Counseling for Termination of Unwanted Pregnancy

Download Report

Transcript Counseling for Termination of Unwanted Pregnancy

Counseling for Termination of
Unwanted Pregnancy
การให้ คาปรึกษาในการยุตกิ าร
ตั้งครรภ์ ไม่ ปรารถนา
นพ.เรืองกิตติ์ ศิริกาญจนกูล
นายแพทย์ เชี่ยวชาญ (ด้ านสาธารณสุ ข)
โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพ ศูนย์ อนามัยที่ 6 ขอนแก่ น
วันที่ 19 มีนาคม 2555
คาขวัญ
•บาบัดทุกข์ บารุงสุข
•เพือ่ สุขภาพและความปลอดภัย
ของสตรี
ทัศนคติของสั งคม
• หญิงทีม่ าทาแท้ งเป็ นวัยรุ่นใจแตก หญิงส่ าส่ อนทาง
เพศ
• ข้ อเท็จจริง
• หญิงตกเป็ นเหยือ่ ถูกกระทา หรือเป็ นความ
ผิดพลาดในการคุมกาเนิด
• บทบาทของเพศชาย “ผู้ล่า” “พีท่ าท้ อง น้ องทาแท้ ง”
ข้ อเท็จจริงที่สังคมยังไม่ รู้
สมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงประทานสั มภาษณ์ ว่า
“ในทางพระแล้ ว การทาแท้ งถือว่ าเป็ นบาป แต่ การให้
โอกาสทาแท้ งเป็ นการช่ วยเหลือ หญิงที่เคราะห์ ร้าย
ได้ เพราะการทาแท้ งที่ทาอย่างลับๆ เป็ นอันตรายทั้ง
แม่ และลูก ดังนั้นผู้ทผี่ ดิ พลาดไป ชีวติ ควรเริ่มต้ น
ใหม่ ได้
(ตะวันสยาม : 30 สิ งหาคม 2523)
ประเทศไทยต้ องพัฒนา
• ยอมรับว่ ามีปัญหา ต้ องแก้ไข
• ยอมรับว่ าต้ องมีการทาแท้ ง
• การทาแท้ งถูกกฎหมาย
• มีการบริการที่ปลอดภัย และแพร่ หลาย
• มีบุคลากรทีย่ นิ ดีบริการ
• สั งคมยอมรับ
แบบคัดกรองผู้หญิงสงสั ยว่ าท้ องไม่ พร้ อม
สุ ขภาพ
ของ
ผู้หญิง
ที่มา
ปรึกษา
รายการประเมิน
1. พิการ ทุพพลภาพมีโรค
อาการทางจิต
2. ติดเชื้อ HIV
3. การตั้งครรภ์ ส่งผลต่ อสุ ขภาพของผู้หญิง
4. การตั้งครรภ์ ส่งผลต่ อสุ ขภาพตัวอ่ อนใน
ท้ อง
5. ตั้งครรภ์ เมือ่ อายุน้อยกว่ า 15 ปี หรือเกิน
40 ปี โดยไม่ ต้งั ใจ
6. มีการยุตกิ ารตั้งครรภ์ วิธีใดวิธีหนึ่งแต่
ล้มเหลว
ใช่

ไม่ ใช่











แบบคัดกรองผู้หญิงสงสั ยว่ าท้ องไม่ พร้ อม
ครอบครัว
ของ
ผู้หญิง
รายการประเมิน
7. มีประวัติหรือมีความรุนแรงใน
ครอบครัวเกิดขึน้
8. สั มพันธภาพของคู่สมรสไม่ดี
มีโอกาสแยกทางกับคู่สมรส
9. ปัจจุบันแยกทางกับคู่
10. เป็ นการตั้งครรภ์ นอกสมรส
11. มีปัญหา เศรษฐกิจ ไม่ มี
ความสามารถเลีย้ งลูก ไม่ มีงานทา
ใช่

ไม่ ใช่









แบบคัดกรองผู้หญิงสงสั ยว่ าท้ องไม่ พร้ อม
สุ ขภาพทาง
สั งคมของ
ผู้หญิง
รายการประเมิน
12. ไม่ สามารถเลีย้ งลูกทีเ่ กิดขึน้ ได้ ไม่ มี
ญาติพนี่ ้ อง
13. ตั้งครรภ์ จากการถูกข่ มขืน ล่ อลวง
บังคับ ข่ มขู่
14. ตั้งครรภ์ โดยไม่ ต้ังใจและไม่ ได้
คุมกาเนิด (แต่ ไม่ ใช่ การข่ มขืน)
15. ฝ่ ายชายไม่ รับผิดชอบการตั้งครรภ์
ถูกทอดทิง้
16. ต้ องการศึกษาต่ อไม่ ต้องการลาออก
ใช่

ไม่ ใช่









แบบคัดกรองผู้หญิงสงสั ยว่ าท้ องไม่ พร้ อม
สภาพทาง รายการประเมิน
ใช่
ไม่ ใช่
สั งคมของ 17. ต้ องการทางาน ต่ อไม่  
ผู้หญิง อยากตกงาน
18. ไม่ สามารถเปิ ดเผยการ  
ตั้งครรภ์ ต่อสั งคม หรือ
ครอบครัวได้
19. มีอาชีพให้ บริการทาง  
เพศและคุมกาเนิดผิดพลาด
แบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่ าท้ องไม่ พร้ อม
ความ
ล้ มเหลวของ
การ
คุมกาเนิด
รายการประเมิน
ใช่
20. คุมกาเนิด ล้ มเหลว 
(วิธีกนิ ยาคุม ยาฉีด ใส่
ห่ วง ยาฝัง ถุงยาง ยาคุม
ฉุกเฉิน หมันหญิง หมัน
ชาย อืน่ ๆ
ไม่ ใช่

