12.ภาวะซึมเศร้า

Download Report

Transcript 12.ภาวะซึมเศร้า

ศึกษาภาวะซึมเศร้ าของประชากรใน
ความรั บผิดชอบของศูนย์ สุขภาพชุมชนพันป
ผู้วจิ ัย
นสพ.ดวงนภา ศิริโสภณ
นสพ.นราวดี โฆษิตเภสัช
นสพ.ศุภางค์ เชวงเศรษฐกุล
บทนา
ในยุคทีป่ ระเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางภาวะ
เศรษฐกิจและสังคมเกิดขึ้นมากและรวดเร็วทั้งด้ าน
โครงสร้ างทางสังคม ความเป็ นอยู่ของประชากรรวมถึง
ลักษณะการดาเนินชีวติ ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป
มาก ส่ งผลกระทบต่ อภาวะความเจ็บป่ วย ปั ญหา
สุขภาพของประชาชน ซึง่ สาเหตุส่วนใหญ่ เป็ นผล
สืบเนื่องจากการบีบคั้นทางเศรษฐกิจ ทางจิตใจและ
ปั ญหาสิ่งแวดล้ อม
ภาวะซึมเศร้ าเป็ นโรคทางจิตเวชซึง่ พบได้ บ่อยมาก
ประมาณว่ าร้ อยละ 10 ของคนไทยเป็ นโรคนี้ องค์ การ
อนามัยโลกได้ ประเมินว่ าในระยะเวลาอีกประมาณ 20 ปี
ข้ างหน้ า ใน พ.ศ. 2560 ภาวะซึมเศร้ าจะพบบ่ อยเป็ น
อันดับที่ 2 รองจากโรคหัวใจขาดเลือด และจะเป็ น
ปั ญหาสาธารณสุขซึง่ มีความสาคัญอย่ างยิง่ ในทุกประเทศ
ทั่วโลกเหมือนกันหมด ( สมภพ เรื องตระกูล , 2543 )
คาถามหลัก
อาการของภาวะซึมเศร้ าในกลุ่มประชากร
ในอายุต่าง ๆ มีจานวนเท่ าไร
คาถามรอง
1.อาการของภาวะซึมเศร้ าในกลุ่มประชากร
ทีม่ ีสถานภาพสมรสแบบต่ าง ๆ มีจานวนเท่ าไร
2.อาการของภาวะซึมเศร้ าในกลุ่มประชากร
เพศหญิงและเพศชายมีจานวนเท่ าไร
3.อาการของภาวะซึมเศร้ าในกลุ่มประชากร
ทีม่ ีรายได้ เฉลี่ยต่ างกันมีจานวนเท่ าไร
4.กลุ่มประชากรทีใ่ ช้ สารเสพติดมีภาวะซึมเศร้ า
จานวนเท่ าไร
5.กลุ่มประชากรรู้จักบริการสุขภาพจิตมากน้ อยเพียงใด
6.กลุ่มประชากรเคยใช้ บริการสุขภาพจิตมากน้ อย
เพียงใด
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาลักษณะและระดับของปั ญหาภาวะซึมเศร้ าในกลุ่ม
ประชากรตัวอย่ างในชุมชนตามกลุ่มอายุต่าง ๆ
2.เพื่อศึกษาลักษณะและระดับของปั ญหาภาวะซึมเศร้ าในกลุ่ม
ประชากรตัวอย่ างในชุมชนตามสถานภาพสมรสแบบต่ าง ๆ
3.เพื่อศึกษาลักษณะและระดับของปั ญหาภาวะซึมเศร้ าในกลุ่ม
ประชากรตัวอย่ างในชุมชนแยกตามเพศ
4. เพื่อศึกษาลักษณะและระดับของปั ญหาภาวะซึมเศร้ าในกลุ่ม
ประชากรตัวอย่ างในชุมชนแยกตามรายได้ เฉลีย่ ต่ อเดือน
5.เพื่อศึกษาการเข้ าถึงบริการสุขภาพจิตของกลุ่มประชากร
ในชุมชน
ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ
1.ได้ ข้อมูลพื้นฐานทางระบาดวิทยา ความชุกของภาวะซึมเศร้ า
ในชุมชน
2.เป็ นข้ อมูลเบือ้ งต้ นเพื่อนาไปใช้ วางแผนดาเนินการส่ งเสริม
ป้องกัน ดูแลรั กษาและฟื้ นฟูทางสุขภาพจิตในชุมชน
3.เป็ นข้ อมูลเบื้องต้ นเพื่อใช้ ในการปรั บปรุ งการดาเนินนโยบาย
ส่ งเสริมสุขภาพจิตเชิงรุ กในชุมชนทีม่ ีปัญหาของภาวะซึมเศร้ า
4.เพื่อเป็ นแนวทางในการเป็ นฐานข้ อมูลในการใช้ อ้างอิงต่ อไป
นิยามศัพท์
1.ภาวะซึมเศร้ า หมายถึง ความผิดปกติของอารมณ์ ท่ี
แสดงออกในรูปซึมเศร้ า เบือ่ หน่ ายท้ อแท้ ร่ วมกับ
อาการอื่น ๆ เช่ น นอนไม่ หลับ น้าหนักลด ไม่ มีสมาธิ
พฤติกรรมเคลื่อนไหวผิดปกติ เป็ นต้ น ถ้ ารุ นแรงอาจมี
ความคิดหรือพฤติกรรมฆ่ าตัวตาย แบ่ งได้ หลายโรคตาม
เกณฑ์ ตามการวินิจฉัยมาตราฐานของ ICD – 10 หรือ
DSM - IV
2.สุขภาพจิต
องค์ การอนามัยโลก ( WORLD HEALTH ORGANIZATION
,1976 ) ได้ ให้ ความหมายสุขภาพจิตว่ า เป็ นความสามารถ
ของบุคคลทีจ่ ะปรั บตัวให้ มีความสุขอยู่กับสังคมและ
สิ่งแวดล้ อมได้ ดี มีสัมพันธภาพอันดีงามกับบุคคลอื่นและ
ดารงชีพอยู่ได้ ด้วยความสมดุลอย่ างสุขสบาย
รวมทั้งสนองความต้ องการของตนเองในโลกทีก่ าลัง
เปลี่ยนแปลงโดยไม่ มีข้อขัดแย้ งภายในจิตใจและมิได้
หมายความรวมเฉพาะ เพียงแต่ ปราศจากอาการของโรค
ประสาทและโรคจิตเท่ านั้น
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ฝน แสงสิงแก้ ว ( 2521 )ได้ ให้
นิยามสุขภาพจิตไว้ ว่า สุขภาพจิต คือ สภาพจิตทีเ่ ป็ น
สุข มีอารมณ์ ม่ันคง สามารถทีจ่ ะปรั บตัวให้ เหมาะสม
กับสภาพแวดล้ อม
3. บริการสุขภาพจิต หมายถึง การรั กษาและให้
คาปรึกษา การป้องกัน การส่ งเสริมและฟื้ นฟู
สุขภาพจิตของประชาชน โดยหน่ วยงานทางสาธารณสุข
ทบทวนวรรณกรรม
จากการค้ นคว้ าพบว่ า มีงานวิจัยทีผ่ ่ านมาเกี่ยวกับ
อาการของภาวะซึมเศร้ า หลายงานวิจัยดังนี้
ศูนย์ สุขภาพจิต เขต 9 กรมสุขภาพจิต กระทรวง
สาธารณสุข ( 2542 ) ทาการวิจัยเชิงสารวจภาวะสุขภาพจิต
ของคนไทยในระดับจังหวัด จากการศึกษาพบว่ า
ใน จ.พิษณุโลก จากการสุ่มตัวอย่ างประชากรจานวน
484 คน โดยใช้ แบบสัมภาษณ์ ทใ่ี ช้ ในการคัดกรองและ
วินิจฉัยโรคทางจิตเวช พบว่ า ประชากรมีภาวะซึมเศร้ า
12.81 % มีภาวะเสี่ยง 1.86 %
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ จัดทาสถิตโิ รค
ซึมเศร้ ารวมทั้งประเทศในช่ วงระหว่ าง ปี 2540 – 2544
พบว่ า
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
พ.ศ. 2540 =
พ.ศ. 2541 =
พ.ศ. 2542 =
พ.ศ. 2543 =
พ.ศ. 2544 =
33,995
45,727
61,405
80,673
59,133
คน
คน
คน
คน
คน
( 55.90 ต่ อแสนประชากร )
( 74.39 ต่ อแสนประชากร )
( 99.58 ต่ อแสนประชากร )
(130.37 ต่ อแสนประชากร )
( 94.90 ต่ อแสนประชากร )
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ สารวจจานวนและ
อัตราของผู้ป่วยภาวะซึมเศร้ าของประเทศไทยในเขต 9 พบว่ า
ปี
ปี
ปี
ปี
ปี
พ.ศ. 2540
พ.ศ. 2541
พ.ศ. 2542
พ.ศ. 2543
พ.ศ. 2544
=
=
=
=
=
721
1,167
923
1,147
1,492
คน ( 18 ต่ อแสนประชากร )
คน ( 29 ต่ อแสนประชากร )
คน ( 23 ต่ อแสนประชากร )
คน ( 29 ต่ อแสนประชากร )
คน ( 38 ต่ อแสนประชากร )
กรอบแนวคิด
แบบสอบถาม
สถานะภาพสมรส
อายุ
เพศ
รายได้ เฉลีย่ ต่ อเดือน
สารเสพติด
การเข้ าถึงบริ การสุขภาพจิต
จานวนประชากรทีม่ ีภาวะซึมเศร้ าในชุมชนพันปี
Study design :
Descriptive study ( case series )
Setting :
Pan – Pee community.
ข้ อพิจารณาทางจริยธรรม
เนื่องจากงานวิจัยนี้ใช้ วธิ ีเก็บข้ อมูลจาก
แบบสอบถามซึง่ มิได้ มีการระบุช่ือและทีอ่ ยู่ของผู้ตอบ
แบบสอบถาม จึงมิได้ เป็ นการเปิ ดเผยข้ อมูลต่ อ
สาธารณชนแต่ อย่ างใด
ระเบียบวิธีวิจัย
1.ประชากรและตัวอย่ างการวิจัย
กาหนดกลุ่มตัวอย่ างเป็ นประชากรในชุมชนพันปี
อายุต้ังแต่ 15 ปี ขึ้นไป
เหตุผลทีไ่ ม่ นับรวมประชากรทีอ่ ายุตา่ กว่ า 15 ปี
เนื่องจากภาวะซึมเศร้ าในเด็กจะแสดงออกในรูปแบบของ
พฤติกรรมเป็ นหลัก จึงไม่ สามารถใช้ แบบสอบถามซึง่ ใช้ ช้ี
วัดความผิดปกติทางด้ านอารมณ์ ได้ (เอกสารประกอบการ
สอนนิสิตแพทย์ ม.นเรศวร โดย อ.พญ.รุ่ งแสง กนกวุฒิ )
2.ขนาดตัวอย่ างและอานาจการ
ทดสอบ
สูตรทีใ่ ช้ ในการคานวณตัวอย่ าง
n = Z2/2 P ( 1 – P )
d2
n
= กลุ่มตัวอย่ างทีต่ ้ องการในแต่ ละชุมชน
 = 0.05 ดังนั้น Z/2 = 1.96
่ บในประชากร จ.พิษณุโลก
P
= ภาวะซึมเศร้ าทีพ
ซึง่ เท่ ากับ 0.1281
1 – P = 0.8719
d
= ค่ าความผิดพลาดจากค่ าทีแ่ ท้ จริง
แทนค่ า
n = ( 1.96 ) 2( 0.1281 ) ( 0.8719 )
( 0.05 )2
= 0.4290
0.0025
= 172
ดังนั้นต้ องใช้ ประชากรในชุมชนประมาณ 172 คน
3.การสังเกตและการวัด
ผู้วจิ ัย 3 คน
แบบสอบถามภาวะซึมเศร้ า
4.วิธีดาเนินการวิจัย
ทาการสารวจโดยใช้ แบบสอบถามกับประชากรใน
ชุมชนทีม่ ีคุณสมบัตติ รงตามทีก่ ารวิจัยได้ ต้ังไว้
5.เครื่ องมือทีใ่ ช้
แบบสอบถามสุขภาพจิต
คาชี้แจง : แบบสอบถามนี้ ประกอบด้ วย 3 ส่ วน ส่ วนแรก
เป็ นข้ อมูลส่ วนตัวของท่ านโดยสังเขป ในส่ วนทีส่ องเป็ นการ
สอบถามเกี่ยวกับภาวะสุขภาพจิตและในส่ วนทีส่ ามเป็ นการ
สอบถามถึงการเข้ าถึงบริการสุขภาพจิต
หมายเหตุ : ข้ อมูลต่ าง ๆ ทีท่ ่ านตอบ จะไม่ มีผลใด ๆ ต่ อ
ท่ าน คนในครอบครั วและชุมชน แต่ จะเป็ นข้ อมูลพื้นฐานใน
การทาวิจัยชุมชน เพื่อประเมินระดับปั ญหาสุขภาพจิตใน
ชุมชนและดาเนินการแก้ ไขในโอกาสต่ อไป
วันทีเ่ ก็บข้ อมูล………………………………………
ศูนย์ สุขภาพชุมชนพันปี
ส่ วนที่ 1 : ข้ อมูลส่ วนตัว
1. เพศ ( ) ชาย
2. อายุ ( ) 15 - 25 ปี
( ) 36 – 45 ปี
( ) 56 – 65 ปี
(
(
(
(
