเศร้ากลุม่ SSRI
8. Estrogen ถูกใช้เป็ นกระบวนทัศน์ใหม่ในการรักษาภาวะซึมเศร้าที่ด้ อื
ต่อยาต้านเศร้าทัว่ ไป
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
1. Estrogen ช่วยลด อารมณ์เศร้า ชะลอการเกิดschizophrenia และ
อัลไซเมอร์
2. Estradiol มีผล
- เพิ่มการหลัง่ ฮอร์โมน gonadotrophin
- เพิ่มการแสดงออกของgene ที่ควบคุมตัวรับ 5-hydroxy
tryptamine (5-HT2A receptor ) และserotonin transporter
(SERT) ใน dorsal raphe nucleus
- เพิ่มความหนาแน่ น ของ 5-HT2A receptor และSERT ในสมอง
ส่วนหน้า(forebrain) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคิด อารมณ์ ความจาและ
สภาพจิตใจ
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
Estrogen , Serotonin และ อารมณ์แปรปรวน
1. ปฏิสมั พันธ์ระหว่าง Estrogen-Serotoninสัมพันธ์กบั การเพิม่ โอกาส
เสีย่ งต่อโรคอารมณ์แปรปรวนและเพิม่ วิธีรกั ษาด้วยฮอร์โมน
2. Estrogen แสดงผลต่ออารมณ์ผ่านช่องทางคือ serotonin- receptor
และ intracellular mechanism
3. เทคนิ คในการรักษาอารมณ์โดยใช้ Estrogen
- ใช้ฮอร์โมนขนานเดียว
- ใช้เป็ นกลยุทธ์แบบเสริมฤทธิ์
- ใช้เป็ นมาตรการในการป้ องกันการกลับเป็ นซ้าของโรคซึมเศร้า
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
Estrogen การควบคุมสารสือ่ ประสาท
1. ผลต่ออารมณ์ สภาวะจิต และความจา
2. ผ่านกลไก สารสือ่ ประสาทชนิ ด Monoamine และ Neuropeptide
3. ผลของ Estrogen ผ่านสือ่ ประสาทชนิ ด Monoamine
- เมื่อระดับของEstrogen ลดลงจะทาให้เกิดอารมณ์เศร้าในช่วงก่อนมี
รอบเดือน หลังคลอดและหลังหมดประจาเดือน
- Estrogen กระตุน้ ให้มี D2 receptor ใน striatum
- Estrogen กระตุน้ ให้เพิ่มความเข้มข้นของ 5-HT 2A receptor ใน
anterior frontal, cingulate, และ primary olfactory cortex ใน
nucleus accumbens, ซึ่งควบคุมอารมณ์ ความคิด สภาพจิตและ
ความจา
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
4. การทางานของ Estrogen ผ่าน Neuropeptide
- กระตุน้ ให้ยนี AVP(Arginine vasopressin) ใน Bed nucleus of
stria terminalis(BNST)
- ระบบ BNST-AVP ส่งเสริมและ/หรือ รักษาไว้ซ่งึ ความจาเกี่ยวกับ
ความจาทางสังคมและการได้กลิ่น
5. ฤทธิ์สาคัญ คือลดอารมณ์เศร้า ใช้เป็ นรูปแบบในการค้นคว้าฤทธ์ของ
Steroid ในการควบคุมสารสือ่ ประสาทส่วนกลาง และธรรมชาติท่เี ป็ น
สารปกป้ องจิตใจ(Psychoprotectant)
6. บทบาทของ 5-HT2A receptor อาจเกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้า จิตเภท
และ อัลไซเมอร์
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
ความสัมพันธ์ของฮอร์โมนเพศชายกับอารมณ์แปรปรวน
1. Castration ลดความหนาแน่ นของ 5-HT2A receptor
2. ผลของ Estrogen และ Testosterone
- เพิ่มความหนาแน่ นของ 5-HT 2A receptor ใน frontal, cingulate
และ primary olfactory cortex และnucleus accumbens.
- กระตุน้ การแสดงออกของ ยีน AVP ใน BNST
3. Testosterone ออกฤทธิ์ โดยการเปลี่ยนเป็ น Estradiol ก่อนโดยเอ็น
ไซน์ Aromatase
- ในสมองบางส่วนเช่น Caudate-putamens ขาดสาร Aromatase จึง
ทาให้ Estradiol เท่านั้นที่เพิ่ม 5-HT2A receptor(ส่วน Testosterone
และ 5 alpha-DHT ไม่มีฤทธิ์)
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว
นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิ ตจิ ติ เวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว