Transcript Present 57

สถาบันเพือ่ การยุตธิ รรมแห่ งประเทศไทย
สั มนามิติใหม่ ของการจัดการเรื่องเหยือ่ อาชญากรรม
วั น อั ง คารที่ 29 กรกฎาคม 2557
ณ โรงแรมรามาการ์ เด้ น ส์ กรุ ง เทพ ฯ
วิชาเหยือ่ วิทยา (Victimology)
ภาพทัว่ ไปของวิชาการเหยือ่ วิทยา (Overview)
ทฤษฎีเหยือ่ วิทยา
ผลกระทบที่มีต่อเหยือ่ อาชญากรรม (Impact)
การได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิ ของเหยือ่ (Protection)
แนวทางช่วยเหลือเหยือ่ อาชญากรรม (Assistance)
วิชาเหยือ่ วิทยา (ขอบเขตด้ านกฎหมาย)
 กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ
 มาตรฐานการปฏิบตั ิ
 แนวทางปฏิบตั ิ
 วิธีปฏิบตั ิที่ดี
 ธรรมาภิบาล
 ความปลอดภัยในชุมชน
ขอบเขตการศึกษา
 ผูต้ กเป็ นเยือ่ โดยทัว่ ไป
-ความหมายอย่างกว้างเหยือ่ ทุกประเภท ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ ภัยพิบตั ิ
เกิดจากมนุษย์ การก่อการร้าย สงคราม ฯลฯ
-ความหมายอย่างแคบ ผูป้ ระสบภัยพิบตั ิที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ
 ผูต้ กเป็ นเหยือ่ อาชญากรรม
-กฎหมายเกี่ยวกับคุม้ ครองสิ ทธิของเหยือ่ อาชญากรรม
-กฎหมายให้ความช่วยเหลือเหยือ่ อาชญาการรม
ขอบเขตการศึกษา
ที่มาของการตกเป็ นเหยือ่ อาชญากรรม
(Victimogenesis)
 เหตุใดบุคคลจึงตกเป็ นเหยือ่ อาชญากรรม
 ทฤษฎีที่อธิ บายการตกเป็ นเหยือ่ อาชญากรรม
 รายงานการศึกษาวิจยั
ขอบเขตการศึกษา
รายงานการศึกษาวิจยั ของนักวิชาการที่สาคัญ
 ฮานส์ ฟอน เฮนติก (Von Hentig)
 เบนจามิน เมนเดลซอห์น (Mendelssohn)
 สตีเฟ่ น เช็ฟเฟอร์ (Schafer)
 มาร์ วิน อี โวลฟ์ แกง (Wolfgang)
 เมนาเคม อามีร์ (Amir)
 และนักวิชาการอื่น ๆ
ขอบเขตการศึกษา
 การกระทาความผิดทางอาญา
 การนิ ยามความผิดตามกฎหมาย
 รู ปแบบใหม่ หรื อมิติใหม่ในการปฏิบตั ิต่อเหยือ่ อาชญากรรม (New
Paradigm)
 มีคาพิพากษาของศาล (Judgment)
 ไม่มีคาพิพากษาของศาล (Non Judgment)
 การปฏิสมั พันธ์ระเหว่างบุคคล (Human Interaction)
ขอบเขตการปฏิบัติ การให้ ความช่ วยเหลือ
 การแก้ไขวิกฤติ (Crisis Intervention)
 การให้ความช่วยเหลือบรรเทาผลร้าย (Relief)
 การดูแลทางด้านร่ างกาย (Physical)
 การดูแลทางด้านจิตใจ (Psychological)
 การดูแลทางด้านอารมณ์ (Emotion)
 การบัดทางกายและทางจิต (Therapy)
ขอบเขตการศึกษา
 การรักษาและฟื้ นฟูเหยือ่ อาชญากรรม (Victim Recovery)
 เน้นการตรวจรักษา ( diagnosis aspect) มากกว่าการทาให้
เหยือ่ กลับคืนสู่ สภาพเดิม หรื อใกล้เคียงเท่าที่จะทาได้
(function as normal person)
ขอบเขตการศึกษา
 การประนอมข้อพิพาท ระหว่างเหยือ่ กับผูก้ ระทาความผิด
(Victim and Offender Mediation)
 กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice)
 กระบวนการเจรจา- ไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท (Negotiation
and Reconciliation)
 การชดใช้และการเยียวยาความเสี ยหาย (Reparation)
กฎหมายที่เกีย่ วข้ อง-กฎหมายระหว่ างประเทศ
สิ ทธิของเหยือ่ ถือว่ าเป็ นสิ ทธิมนุษยชนอย่ างหนึ่ง
 ปฏิญญาว่าด้วยหลักการพื้นฐานความยุติธรรมสาหรับเหยือ่
อาชญากรรมและการใช้อานาจโดยมิชอบ ค.ศ. 1985.
