Transcript เพศ

การอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ : การเตรียมความพร้อมครู
การจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน”
ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม
วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕
ณ โรงแรมเอสดีอเวนิว กทม.
ทบทวนวันวาน
๑. ฟังบรรยาย / ตุก๊ ตาล้มลุก
๒. สถานี ร้เู ขารู้เรา
๓. เส้นชีวิต
๔. ย้อนรอยวัยรุน่
๑. สิ่งใหม่ที่ได้เรียนรู้ คือ อะไร
๒. จะนาสิ่งที่ได้เรียนรู้นัน้ ไปปรับใช้อย่างไร?
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวันวาน
• ความรู้เกี่ยวกับศักยภาพคน - ต้องกลับไปหาวิธีการสร้างความ
เชื่อมันต่
่ อครู ให้เกิดกับเด็ก
• ความหลากหลายทางเพศเป็ น
อย่างแท้จริง
เรื่องปกติ
- นาความรู้ที่ได้ไปใช้เป็ น
• การจัดการอารมณ์เพศ
กรณี ศึกษา
• เพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
- นากระบวนการไปประยุกต์ใช้
• วิธีการบริหารจัดการในรร.
ได้
• ความเชื่อมัน่ เชื่อใจมีผลต่อ
การให้คาปรึกษา
• รูปแบบการจัดกิจกรรมใหม่ๆ
• การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ช่วยให้เกิดการเรียนรู้
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวันวาน
• ทาให้เข้าใจเด็กมากขึน้
• แต่ละช่วงวัยมีพฤติกรรม
แตกต่างกัน
• ธรรมชาติวนั รุ่นทุกยุคสมัยไม่
แตกต่าง แต่สภาพแวดล้อม
ต่างกัน = วัยรุ่นเผชิญปัญหา
. เมื่อเข้าใจวัยรุ่น ก็จะกลับไปดูแล
ใส่ใจเป็ นพิเศษ
- ต้องช่วยกันปรับวิธีการ กลยุทธ์
ให้สอดคล้อง
กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมคนทางานเพศศึกษา
เพศวิถี
Sexuality
เยาวชน
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development)
สัมพันธภาพ (Relationship)
ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills)
พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior)
สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture)
กระบวนการเรียนรู้
แนวทางการให้การศึกษาเรือ่ ง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิ ชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
กระบวนการเรียนรู้ผา่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do
มี/ผ่านประสบการณ์
Reflect
สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้
Apply
วางแผนประยุกต์ใช้
Analyze/Synthesis
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์
เชือ่ มร้อยกับประสบการณ์ เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จาลอง” ในการเรียนรู้
เมื่อพูดถึง “เพศ” นึ กถึง...
บัตรคา คุย / ติดในช่วงวัย
Do
เพศศึกษา
ควรสอน
เมื่อไหร่?
ทากิจกรรม/
สร้างประสบการณ์ร่วม
ถกเรื่อง
บัตรคาที่
Reflect
สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ เอาออก
Apply
ประยุกต์ใช้
Analyze/Synthesize
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป
คุยเรื่องเกณฑ์ ในการวางบัตร
ทาไมบัตรจึงอยู่ทวี่ ยั รุ่ นมาก ข้อมูลเพศศึกษารอบด้าน ๖ มิติ
กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผูจ้ ดั การเรียนรู้ เพศศึกษา
เพศวิถี
Sexuality
เยาวชน
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development)
๒. สัมพันธภาพ (Relationship)
๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills)
๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior)
๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture)
กระบวนการเรียนรู้
+ สาธิตการจัดการเรียนรู้
แนวทางการให้การศึกษาเรือ่ ง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิ ชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
กระบวนการเรียนรู้ผา่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do
มี/ผ่านประสบการณ์
Reflect
สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้
Apply
วางแผนประยุกต์ใช้
Analyze/Synthesis
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์
เชือ่ มร้อยกับประสบการณ์ เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จาลอง” ในการเรียนรู้
วัน
เช้า (๐๘.๓๐-๑๒๐๐)
๑  ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์
 รู้จกั กัน & ความคาดหวัง
 ความไว้วางใจ/ข้อตกลง
บ่าย (๑๓.๐๐-๑๗.๐๐)
(๑๙.๐๐๒๐.๓๐)
 วิ เคราะห์สถานการณ์ ของวัยรุ่นในเรื่องเพศและการ
จัดการเรียนรู้เพศศึกษา (สถานี ร้เู ขารู้เรา)
 เพศวิ ถีและเพศศึกษารอบด้าน (เส้นชีวิต)
ดูหนัง
 ธรรมชาติ วยั รุ่น/เข้าใจความเป็ นวัยรุ่น (ย้อนรอยวัยรุ่น)
๒  ประเมินโอกาสเสี่ยงในการรับเชื้อ
เอดส์ในวิถีชีวิตทางเพศ (แลกน้า)
 ข้อมูลเรื่องเอดส์ + ดูหนัง “หนึ่ งวัน
ชีวิตบวก
 ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจของเยาวชน (ณัฐกับเมย์)
 ทางเลือกกรณี ท้องไม่พร้อม + แหล่งส่งต่อ
 ทัศนคติและวัฒนธรรมในเรื่องเพศของ
สังคมไทย (เลือกข้าง)
คาถามเรื่องเพศ
๓  ประสบการณ์การปรึกษา และคุณสมบัติผใู้ ห้
 ทักษะการถาม
 สาธิ ตการให้การปรึกษา
 การตัดสิ นคุณค่าและผลกระทบ (อนุมาน)
(การบ้านเตรียมฝึ กให้การปรึกษา)
๔  ฝึ กทักษะการให้การปรึกษา
 ชี้แจงการหนุนเสริ ม/ติ ดตามโครงการ
 เดิ นทางกลับ (๑๕.๐๐ น.)
คาปรึกษา (คนกับต้นไม้)
 ทักษะการฟั ง + การสะท้อน
 อภิ ปราย ซักถาม
 สรุปกระบวนการ
ดูหนัง
Global perspective: bio-social gap
การศึกษาย้อนหลัง เพือ่ ดูช่องว่างของพัฒนาการเรือ่ งเพศด้านชีวภาพและด้านสังคม
อายุเมือ่ มีประจาเดือนครั้งแรก
(Menarche)
๑๔.๘
ปี ๑๘๙๐
อายุเมือ่ “แต่ งงาน”
(Married)
๗.๒ ปี
๒๒
(๒๔๓๓)
๑๒.๕
ปี ๑๙๘๘
๑๑.๘ ปี
๒๔.๓
(๒๕๓๑)
ปี ๒๐๑๑
(๒๕๕๔)
?
? ปี
?
Global perspective: bio-social gap
การศึกษาย้อนหลัง เพือ่ ดูช่องว่างของพัฒนาการเรือ่ งเพศด้านชีวภาพและด้านสังคม
อายุเมือ่ มีประจาเดือนครั้งแรก
อายุเมือ่ “แต่ งงาน”
(Menarche)
(Married)
๑๔.๘
ปี ๑๘๙๐
๗.๒ ปี
๒๒
(๒๔๓๓)
ปี ๑๙๘๘
๑๒.๕
๑๑.๘ ปี
๒๔.๓
(๒๕๓๑)
ปี ๒๐๑๑
(๒๕๕๔)
๑๐
๒๐ ปี
๓๐
กิจกรรม :
“แลกน้า”
แลกน้า
•การแลกน้า = การมีเพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน
• กลุ่มใหญ่๒๔ คนแลก ๕ ครัง้ = เปลี่ยนคู่หลายคน
หลายครัง้ สาส่อน มัว่
• อาสาสมัคร ๔ คน แลก ๑ ครัง้ = มีเพศสัมพันธ์ครัง้
เดียว, มีค่คู นเดียว เพศสัมพันธ์ครัง้ แรก
•น้าใสๆ
= ผูต้ ิ ดเชื้อ ดูไม่ออก
ผลการตรวจเลือด
• อาสาสมัคร ๔ คน
• แลก ๑ ครัง้
เปลี่ยนสี = ๑ คน
• คนส่วนใหญ่ ๒๔ คน
• แลก ๕ ครัง้
เปลี่ยนสี = ๑๖ คน
จาก ๑ แพร่ระบาดไป ๑๗ คน
เหตุผลในการเลือกคู่
•
•
•
•
•
•
•
บุคลิกน่ าสนใจ (Amazing)
อารมณ์ดี ดูอบอุ่น
อยากคุย อยากคบหา
ดูรปู ร่างเป็ นที่พึงใจ
ดึงดูด
แจ่ม ๆ ทัง้ นัน้
ไว้ใจ
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือ
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือ
=มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับ
ผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก
การป้ องกัน HIV ในกรณี มีเพศสัมพันธ์
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ไม่เที่ยว
ใช้ถงุ ยางอนามัย
รักเดียวใจเดียว
ตรวจเลือดสมา่ เสมอ
ตรวจเลือดก่อนแต่งงาน
ช่วยตัวเอง
ไม่มีเพศสัมพันธ์
ใช้อปุ กรณ์ช่วย
บวช
กลุ่มเสี่ยง
• คนขายบริการทางเพศ
• คนเที่ยว
• คนใช้ยาเสพติด
• คนรักเพศเดียวกัน
“พฤติกรรมเสี่ยง” (ไม่ว่าใครทา)
=มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับ
ผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก
แลกน้า
เครือข่าย
การมีเพศสัมพันธ์
ติดเชื้อ
ป่ วยเอดส์
ผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวี
ผูท้ ีม่ ีเชื้อเอชไอวีอยู่ในร่างกาย
ระดับภูมิค้มุ กันปกติ
ดาเนินชีวิตได้ตามปกติ
ผูป้ ่ วยเอดส์
มีภาวะภูมิค้มุ กันบกพร่อง
มีโรคหรือกลุ่มอาการ
ทีเ่ กิดจากภาวะภูมิค้มุ กันบกพร่อง
ตรวจเลือดเอชไอวี
วันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
๑ มกรา
๓ เดือน
ตรวจเลือด ?
๑ เมษา
๑๔ กุมภา ?
• ผลเลือดบวก = ได้รบั เชื้อเอชไอวี
• ผลเลือดลบ = ๑. ยังไม่ได้รบั เชื้อ
๒. รับเชื้อแล้ว แต่ยงั ตรวจไม่พบ
ตรวจเลือด = ป้ องกัน
ถุงยางอนามัย ช่วยป้ องกันการ
ติดเชื้อเอชไอวีได้
ถ้าคุณใช้!!
ถุงยาง
ถุงยาง
ในมือผูห้ ญิง
• อุปกรณ์ คมุ กาเนิดชนิดเดียว ที่
ช่วยป้ องกันการติดเชื้อเอชไอวี
การให้คณ
ุ ค่า
ความปลอดภัย ?
ถุงยาง
ในมือผูช้ าย
การป้ องกันการติดเชื้อเอชไอวี
• ไม่มีเพศสัมพันธ์ตลอดชีวิต
• ซื่อสัตย์ต่อกัน
(มีค่เู พียงคนเดียวทัง้ สองฝ่ าย)
• ใช้ถงุ ยางป้ องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์ทกุ ครัง้ กับทุก
คนที่ไม่มนใจว่
ั ่ ามีเชื้อหรือไม่
ไม่มี
มีให้ปลอดภัย
คุยกัน ?
โจทย์กิจกรรม “แลกน้ า”
• คนคิดว่า เพศสัมพันธ์ของตัวเองไม่เกี่ยวกับเอดส์ (ไกลตัว)
• ภาพในใจ/การรับรูเ้ รื่องเอดส์ ในสังคมโดยทัวไป
่
– “คนที่มีเชื้อ” v.s. “ผูป้ ่ วยเอดส์”
– “กลุ่มเสี่ยง” ไม่ใช่ “เรา”
• คนประเมินความเสี่ยงพลาด จะไม่นาไปสู่การป้ องกัน
• การรณรงค์ที่ผา่ นมาทาให้คนเข้าใจผิด
– “สาส่อน/มัวทางเพศ
่
ติดเอดส์แน่ นอน”
– “รักเดียวใจเดียว ปลอดภัยจากเอดส์”
– “ตรวจเลือดก่อนแต่ง เพือ่ ความมันใจ
่ (ว่าจะไม่ติดเชื้อ)”
กิจกรรม:
“ระดับความเสี่ยง
QQR”
รู้สึกอย่างไร?
•
•
•
•
•
สงสาร
ติดเชื้อไม่เป็ นไร
ได้กาลังใจ
คนติดเชื้อเป็ นคนปกติ
กลัวและกังวลใจแทนคนอื่น
ข้อกังวลใจ/ ข้อสงสัย
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การกินยาต้านไวรัส
คุณภาพของถุงยาง
การกินอาหารร่วมกัน, ภาชนะ
อุปกรณ์ช่วยทางเพศ
การสัมผัสแผล
น้าลาย
มีดโกนหนวด
การใช้เข็มสักและเข็มฉี ดยาร่วมกัน
การตัดเล็บ
การรับเลือดจากการบริจาคเลือด
ยุงกัด
การใช้ห้องน้าร่วมกัน
การไอ จาม
“โจทย์”
ระดับความเสีย่ ง
• การให้ข้อมูลเรื่องเอดส์ที่ผา่ นมาไม่ชดั เจน/สับสน
• “โอกาสเสี่ยง” กับ “การติดเชื้อ” ต่างกัน
• คนคิดว่าเชื้อ HIV ติดต่อง่าย
–รังเกียจผูต้ ิ ดเชื้อ
–แต่ไม่กงั วลการติดเชื้อ จากโอกาสที่ทาให้เสี่ยงมาก
การทีค่ นๆ หนึ ง่ จะได้รบั เชื้อ HIV เข้าสู่
ร่างกายจะต้องประกอบด้วย ๓ ปัจจัย ดังนี้
• ปริมาณของเชื้อ (Quantity)
• คุณภาพของเชื้อ (Quality)
• ช่องทางการติดต่อ (Route of
Transmission)
Quantity - ปริมาณและแหล่งที่อยู่ของเชื้อ
• เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านัน้ (เกาะอยู่กบั เม็ดเลือดขาว)
• เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลังบางอย่
่
างในร่างกายของคนที่มีเชื้อ
HIV เช่น เลือด น้าอสุจิ น้าในช่องคลอด น้านมแม่ ซึ่งมีปริมาณ
ที่ไม่เท่ากัน
• ต้องมีจานวนเชื้อ HIV ในปริมาณที่มากพอในสารคัดหลังที
่ ่เป็ น
ที่อยู่ของเชื้อ
Quality - คุณภาพของเชื้อ
• เชื้อ HIV ต้องมี “คุณภาพพอ”
เชื้อ HIV ไม่สามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายคน
ได้
สภาพในร่างกาย และสภาพแวดล้อม บางอย่าง
มีผลทาให้เชื้อไม่สามารถอยู่ได้ เช่น ด่างใน
น้าลาย กระเพาะอาหาร สภาพอากาศ ความ
ร้อน ความแห้ง น้ายาต่างๆ
Route of transmission
ช่องทางการติดต่อ
• ไวรัส HIV จะต้องถูกส่งผ่านจากคนที่ติดเชื้อ ไปยังอีก
คนหนึ่ ง โดยเชื้อจะต้องตรงเข้าสู่กระแสเลือด
– ทางเพศสัมพันธ์
– ทางเลือด(การใช้เข็มฉี ดยาเสพติดร่วมกัน)
– แม่ส่ลู กู
ช่องทางออก
ช่องทางเข้า
การที่คนๆ หนึ่ งจะได้รบั เชื้อ HIV เข้าสู่ร่างกาย
จะต้องประกอบด้วย ๓ ปัจจัยดังนี้
ปริมาณของเชื้อ
(Quantity)
• เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านัน้
(เกาะอยู่กบั เม็ดเลือดขาว)
• เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลัง่
บางอย่างในร่างกายของคนที่
มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้าอสุจิ
น้าในช่องคลอด น้านมแม่ ซึ่ง
มีปริมาณที่ไม่เท่ากัน
• ต้องมีจานวนเชื้อ HIV ใน
ปริมาณที่มากพอในสารคัด
หลังที
่ ่เป็ นที่อยู่ของเชื้อ
คุณภาพของเชื้อ
(Quality)
เชื้อ HIV ต้องมี คุณภาพพอ
 เชื้อ HIV ไม่สามารถมีชีวิต
อยู่นอกร่างกายคนได้
 สภาพในร่างกาย และ
สภาพแวดล้อม บางอย่างมี
ผลทาให้เชื้อไม่สามารถอยู่
ได้ เช่น ด่างในน้ าลาย กรด
ในกระเพาะอาหาร สภาพ
อากาศ ความร้อน ความ
แห้ง น้ ายาต่างๆ
ช่องทางการติดต่อ
(Route of Transmission)
ไวรัส HIV จะต้องถูก
ส่งผ่านจากคนที่ติดเชื้อ ไป
ยังอีกคนหนึ่ ง โดยเชื้อ
จะต้องตรงเข้าสู่กระแส
เลือด
• เลือด
• เพศสัมพันธ์
• แม่ส่ลู กู
โอกาส/ความเป็ นไปได้ที่จะเกิดขึน้
โดยสรีระ
ผูห้ ญิงมีโอกาสเสี่ยง มากกว่า ผูช้ าย
• ผูห้ ญิง เกิดการติด
• ผูช้ าย เชื้อเข้าทางรูฉี่
เชื้อบริเวณช่องคลอด • สัมผัสเชื้อ ขณะอยู่ใน
• น้าอสุจิ หลังอยู
่ ่ ใน
ช่องคลอด
ช่องคลอด
แม่ส่ลู กู
• โอกาสติดเชื้อ ๒๕-๓๐%
– ระหว่างตัง้ ครรภ์
• รกผิดปกติ
– ตอนคลอด
• คลอดโดยธรรมชาติ
เด็กสัมผัสเลือดมาก
– หลังคลอด
• การกินนมแม่
• ลดโอกาสเสี่ยง
– คลอดโดยการผ่า
– กินนมผง
– นานมแม่ ไปต้ม
– กินยาต้าน
• ลดโอกาสติดเชื้อ
เหลือ ๒-๕%
โอกาสการได้รบั เชื้อ HIV
เสี่ยง
Relativity
ขึน้ อยู่กบั บริบท
ติด ๑๐๐%
?
ปัจจัยที่ทาให้ผตู้ ิ ดเชื้อ HIV มีชีวิตได้ต่อไปอย่างมีความสุข
• การกินยาตรงเวลา ตลอดชีวิต
• ความหวัง / ความรัก / กาลังใจ จาก...คนรอบข้าง,
ครอบครัว
• เห็นคุณค่าในตัวเอง
• ความพอดีในการเป็ นคนหนึ่ งคนในสังคม
• สังคมยอมรับ?
ผูต้ ิ ดเชื้อ HIV
ผูป้ ่ วยเอดส์
วัตถุประสงค์
๑. สามารถระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อการติดเชื้อ และไม่
ติดเชื้อเอชไอวี
๒. สามารถใช้หลักการ QQR ในการประเมินระดับ
ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีได้
๓. มีความมันใจมากขึ
่
น้ ในการอยู่ร่วมกับผูต้ ิ ดเชื้อ
=
เสี่ยง
ติด
ปรึกษาเรื่องเอดส์
มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ (ACCESS)
โทร. 02-3722222 ทุกวัน 10.00-20.00 น.
www.aidsacess.com
กิจกรรมที่ ๕ :
“ณัฐกับเมย์”
เรือ่ งของ “ณัฐกับเมย์”
“ณัฐ” อายุ ๑๗ ปี อยู่มธั ยมปี ที ่ ๖ เป็ นเด็กว่านอน
สอนง่าย และอยู่ในโอวาท
ค ่าวันหนึ ง่ ณัฐพา “เมย์” สาวน้ อยอายุ ๑๕ ปี ทีอ่ ยู่
โรงเรียนเดียวกันมาทีบ่ า้ น บอกว่าเป็ นแฟนกันมาหลายเดือน
ทัง้ สองสีหน้ าไม่ดี และเมย์เริม่ ร้องไห้ไม่หยุด
ถามได้ความว่าเมย์ท้องได้ ๓ เดือนแล้ว เมย์พกั อยู่
หอพักกับเพือ่ น โดยมีน้าสาวซึง่ อยู่ต่างจังหวัดอุปการะ เพราะ
พ่อแม่แยกกันอยู่
คิดอย่างไรกับเรือ่ ง “ณัฐ กับ เมย์”
•
•
•
•
•
•
•
•
มีจริง
เรื่องจริงหนักกว่า
ต้องแก้ปัญหา หาทางออกร่วมกัน
ครอบครัว
ไม่มีที่ปรึกษา
ต้องคุยกับผูป้ กครอง
เด็กต้องทาแท้งแน่ ๆ
ไม่ตาหนิ
เรือ่ งของ “ณัฐกับเมย์”
แบ่งกลุ่มย่อย ๕ กลุ่ม
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
เป็ น “พ่อแม่” ของณัฐ
เป็ น “น้ า” ของเมย์
เป็ น “ครู”
เป็ น “ณัฐ”
เป็ น “เมย์”
• รู้สึกอย่างไร
• อยากจัดการเรือ่ งนี้ อย่างไร?
เรือ่ งของ “ณัฐกับเมย์”
“ณัฐ” อายุ ๑๗ ปี อยู่มธั ยมปี ที ่ ๖ เป็ นเด็กว่านอน
สอนง่าย และอยู่ในโอวาท
ค ่าวันหนึ ง่ ณัฐพา “เมย์” สาวน้ อยอายุ ๑๕ ปี ทีอ่ ยู่
โรงเรียนเดียวกันมาทีบ่ า้ น บอกว่าเป็ นแฟนกันมาหลายเดือน
ทัง้ สองสีหน้ าไม่ดี และเมย์เริม่ ร้องไห้ไม่หยุด
ถามได้ความว่าเมย์ท้องได้ ๓ เดือนแล้ว เมย์พกั อยู่
หอพักกับเพือ่ น โดยมีน้าสาวซึง่ อยู่ต่างจังหวัดอุปการะ เพราะ
พ่อแม่แยกกันอยู่
- รู้สึกอย่างไร?
- อยากจัดการอย่างไร ?