)
)
)
)
หญิง
26 – 35 ปี
46 – 55 ปี
66 ปี ขึ้นไป
3. สถานภาพสมรส
( ) โสด
( ) คู่
( ) ม่ าย
( ) หย่ า ( ตามกฎหมาย )
( ) แยกกันอยู่
4. รายได้ เฉลีย่ ต่ อเดือน
( ) 1,000-3,000 บาท ( ) 3,001-5,000 บาท
( ) 5,001-7,000 บาท ( ) 7,001-9,000 บาท
( ) 9,001 บาทขึน้ ไป ( ) ไม่ มีรายได้
5. ในช่ วง 1 เดือนทีผ่ ่ านมา ท่ านเคยใช้ สารเสพติดหรือไม่
( ) ไม่ เคย
( ) เคย
ถ้ าเคยระบุสารเสพติดทีเ่ คยเสพ ( ตอบได้ มากกว่ า 1 ข้ อ)
( ) กัญชา
( ) เฮโรอีน / ผงขาว
( ) ฝิ่ น
( ) ยาบ้ า / ยาม้ า / ยาขยัน / ยาอี
( ) ใบกระท่ อม
( ) กาว / ทินเนอร์ / เบนซิน / สารระเหย
( ) โคเคน
ส่ วนที่ 2 : ข้ อมูลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพจิต
ในช่ วง 2 สัปดาห์ ทผ่ี ่ านมาท่ านรู้สึกหรือมีอาการอย่ างนี้มากเกือบทุกวัน
หรือไม่ ( ซึง่ ผิดไปจากปกติวิสัย )
-รู้สึกหดหู่ใจ ไม่ มีความสุขและเศร้ าหมองเกือบทุกวัน ( ) มี ( ) ไม่ มี
-เบื่อหน่ าย ท้ อแท้ ไม่ อยากพบปะผู้คนเกือบทุกวัน
( ) มี ( ) ไม่ มี
-เบื่ออาหารอย่ างมาก
( ) มี ( ) ไม่ มี
-นอนไม่ หลับเพราะคิดมาก กังวลใจหรือตืน่ บ่ อยๆ
( ) มี ( ) ไม่ มี
-วุ่นวายใจ หรือรู้สึกเหนื่อยหน่ ายไม่ อยากทาอะไร
( ) มี ( ) ไม่ มี
-รู้สึกอ่ อนเพลีย จนไม่ มีแรงทาอะไร
( ) มี ( ) ไม่ มี
-รู้สึกหมดหวังในชีวิต ตนเองไม่ มีคุณค่ า
( ) มี ( ) ไม่ มี
-รู้สึกตนเองไม่ มีสมาธิ ตัดสินใจในเรื่องต่ าง ๆ ไม่ ได้
( ) มี ( ) ไม่ มี
-มีความคิดเกี่ยวกับความตายหรือรู้สึกอยากตายบ่ อย ๆ ( ) มี ( ) ไม่ มี
ส่ วนที่ 3 : การเข้ าถึงบริการสุขภาพจิต
1.ท่ านรู้จักบริการสุขภาพจิตเหล่ านี้หรือไม่
-บริการให้ คาปรึกษาในสถานบริการของรั ฐ / เอกชน ( ) รู้จัก ( )ไม่ ร้ ูจัก
-บริการให้ คาปรึกษาทางโทรศัพท์
( ) รู้จัก ( )ไม่
รู้จัก
-บริการคลายเครียด / คลินิกคลายเครียด
( ) รู้จัก ( )ไม่ ร้ ูจัก
-บริการโทรศัพท์ อัตโนมัติ 1667
( ) รู้จัก ( )ไม่
รู้จัก
2.ท่ านเคยใช้ บริการสุขภาพจิตเหล่ านี้หรือไม่
-รั บการตรวจ / รั กษาใน รพ. / คลินิก
( ) เคยใช้ ( )ไม่ เคยใช