 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิ พลเมืองและสิ ทธิ ทางการเมือง
(ICCPR)
 สัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิต่อผูห้ ญิง (CEDAW)
 อนุสญ
ั ญาสิ ทธิเด็ก (CRC)
กติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วยสิ ทธิพลเมืองและสิ ทธิ
ทางการเมือง
 สิ ทธิที่จะได้รับการคุม้ ครองจากอันตราย- กาหนดหน้าที่ให้รัฐจะต้องจัดให้มี
กระบวนการยุติธรรมที่มีประสิ ทธิภาพ (Rights to be protected from harm, which
impose obligations on governments to have effective criminal justice systems
(Article 6.1, Article 7, and Article 17)
 สิ ทธิ ที่จะได้รับการยอมรับด้วยการปฏิบตั ิอย่างเสมอภาคภายใต้กฎหมาย (Rights
to be recognized by and treated equally before the law (Articles 2, 3, 16, and 26)
 สิ ทธิ ที่จะไม่ได้รับการเลือกปฏิบตั ิ (A right of non-discrimination (Article 2)
 สิ ทธิที่จะได้รับการเยียวยาและการเข้าถึงความยุติธรรม (Rights to a remedy and
to access to justice (Articles 2 and 14)
 สิ ทธิที่จะได้รับความเป็ นธรรมตามกระบวนการกฎหมาย (Due process right)
กฎหมายคุ้มครองสิ ทธิของเหยือ่ อาชญากรรมในสหรัฐฯ
 สิ ทธิ ที่จะได้รับการคุม้ ครองจากผูต้ อ้ งหา (The right to protection from
the accused)
 สิ ทธิ ที่จะได้รับการแจ้งข่าวสาร (The right to notification)
 สิ ทธิ ที่จะไม่ถูกกีดกันจากกระบวนการพิจาณาคดี (The right not to be
excluded from proceedings)
 สิ ทธิ ที่จะแสดงความเห็นในกระบวนการพิจารณาคดี (The right to speak
at criminal justice proceedings)
กฎหมายคุ้มครองสิ ทธิของเหยือ่ อาชญากรรมในสหรัฐฯ
 สิ ทธิ ที่จะปรึ กษาหารื อกับพนักงานอัยการ (The right to consult
with the prosecuting attorney)
 สิ ทธิ ที่จะได้รับค่าเสี ยหาย The right to restitution,
 สิ ทธิ ที่จะได้รับการคุม้ ครองจากการดาเนิ นคดีที่ล่าช้าโดยไม่มีเหตุผลอัน
สมควร The right to a proceedings free from unreasonable delay,
 สิ ทธิ ที่จะได้รับการปฏิบตั ิที่เป็ นธรรม และเคารพศักดิ์ศรี และสิ ทธิ
ส่ วนตัวของเหยือ่ The right to be treated with fairness, and respect for
the victims' dignity and privacy
กฎหมายที่เกีย่ วข้ อง-กฎหมายภายในประเทศ
 ประมวลกฎหมายอาญา
 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (สอบสวนเด็ก)
 พระราชบัญญัติคุม้ ครองผูถ้ ูกกระทาด้วยความรุ นแรงในครอบครัว
พ.ศ.2550
 พระราชบัญญัติคุม้ ครองเด็ก พ.ศ.2546
 พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ.2553
 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 2551
กฎหมายที่เกีย่ วข้ อง-กฎหมายภายในประเทศ
 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ลักษณะละเมิด (การชดใช้ความ
เสี ยหาย –Restitution)
 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การพิจารณาคดีแพ่งที่
เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
 พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการกระทาละเมิดของเจ้าพนักงานของรัฐ
 การจ่ายค่าตอบแทนหรื อค่าทดแทนความเสี ยหายโดยรัฐ
(Compensation)
 พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผูเ้ สี ยหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก
จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544
การคุ้มครองสิ ทธิในกระบวนการยุตธิ รรม
การคุ้มครองและการให้ ความช่ วยเหลือเหยือ่ ในกระบวนการยุตธิ รรม
 การได้รับแจ้งข้อมูลข่าวสารการดาเนิ นคดี
 ผูเ้ สี ยหายสามารถร้องขอข้อมูลเกี่ยวกับความก้าวหน้าของการสอบสวน
ความผิด (ยกเว้นการเปิ ดเผยข้อมูลจะเป็ นผลเสี ยหายต่อการดาเนินคดี)
 การแจ้งให้ผเู ้ สี ยหายทราบ การจับกุม การตั้งข้อหา
 การแจ้งให้ทราบการร้องขอปล่อยชัว่ คราว ของผูต้ อ้ งหา (ประกันตัว)
 ผูเ้ สี ยหายสามารถติดต่อพนักงานสอบสวนเพื่อขอทราบข้อมูลเพิ่มเติม
ได้
การคุ้มครองสิ ทธิในกระบวนการยุตธิ รรม
 การเก็บหลักฐานการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ผรู ้ ับผิดชอบในคดี เลขที่คดี คาร้องทุกข์
ฯลฯ วิธีการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ หายเลขโทรศัพท์ เป็ นต้น
 การให้ความช่วยเหลือหรื อสนับสนุน เป็ นเพื่อนในการไปพบแพทย์ ทนายความที่
ปรึ กษาฯลฯ
 การให้ความช่วยเหลือหรื อสนับสนุน เป็ นเพื่อน ไปพบพนักงานสอบสวน หรื อใน
การสอบปากคา
 ไปพบพนักงานอัยการ หรื อให้ความช่วยเหลือหรื อสนับสนุน เป็ นเพื่อนในการไป
ขึ้นศาล เป็ นพยานในศาล
 และการให้ความช่วยเหลือหรื อสนับสนุน ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นคดี
ขอบเขตการศึกษา
 การสารวจผูต้ กเป็ นเหยือ่ (Victimization Survey)
 ทาการสารวจวิธีเดียวกับการสารวจสามะโนประชากร เพื่อหาจานวนผู ้
ตกเป็ นเหยือ่ อาชญากรรม หรื อโดยการสุ่ มตัวอย่าง ปัจจุบนั ใน
สหรัฐอเมริ กา เรี ยก National Crime Survey
 แบบให้ ประชาชนรายงานการกระทาผิดด้ วยตนเอง (Self-Reported
Criminal Behavior)
 ทาการสารวจโดยใช้แบบสอบถามประชาชนให้ตอบคาถามประเภท
ความผิดใด ๆ หรื อผูว้ จิ ยั กาหนดขึ้นให้ตอบเพื่อนาไปศึกษาวิเคราะห์ โดย
ใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างของประชาชนในจานวนมากพอสมควร
การดาเนินการให้ เป็ นไปตามปฏิญญาสหประชาชาติ
 สิ ทธิ ของเหยือ่ อาชญากรรม และการให้ความช่วยเหลือเหยือ่
อาชญากรรม
 การนาปฏิญญาของสหประชาชาติฯ ไปปฏิบตั ิให้เป็ นไปตาม
ข้อบัญญัติให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้
(United Nations Declaration on Basic Principles of Justice
for Victims of Crime and Abuse of Power 1985)
เหยือ่ คดีข่มขืน
 สาวปริ ญญาโท ผูเ้ สี ยหายคดีข่มขืนบนรถไฟเมื่อ 13 ปี ก่อน เตรี ยมบิน
กลับไทยกลางเดือนนี้ เตรี ยมเข้าพบ คสช. กับผูว้ า่ การรถไฟฯ เพื่อขอ
ความเป็ นธรรมและเร่ งรัดการจ่ายเงินเยียวยาหลังถูกการรถไฟฯ ยื้อมา
นาน ระบุไม่เห็นด้วยให้เพิ่มโทษประหารชีวติ ในคดีข่มขืน เพราะคน
กระทามักขาดสติ ไม่คานึงถึงโทษที่จะได้รับอยูแ่ ล้ว แนะควรเร่ ง
ปรับปรุ งระบบป้ องกันและคุม้ ครองความปลอดภัยของสตรี
 นาเสนอข่าวโดยทีมงาน Sanook.com