ถ้ าพบว่ ามีข้อใดข้ อหนึ่ง อาจเข้ าข่ ายการตั้งครรภ์ ไม่ พร้ อม ให้
ซักถามว่ า “การตั้งครรภ์ นีเ้ ป็ นการตั้งครรภ์ ที่ไม่ พร้ อมหรือไม่ ?
•  ไม่ ใช่ ให้ บริการตามปกติ
• ใช่ ให้ ส่งปรึกษาทางเลือก,
ยุตกิ ารตั้งครรภ์
การให้ คาปรึกษา (Counseling)
•การให้ ความรู้ ข้ อมูล ทางเลือก ข้ อดี
ข้ อเสี ย คาแนะนา เพือ่ ให้ ผู้รับบริการ
สามารถตัดสิ นใจได้ อย่ างเหมาะสม
ผลการให้ คาปรึกษาทีด่ ี (Good Counseling)
• ผู้รับบริการสามารถตัดสิ ใจเลือกการบริการ
ทีเ่ หมาะสมกับตนเองได้ และมีความพึง
พอใจกับการตัดสิ นใจนั้น
ปัจจัยที่มีผลต่ อ good counseling
• ผู้รับบริการ
• เปิ ดเผยข้ อมูลว่ าเกิดอะไรขึน้ อย่ างไร อย่ างครบถ้ วน
• ผู้ให้ บริการ
• ปราศจากอคติ, พร้ อมรับฟังปัญหา, เป็ นมิตร
• กระบวนการปรึกษา และสภาพสิ่ งแวดล้ อม
ก่ อนการให้ คาปรึกษา (Prerequisite)
• ผู้รับบริการมาขอรับบริการ
• มีข้อบ่ งชี้ในการให้ บริการ
• มีรูปแบบการให้ บริการให้ เลือก
• มีการให้ บริการทีเ่ ลือก
แบบประเมินสาเหตุของการยุตกิ ารตั้งครรภ์
อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ ไม่ พร้ อม
รายการประเมิน(ตอบได้ มากกว่ า 1 ข้ อ)
ใช่
สุ ขภาพทาง 1. การตั้งครรภ์ ส่งผลเสี ยต่ อสุ ขภาพและชีวติ
กายและใจ ของผู้หญิง (ระบุ......................................)
ของผู้หญิง 2. มีความผิดปกติของตัวอ่ อนในครรภ์
(ระบุ..............................................)
3. ผู้ต้งั ครรภ์ ทุพพลภาพ/มีโรค/มีอาการทาง
จิต
4. ผู้ต้งั ครรภ์ มีอาการเครียด หรือซึมเศร้ า
แบบประเมินสาเหตุของการยุตกิ ารตั้งครรภ์
อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ ไม่ พร้ อม
รายการประเมิน(ตอบได้ มากกว่ า 1 ข้ อ)
ใช่
การล่ วง 5. เป็ นการตั้งครรภ์ จากการถูกข่ มขืน
ละเมิดทาง 6. เป็ นการตั้งครรภ์ โดยทีผ่ ้ ูหญิงถูก
เพศหรือ ล่ อลวงเพือ่ กระทาชาเรา
ข่ มขืน 7. เป็ นการตั้งครรภ์ โดยทีผ่ ้ ูหญิงอายุตา่
กว่ า 15 ปี
แบบประเมินสาเหตุของการยุตกิ ารตั้งครรภ์
อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ ไม่ พร้ อม
ความ
ล้มเหลว
ของการ
คุมกาเนิด
รายการประเมิน(ตอบได้ มากกว่ า 1 ข้ อ)
8. คุมกาเนิดล้ มเหลว (ระบุวธิ ีทใี่ ช้ แล้ วล้มเหลว)
ยาคุมกาเนิด
ยาคุมกาเนิดฉุกเฉิน
ถุงยางอนามัย
ยาฉีดคุมกาเนิด
ห่ วงคุมกาเนิด
หมันหญิง
หมันชาย
การหลัง่ ภายนอก
การนับระยะปลอดภัย
อืน่ ๆ ระบุ
ใช่
ข้ อบ่ งชี้ในการยุตกิ ารตั้งครรภ์ ทไี่ ม่ ปรารถนา
• ระดับความชัดเจนมีหลายระดับ มาก ปานกลาง น้ อย
• ชัดเจนมาก เช่ น
–การตั้งครรภ์ ในสตรีที่เป็ นมะเร็งเต้ านม
–การตั้งครรภ์ จากการข่ มขืน
–การตั้งครรภ์ ในสตรีที่โรค SLE อย่ างรุนแรง