-บริการให้ คาปรึกษาในสถานบริการของรั ฐ / เอกชน ( ) เคยใช้ ( )ไม่ เคยใช้
-บริการให้ คาปรึกษาทางโทรศัพท์
( ) เคยใช้ ( )ไม่ เคยใช
-บริการคลายเครียด / คลินิกคลายเครียด
( ) เคยใช้ ( )ไม่ เคยใช
-บริการโทรศัพท์ อัตโนมัติ 1667
( ) เคยใช้ ( )ไม่ เคยใ
ตามเกณฑ์ การวินิจฉัยของ DSM – IV เป็ นดังนี้
1. ถ้ าตอบ DE1 หรือ DE2 และข้ ออื่น ๆ ตั้งแต่ 3 ข้ อขึ้นไป
หมายถึงมีภาวะซึมเศร้ า
2. ถ้ าตอบ DE1 หรือ DE 2 และข้ ออื่น ๆ อีก 2 ข้ อ หมายถึง
มีความเสี่ยงต่ อภาวะซึมเศร้ า
3. ถ้ าไม่ ตอบ DE1 และ DE2 หมายถึง ไม่ มีภาวะซึมเศร้ า
4. อื่น ๆ หมายถึง ไม่ มีภาวะซึมเศร้ า
ข้ อจากัดของการวิจัยและวิธีการแก้ ไข
ประชากรตัวอย่ างทีต่ อบแบบสอบถามอาจตอบไม่
ตรงกับความเป็ นจริง เพราะเป็ นแบบสอบถามทีเ่ กี่ยวกับ
ภาวะทางจิต ผู้ตอบแบบสอบถามอาจกังวลถึงผลสรุ ป
ของแบบสอบถามนั้น วิธีการแก้ ไขคือ ต้ องมีการชี้แจง
ว่ าจะไม่ มีการเปิ ดเผยข้ อมูลทีจ่ ะระบุถงึ ตัวผู้ตอบ
แบบสอบถามได้ และผลของการตอบแบบสอบถามตาม
ความเป็ นจริงจะเป็ นประโยชน์ ต่อการให้ บริการ
สุขภาพจิตในชุมชนนั้น ซึง่ จะทาให้ ผ้ ูตอบแบบสอบถาม
ได้ รับประโยชน์ น้ันด้ วย
แผนภูมแิ สดงกลุ่มประชากรชุมชนพันป
กับการเกิดภาวะซึมเศร้ า
เป็ น
12%
ไม่เป็ น
เสี่ยง
5%
ไม่เป็ น
เสี่ยง
83%
เป็ น
ตารางวิเคราะห์ ข้อมูล
ตารางที่ 1 : แสดงกลุ่มประชากรในชุ มชนพันปี แยกตามช่ วงอายุ
ต่ าง ๆ กับการเกิดภาวะซึมเศร้ า
ช่ วงอายุ ( ป )
ภาวะซึมเศร้ า
ไม่ เป็ น,คน(%) เส่ ยง,คน(%) เป็ น,คน(%) รวม,คน(%)
15 – 25
19(100.00)
0
0 19(100.00)
26 – 35
28(80.00)
3(8.57)
4(11.42) 35(100.00)
36 – 45
31(77.50)
4(10.00)
5(12.50) 2(100.00)
46 – 55
29(74.35)
1(2.56)
9(23.07) 39(100.00)
56 – 65
20(91.30)
0
2(8.69) 23(100.00)
66 ปขึ้นไป
22(84.61)
2(7.69)
2(7.69) 26(100.00)
กราฟแท่ งแสดงกลุ่มประชากรในชุมชนพันปแยกตามช่วงอายุกับการเกิดภาวะซึม
เศร้ า
100 100
91.3 84.61
80 77.5 74.35
80
60
จำนวนประชำกร ( % ) 40
23.07
20
11.42
57 1102.5 .56 8.69 7.7.69
69
.