ความรู้สึก
• ผูใ้ หญ่
• เด็ก
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
เห็นใจ
โกรธ รับไม่ได้
อยากทาโทษ
เสียใจ
ผิดหวัง
ตกใจ สงสาร
ต้องหาทางแก้ไขปัญหา
ไม่ซา้ เติม
เครียด
กลัวเรียนไม่จบ
กลัวพ่อแม่ผิดหวัง รับไม่ได้
กลัวถูกจับดาเนินคดี
อยากทาแท้ง
กลัวเพื่อนรู้ ล้อเลียน
กลัว วิตก
สิ้นหวัง อาย
ไม่กล้าปรึกษาใคร
จัดการ
• ผูใ้ หญ่
•
•
•
•
•
•
•
•
•
พูดคุยกัน หาข้อตกลง เพื่อรับผิดชอบ
ขอตรวจ DNA
รับเลีย้ งหลาน ส่งเสียเลีย้ งดู
ช. ให้เรียนต่อ ญ. คลอดแล้วเรียนต่อ
หรือเรียนต่อได้เลย
พักการเรียน
ให้ทาแท้ง พาไปทาแท้ง
จัดงานแต่ง
ให้อยู่เงียบๆ ผูกข้อมือ แล้วค่อยแต่งงาน
• เด็ก
•
•
•
•
•
•
•
ติดต่อ แจ้ง ผูป้ กครอง เป็ นตัวกลางประสาน •
หาแนวทางการศึกษาต่อให้
ทาแท้ง ซื้อยาขับ ยาสอด
ปรึกษาเพื่อน
ทาเฉย
ปรึกษาครู
ท้องต่อ
ให้อีกฝ่ ายรับผิดชอบ ปรึกษากัน
แต่งงาน ขอขมา
ช. ให้เรียนต่อ ญ. คลอดแล้วเรียน
ต่อ
ข้อสังเกต
• ผูใ้ หญ่ตดั สินใจเองโดยไม่ถามความคิดเห็นจากเด็ก
• พืน้ ฐานครอบครัวมีผลต่อการขอคาปรึกษา
• ผูใ้ หญ่ตดั สินใจแทนเด็ก
ถ้าผูใ้ หญ่กบั เด็ก
เห็น “ต่างกัน”
ใครตัดสินใจ?
ผูใ้ หญ่ตดั สินใจแทนเด็ก
เด็กได้เรียนรู้อะไร ?
• ผูใ้ หญ่จดั การและตัดสินใจให้
เด็กได้เรียนรู้อะไร
• ผูใ้ หญ่ให้ข้อมูลรอบด้าน และให้
เด็กตัดสินใจ เด็กได้เรียนรู้อะไร
การตัดสินใจ
ผูใ้ หญ่ตดั สินใจ
แทนเด็กเด็ก
ได้เรียนรู้ ?
เด็กมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
เด็กได้เรียนรู้ ?
• ความรับผิดชอบ
บทบาทผูใ้ หญ่
• ประคับประคอง ให้ข้อมูล
• ให้คาปรึกษา ชี้แนะ
• ส่งต่อ
เด็กตัดสินใจเอง โดยมีข้อมูลจากผูใ้ หญ่
• เด็กมันใจในการเลื
่
อก
• เด็กรู้ว่ามีผใ้ ู หญ่เคียงข้าง
ได้ คดิ ได้ ตัดสิ นใจ
ระดับการมีส่วนร่ วม...ระหว่ างเด็ก
กับผู้ใหญ่
ได้ คดิ ไม่ ได้ ตดั สิ นใจ
ไม่ ได้ คดิ ไม่ ได้ ตัดสิ นใจ
จาก... หนังสื อการมีส่วนร่ วมของเด็ก..การทาพอเป็ นพิธีสู่ ความเป็ นประชาชน
ชีวิตคนเรา “พลาด” ได้ไหม?
มีผเ้ ู ชี่ยวชาญจานวนมากเชื่อว่า การมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นนัน้
ไม่ใช่เรื่องน่ าวิตก ถ้าวัยรุ่นใช้วิธีที่มีประสิทธิภาพในการป้ องกันการ
ตัง้ ครรภ์และการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
และถ้าเป็ นเพศสัมพันธ์ที่เกิดจากการตัดสินใจอย่างมีวฒ
ุ ิ ภาวะ
ของวัยรุ่นเอง แต่สิ่งที่ต้องระมัดระวัง ได้แก่ ปัญหาของวัยรุ่นหญิงที่อาจมี
เพศสัมพันธ์โดยไม่สมัครใจ ไม่ร้ตู วั ล่วงหน้ าและเป็ นเพศสัมพันธ์ที่ไม่
ปลอดภัยทัง้ ในแง่ของโรคติดต่อและการตัง้ ครรภ์ (Singh et al:,
2000)
การปรึกษากรณี ท้องไม่พร้อม
โครงการวิจัย ‘สามะโนระดับชุมชน 2 แห่ งเรื่องสุขภาพผู้หญิงและประวัตกิ ารตัง้ ครรภ์ ’ (ต่ อ)
ท้ องที่วางแผนกับท้ องที่ไม่ ได้ วางแผน
55%
วางแผน
45% ไม่
วางแผน
ที่มา : ณัฐยา บุญภักดี และคณะ. 2545. มูลนิธิสร้ างความเข้ าใจเรื่ องสุขภาพผู้หญิง
64
ผูห้ ญิงท้องไม่พร้อม..เพราะอะไร?