–การตั้งครรภ์ ที่ทารกพิการ Trisomy 13, Anencephaly
ข้ อบ่ งชี้ในการยุตกิ ารตั้งครรภ์ ทไี่ ม่ ปรารถนา
• ข้ อบ่ งชี้ระดับปานกลาง เช่ น
• การตั้งครรภ์ ในสตรีที่เป็ น HIV
• การตั้งครรภ์ ที่ทารกเป็ นโรค ธาลัสซีเมีย
• การตั้งครรภ์ ที่ทารกเป็ นอาการ Down
• การตั้งครรภ์ ภายหลังสตรีทาหมันแล้ว
• การตั้งครรภ์ ที่ตดิ เชื้อหัดเยอรมัน
ข้ อบ่ งชี้ในการยุตกิ ารตั้งครรภ์ ทไี่ ม่ ปรารถนา
• ข้ อบ่ งชี้ระดับรางๆ
–การตั้งครรภ์ ในสตรีทมี่ บี ุตรพอแล้ ว
–การตั้งครรภ์ ในสตรีนักเรียนวัยรุ่น
–การตั้งครรภ์ จากความล้มเหลวในการ
คุมกาเนิด
–การตั้งขณะสถานการณ์ ไม่ เหมาะสม
ขั้นตอนการให้ คาปรึกษา
(Steps in Counseling)
•
•
•
•
•
•
G
A
T
H
E
R
reeting
sk
ell
elp
xplain
eturn
ต้ อนรับทักทาย
ซักถาม หาข้ อมูล
บอกเล่ าการบริการ
ช่ วยเหลือให้ ผ้ ูรับบริการตัดสิ นใจ
อธิบายวิธีและรายละเอียดการให้ บริการ
นัดติดตามประเมินผลการบริการ
Step 2 Ask ซักถามหาข้ อมูล
•ข้ อมูลเชื่อถือได้ พอควร
•ไม่ สามารถพิสูจน์ ได้ ท้งั หมด
•จัดระดับข้ อบ่ งชี้เพือ่ การให้ คาปรึกษา
Conflict of Interest
•สตรีต้งั ครรภ์
•สามี
•พ่อแม่
•อืน่ ๆ
การหาข้ อมูลเพิม่ เติมทีม่ ปี ระโยชน์
• ข้ อมูลจากผู้รับบริการ จากญาติ จากผู้เลีย้ งดู
ผู้รับผิดชอบ
• การตรวจอัลตราซาวน์
–อายุครรภ์
–ครรภ์ แฝด
–ตาแหน่ งรก
Step 3 Tell บอกเล่ าการบริการ
• ถ้ าไม่ มีบริการหรือทางเลือกการบริการไม่ ต้องให้
คาปรึกษา
• ทางเลือก
– ทาแท้ งให้ เลือกเวลา วิธีการ แนะนาให้ ไปทาแท้ งที่
ปลอดภัย ให้ ต้งั ครรภ์ ต่อ รับฝากครรภ์ ให้ ดูแลการ
คลอดให้ คลอดแล้วเลีย้ งเองหรือญาติเลีย้ ง คลอด
แล้ วยกให้ ผู้อนื่
Step 4 Help ช่ วยเหลือการตัดสิ นใจ
• เพือ่ ประโยชน์ สูงสุ ดของผู้รับบริการ
• ผู้รับบริการหลายระดับ ต้ องเลือกตัดสิ นใจ
• พูดคุยกับผู้รับบริการ /ญาติ เพือ่ ให้ แน่ ใจและ
ยืนยันถึงการตัดสิ นใจทีจ่ ะยุตกิ ารตั้งครรภ์
Step 5 Explain อธิบายวิธีและรายละเอียดการ
ให้ บริการยุตกิ ารตั้งครรภ์ ปลอดภัย
• การดูดเนือ้ รก และเด็กจากโพรงมดลูก Manual
vacuum Aspiration :MVA
• การใช้ ยายุตกิ ารตั้งครรภ์ Misoprostol
• ยุตกิ ารตั้งครรภ์
Step 6 Return นัดติดตามประเมินผล
• เป็ นขั้นตอนทีส่ าคัญ : การปรึกษาหลังยุติ
การตั้งครรภ์ (Post abortion counseling)
• นัดในระยะ 1 -2 สั ปดาห์
• การป้ องกันเหตุการณ์ ครั้งต่ อไป
การปรึกษาหลังยุติการตั้งครรภ์
1. ประเมินความรู้สึก ตอบคาถามทีส่ งสั ยและให้ กาลังใจ
2. ยา้ เตือนถึงอาการข้ างเคียงทีอ่ าจเกิดขึน้ และโอกาสเกิดรวมทั้งอาการเบือ้ งต้ น
ที่ต้องกลับมาพบแพทย์
3. ให้ ความรู้ในด้ านการดูแลตัวเองทีบ่ ้ านและชี้ให้ ผู้รับบริการเห็นความสาคัญ
ของการนัดหมายเพือ่ ตรวจซ้า
4. ให้ ข้อมูลเรื่องทางเลือกในการคุมกาเนิดทีเ่ หมาะสม (คุมกาเนิดทันทีหลังแท้ ง)
5. ให้ ข้อมูลเรื่องโอกาสเสี่ ยงโรคติดต่ อทางเพศสั มพันธ์ และการป้องกัน
6. ประเมินความต้ องการของผู้รับบริการ หรือพิจารณาส่ งต่ อเพือ่ รับบริการ
ด้ านอืน่ ๆ
ความรู้ สึกทีม่ กั พบในผู้ป่วย
1. กลัวคนรอบข้ างรู้ และถูกประณาม
2. รู้สึกบาปทีท่ าลายตัวอ่ อนในท้ อง
3. กลัวถูกจับเนื่องจากทาผิดกฎหมาย
4. กลัวคนในครอบครัว/สามีจะรับไม่ ได้
5. เกรงใบรับรองแพทย์ เขียนว่ า “ทาแท้ ง”
6. เกรงว่ าจะเบิกค่ ารักษาจากประกันสุ ขภาพไม่ ได้ และ
ไม่ มีเงินจ่ าย
คาแนะนาการปฏิบัตติ วั หลังยุตกิ ารตั้งครรภ์
1. อาการข้ างเคียงและอาการที่ต้องกลับมาพบแพทย์
อาการที่เกิดขึน้ ได้ เป็ นปกติ :
- เลือดออกทางช่ องคลอด 1 สั ปดาห์
- รู้สึกหน้ าท้ องตึงคล้ ายมีประจาเดือน
- อ่ อนเพลีย ปานกลางระยะเวลาหนึ่ง
- รู้สึกหดหู่ เศร้ าใจ หลายวัน
คาแนะนาการปฏิบัติตัวหลังยุติการตั้งครรภ์ (ต่ อ)
อาการผิดปกติทคี่ วรกลับมาพบแพทย์
1. ไข้ สูง
2. ปวดท้ องน้ อยอย่ างรุนแรง
3. หน้ าท้ องตึงแข็ง กดเจ็บ
4. คลืน่ ไส้ อาเจียน เวียนศีรษะมาก
5. มีเลือดออกทางช่ องคลอด มากกว่ าปกติเท่ าตัวและนานเกิน 1
สั ปดาห์
6. เลือดออกมีสีผดิ ปกติหรือมีกลิน่ เหม็น
7. ยังคงมีอาการเหมือนตั้งครรภ์ อยู่
คาแนะนาการปฏิบัติตัวหลังยุติการตั้งครรภ์ (ต่ อ)
2. การดูแลตัวเองทีบ่ ้ าน
- หลีกเลีย่ งกิจกรรมทีต่ ้ องออกแรงมากๆ
- เริ่มทากิจวัตรประจาวันตามปกติ เมือ่ รู้ สึกสบายแล้ ว
- แนะนายาทีร่ ับ ยา้ กินอย่ างถูกต้ อง ครบถ้ วน
- ให้ คุมกาเนิดทันที เพราะมีโอกาสท้ องได้
ถ้ าสามี มีเพศสั มพันธ์ อกี
การปฏิเสธให้ บริการยุตกิ ารตั้งครรภ์
• อายุครรภ์ มากเกินไป ขีดกาหนด 22 -24 สั ปดาห์
• ฤกษ์ ยาม
• เพศของทารก
• เศรษฐานะ ความเป็ นอยู่พร้ อม
• ความเห็นตรงข้ ามของคู่สมรส
• ทาแท้ งให้
ทางเลือก (Options)
–ทาเอง
–ส่ งต่ อให้ แพทย์ อนื่ ทา
• ตั้งครรภ์ ต่อ
–ฝากครรภ์ และทาคลอดให้ เอง
–ส่ งต่ อให้ ฝากครรภ์ และคลอดในทีเ่ หมาะสม
• การเลีย้ งดูบุตร
–เลีย้ งดูเอง พ่ อแม่ ญาติช่วย
–ยกบุตรให้ ผู้อนื่ เลีย้ ง
ข้ อถกเถียงทางจริยธรรม
•สิ ทธิมนุษยธรรม
self autonomy มารดา ทารก
•สิ ทธิของแพทย์
สรุป
• การให้ คาปรึกษาก่ อนการยุตกิ ารตั้งครรภ์ มี
ความสาคัญ ทีจ่ ะช่ วยเหลือผู้รับบริการ ในการ
ตัดสิ นใจรับบริการที่เหมาะสม อย่ างพึงพอใจ และ
ลดภาวะแทรกซ้ อนได้ ด้วย
• ต้ องมีทางเลือกให้ ผู้รับบริการเลือกได้
• ปัญหาของทัศนคติของผู้ให้ บริการยังมีอยู่ ไม่ ควรใช้
การให้ คาปรึกษาเพือ่ โน้ มน้ าวให้ ผู้รับบริการยอมรับ
ความคิดของตน