8
0
0
2
0
0
ไม่เป็ น
15 – 25 26 – 35 36 – 45 46 – 55 56 – 65 >=66
เสี่ยง
เป็ น
ช่วงอำยุ ( ปี )
ตารางที่ 2 : แสดงกลุ่มประชากรในชุ มชนพันปี แยกตามเพศ
กับการเกิดภาวะซึมเศร้ า
เพศ
ภาวะซึมเศร้ า
ไม่ เป็ น
เส่ ยง
เป็ น
คน (%)
ชาย
หญิง
56(84.84)
94(81.03)
คน (%)
คน (%)
รวม
คน (%)
3(4.54) 7(10.60) 66(100.00)
7(6.03) 15(12.93) 116(100.00)
กราฟแท่ งแสดงกลุ่มประชากรในชุมชนพันปแยกตามเพศกับการเกิดภาวะ
ซึมเศร้ า
100
จำนวนประชำกร
(%)
84.84 81.03
50
4.54 6.03
0
ไม่เป็ น
เสีย่ ง
ภำวะซึมเศร้ ำ
10.6 12.93
เป็ น
ชำย
หญิง
ตารางที่ 3 : แสดงกลุ่มประชากรในชุ มชนพันปี แยกตาม
สถานภาพสมรสแบบต่ าง ๆ กับการเกิดภาวะ
ซึมเศร้ า
สถานภาพสมรส
โสด
คู่
หม้ าย
หย่ าร้ าง
แยกกันอยู่
ภาวะซึมเศร้ า
ไม่ เป็ น
เส่ยง
เป็ น
รวม
20(100.00)
0
0 20(100.00)
105(78.94) 9(6.76) 19(14.28) 133(100.00)
14(87.50) 1(6.25) 1(6.25) 16(100.00)
5(100.00)
0
0 5(100.00)
6(75.00)
0 2(25.00) 8(100.00)
กราฟแท่งแสดงกลุ่มประชากรในชุมชนพันปแยกตามสถานภาพสมรสกับการเกิดภาวะ
ซึมเศร้ า
100
จำนวนประชำกร ( %)
ไม่เป็ น คน (%)
เสี่ยง คน (%)
เป็ น คน (%)
100
87.5
75
57.69
50
0
100
00
โสด
6.76 14.28
คู่
25
6.256.25
00
0
ม่ำย หย่ำร้ ำง แยกกันอยู่
สถำนภำพสมรส
ตารางที่ 4 : แสดงกลุ่มประชากรในชุ มชนพันปี แยกตาม
รายได้ เฉลีย่ ต่ อเดือนกับการเกิดภาวะซึมเศร้ า
รายได้ /เดือน
ภาวะซึมเศร้ า
ไม่ เป็ น
ไม่ มรายได้
เส่ยง
เป็ น
รวม
53(84.12)
3(4.76)
7(11.11) 63(100.00)
1,000-3,000 28(82.35)
1(2.94)
5(14.70) 34(100.00)
3,001-5,000 27(75.00)
3(8.33)
6(16.66) 36(100.00)
5,001-7,000 13(100.00)
0
0 13(100.00)
6(85.71)
1(14.28)
0 7(100.00)
9,000 ขึ้นไป 24(82.75)
2(6.89)
3(10.34) 29(100.00)
7,001-9,000
เป็ น %
รำยไดเฉลี
้ ย่ / เดือน
9,000 ขึ้นไป
7,001 - 9,000
5,001 – 7,000
เสี่ยง %
3,001 – 5,000
ไม่เป็ น %
1,000 – 3,000
100
80
จำนวนประชำกร ( 60
%)
40
20
0
ไม่มีรำยได้
กราฟแท่งแสดงกลุ่มประชากรในชุมชนพันปแยกตามรายได้ / เดือนกับการเกิดภาวะซึมเศร้ า
ตารางที่ 5 : แสดงกลุ่มประชากรทีเ่ คยใช้ และไม่ เคยใช้ สารเสพติดในชุม
ชนพันปี กับการมีภาวะซึมเศร้ า
การใช้ สารเสพติด
เคย
ไม่ เคย
ภาวะซึมเศร้ า
ไม่ เป็ น
เส่ยง
เป็ น
รวม
คน,(%) คน,(%) คน,(%) คน,(%)
1(50.00)
0 1(50.00) 2(100.00)
149(82.77) 10(5.55) 21(11.66)180(100.00)