1. คุมกาเนิดล้มเหลว
2. การท้องมีผลเสียต่อสุขภาพ
ผูห้ ญิง
3. การท้องมีผลเสียต่อตัวอ่อนใน
ท้อง
4. ไม่เข้าใจเรื่องเพศ
5. ท้องเมื่อมีอายุมากหรือน้ อย
เกินไป
6. ต้องการเรียนหนังสือต่อ
7. ต้องการทางานต่อ
8. ปัญหาเศรษฐกิจ
9. เลี้ยงลูกไม่ได้ มีลกู มาก
10.เปิดเผยการตัง้ ท้องไม่ได้
11.ท้องนอกสมรส
12.แยกทางกับคู่
13.ฝ่ ายชายไม่รบั ผิดชอบ ถูก
ทอดทิ้ง
14.มีประวัติความรุนแรงใน
ครอบครัว
15.ถูกข่มขืน
16.มีเพศสัมพันธ์โดยไม่สมัครใจ
17.อื่นๆ
แท ้งทีไ่ ม่ปลอดภัย
• ผลกระทบต่อสุขภาพ
้ื หล ังทาแท้งสูงถึง 40 %
– ติดเชอ
ื้ ในกระแสเลือด มดลูกทะลุ
– ทาให้ตกเลือด ติดเชอ
ี ค่าร ักษารายละ 20,000 บาท
– เสย
ประมาณ 300 ล้านบาทต่อปี
• ร้อยละ 60 ของผูท
้ าแท้ง เป็นว ัยรุน
่ /เยาวชน
ี ชวี ต
• อ ัตราการเสย
ิ 300 คน ต่อ แสนประชากร
ที่มาของข้ อมูล กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2542
ิ ธิในการยุตกิ ารตัง้ ครรภ์
สท
• โบราณกาล เป็ นสิทธิโดยชอบส่ วนบุคคล
ปรับปรุ งกฎหมายให้ ทนั สมัยตามยุโรป
• รศ. 127 ห้ ามทุกกรณีตามกฎหมายอาญา
• พ.ศ. 2500 ยุตไิ ด้ ในกรณีข่มขืน และสุขภาพผู้หญิง (ม.301305)
• พ.ศ. 2548 เพิ่มเรื่องสุขภาพใจ (ข้ อบังคับแพทยสภาตาม
ม. 301-305)
ประเทศไทยยุตก
ิ ารตัง้ ครรภ์ได ้
ในกรณีตอ
่ ไปนี้
1. การตงท้
ั้ องเป็นอ ันตรายต่อชวี ต
ิ และ
สุขภาพของผูห
้ ญิง
2. ผูห
้ ญิงมีอาการทางจิตก่อน หรือขณะตงั้
ท้อง
3. การตงท้
ั้ องเกิดจากการข่มขืน
4. การตงท้
ั้ องโดยทีผ
่ ห
ู ้ ญิงอายุตา่ กว่า 15 ปี
ข้ อ 1-3 ตามประมวลกฎหมายอาชญามาตรา 305 (1) (2)
และข้ อบังคับแพทยสภา 2548
ข้ อ 4 ตามประมวลกฎหมายอาชญามาตรา 276-284
บริการทางเลือก
สาหรับหญิงท้องไม่พร้อม
เยียวยา
สภาพจิตใจ
เด็กและสตรีที่ท้องไม่พร้อม
มีระบบดูแล
ต่อเนือ
่ ง
ปรึกษาทางเลือก
ยุตกิ ารท้ อง
วิธก
ี ารที่
ปลอดภ ัย
ท้ องต่ อ
ยกเป็ นบุตรบุญธรรม
เข้าใจ
ระบบ
บริการ
ดูแลเอง
้ งเดีย
-แม่เลีย
่ ว
้ งดูเด็ก
-การเลีย
ทางเลือก
๑. ท้องต่อ
• ท้องต่อ – ดูแลตนเอง ใช้ชีวิตตามปกติ
• ท้องต่อ- อยู่ในชุมชนไม่ได้ – เลี้ยงเด็กเอง
• ท้องต่อ – ยกมอบเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
• ท้องต่อ- ดูแลเด็กเอง ต้องการความช่วยเหลือ
อื่นๆ
๒. ยุติการตัง้ ครรภ์ ( อย่างปลอดภัย )
หน่ วยงานที่ให้บริการ “ปรึกษา”กรณี ท้องไม่พร้อม
• มูลนิธิเพื่อนหญิง
• สหทัยมูลนิธิ
• สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี ( บ้านพักฉุกเฉิน
ทุ่งสีกนั )
• คลินิกวัยรุ่น รพ.รามาธิบดี
กิจกรรมที่
“เลือกข้าง”
ทัศนะและการให้คณ
ุ ค่าเรือ่ งเพศในสังคมไทย
๑
• ลูกชายของท่านจะแต่งงานกับผูห้ ญิงที่