กราฟแท่ งแสดงกลุ่มประชากรในชุมชนพันปแยกตามการเคยและไม่ เคยใช้ สารเสพติดกับการเกิดภาวะซึมเศร้ า
100
จำนวนประชำกร ( 50
82.77
50
50
%)
เคย
ไม่เคย
0
0
ไม่เป็น (%)
5.55
เสยี่ ง ( % )
ภำวะซึมเศรำ้
11.66
เป็น ( % )
ตารางที่ 6 : แสดงกลุ่มประชากรในชุ มชนพันปี กับการรับทราบ
บริการสุ ขภาพจิตแบบต่ าง ๆ
การรั บทราบบริ การทางสุขภาพจิต
บริ การสุขภาพจิต
ไม่ เป็ น,คน(%) เส่ยง,คน(%) เป็ น,คน(%)
บริ การให้คาปรึ กษาในสถานบริ การของรั ฐ / เอกชน
75(50.00)
6(60.00)
7(31.81)
บริ การให้คาปรึ กษาทางโทรศัพท์
38(25.33)
1(10.00)
7(31.81)
บริ การคลายเครยด / คลินิกคลาย เครยด
38(25.33)
0
7(31.81)
บริ การโทรศัพท์อตั โนมัติ 1667
25(16.66)
0
5(22.72)
ตารางที่ 7 : แสดงกลุ่มประชากรในชุ มชนพันปี ทีก่ ารเคยรับบริการ
สุ ขภาพจิต แบบต่ าง ๆ
บริ การสุขภาพจิต
ไม่ เป็ น,คน(%)
บริ การรั บการตรวจ/รั กษาใน รพ./คลินิก
4(2.67)
บริ การให้คาปรึ กษาในสถานบริ การของรั ฐ / เอกชน
3(2.00)
บริ การให้คาปรึ กษาทางโทรศัพท์
0
บริ การคลายเครยด / คลินิกคลายเครยด
2(1.33)
บริ การโทรศัพท์อตั โนมัติ 1667
1(0.67)
เคยรั บบริ การ
เส่ยง,คน(%) เป็ น,คน(%)
0
1(4.55)
0
1(4.55)
0
0
0
0
0
0
ข้ อเสนอแนะ
ปัญหาในเรื่ องสุขภาพจิตของประชากรซึ่งปัจจบุ ันสาเหตุหลักที่
ทาให้ เกิดปัญหานี้จากผลการวิจัยเชิงสารวจพบว่ าเป็ นเรื่ องของ อายุ เพศ
สถานภาพสมรส เศรษฐกิจการเงิน การใช้ สารเสพติด เป็ นเรื่ องที่มี
ผลกระทบต่ อสุขภาพจิตโดยรวมของประชากรมากทีส่ ุ ด ในเบื้องต้ นบาง
คนก็สามารถจัดการแก้ ไขปัญหาด้ วยตนเองให้ ลลุ ่ วงไปได้ บางส่ วนก็ไม่
สามารถจัดการได้ ทาให้ สุขภาพจิตของคนเหล่ านั้นเริ่ มมีปัญหา เกิด
ปัญหาด้ านครอบครั ว และปัญหาสังคมตามมา โดยหน่ วยงานต่ างๆได้
จัดให้ มีบริ การสุขภาพจิตในหลายรูปแบบ แต่ จากผลการวิจยั เชิงสารวจ
นี้พบว่ าจานวนประชากรทีร่ ้ ูจกั บริ การต่ างๆมีน้อยมาก
ดังนั้นจึงควรมีการประชาสัมพันธ์ เชิงรุกให้ มากขึน้
นอกเหนือจากการใช้ สื่อต่ างๆแล้ วควรเข้ าถึงชุมชนต่ างๆเพือ่ ให้
เข้ าถึงกล่ มุ เป้ าหมายทีม่ ีปัญหาเพือ่ สร้ างความเข้ าใจ และเห็น
คณ
ุ ประโยชน์ ของงานบริ การต่ างๆทีม่ ีอย่ ู เพราะปัจจบุ ัน
ประชาชนส่ วนใหญ่ ไม่ ทราบหรื อบางส่ วนทราบ แต่ ไม่ ได้ เข้ า
ไปใช้ บริ การเพราะไม่ แน่ ใจว่ าหน่ วยงานหรื อบริ การต่ างๆจะ
ช่ วยเหลือตนเองได้ มากน้ อยเพียงใด