เคยมีเพศสัมพันธ์กบั ชายอื่นมาก่อน
– ลูกสาวของท่านจะแต่งงานกับ
ผูช้ ายที่เคยมีเพศสัมพันธ์กบั หญิง
อื่นมาก่อน
๒
• ฉันทาใจได้ถ้าเห็นลูกสาวยังโสดพก
ถุงยางอนามัย
– ฉันทาใจได้ถ้าเห็นลูกชายที่ยงั
โสดพกถุงยางอนามัย
๓
• ฉันทาใจได้ถ้าคู่ครองของฉันบอกว่า
ยังมีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่นอยู่เวลานี้
– หากพบว่าคู่ยงั มีเพศสัมพันธ์กบั
คนอื่นอยู่ ฉันทาใจไม่ได้ และจะ
ขอเลิกทันที
๔
• ถ้าตกลงเป็ นคู่ครองของใครแล้ว คุณ
จะไม่มีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่นอีกเลย
– ฉันจะบอกคู่ ถ้าไปมีเพศสัมพันธ์
กับคนอื่น
ความรู้สึก
• เป็ นห่วง
• รู้สึกคุณค่าของเพศต่างกัน
• เป็ นเรื่องของค่านิยมที่เลียนแบบ
• ลูกชายของท่านจะแต่งงานกับผูห้ ญิงที่เคยมีเพศสัมพันธ์กบั ชาย
อื่นมาก่อน
• ฉันทาใจได้ถ้าเห็นลูกสาวยังโสดพกถุงยางอนามัย
• ฉันทาใจได้ถ้าคู่ครองของฉันบอกว่ายังมีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่นอยู่
เวลานี้
• ถ้าตกลงเป็ นคู่ครองของใครแล้ว คุณจะไม่มีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่น
อีกเลย
คาถาม ๔ ข้อ สะท้อน ค่านิยมในเรื่องเพศ
ของสังคมไทยอย่างไรบ้าง ?
หญิง
• มีเพศสัมพันธ์ = ไม่บริสทุ ธ์ ิ ไม่ดี
• ไม่มีเพศสัมพันธ์ = บริสทุ ธ์ ิ
ชาย
• มีเพศสัมพันธ์ = เจ๋ง เป็ นเรื่องธรรมดา/
ธรรมชาติ ปลดเปลือ้ ง ปลดปล่อย ช่วย
ให้ผห้ ู ญิงมีความสุข
• ไม่มีเพศสัมพันธ์ = หายาก
• พกถุงยาง = ไม่ดี น่ าอายพร้อมมี
เพศสัมพันธ์
• พกถุงยาง = รับผิดชอบ ปกติ
• การมีเพศสัมพันธ์นอกคู่ = หยาม
เกียรติ
• การมีเพศสัมพันธ์นอกคู่ = เจ้าชู้แต่เนื้ อ
คู่เยอะ เรื่องธรรมดา
• มีจิตสานึ ก รักนวลสงวนตัว ต้อง
ซื่อสัตย์ มีคนเดียว ยอมรับได้กบั การ • เปลี่ยนรสชาติ, เป็ นเรืองธรรมดาของ
เจ้าชู้ของผูช้ าย
ผูช้ าย เป็ นโอกาส
คาถาม ๔ ข้อ สะท้อน เรื่องเพศของสังคมอย่างไร ?
• สังคมให้คณ
ุ ค่าไม่เท่าเทียมกัน ในเรือ่ งเพศ ผูช้ ายได้เปรียบมา
กว่าผูห้ ญิง ทัง้ ๆ ที่ทาพฤติกรรมเหมือนกัน แต่การตัดสิน
ต่างกัน
• ค่านิยมเกี่ยวกับทัศนะเหล่านี้ เปลี่ยนไป
• ทัศนะของ “เรา” กับ “เด็ก” ต่างกัน ?
ทัศนะเรื่องเพศในสังคมไทย
•
•
•
•
•
ชาย
เพศสัมพันธ์ก่อนแต่ง เป็ น
เรื่องธรรมดา ยอมรับ
แต่งแล้ว ยังมีกบั คนอื่น ก็เป็ น
เรื่องยอมรับ
ไม่มีข้อจากัดจานวนคนที่เคย
มีเพศสัมพันธ์ด้วย
ถ้าก่อนแต่ง ไม่เคยมี
เพศสัมพันธ์ = ไม่ปกติ
ต้องสอน/รู้เรื่องการป้ องกัน
•
•
•
•
หญิง
มีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่ง
= ไม่ดี ไม่เป็ นกุลสตรี
ไม่ควรมีกบั หลายคน
ควรมีเมื่อแต่งเท่านัน้
แต่งแล้ว ควรอยู่กบั คน
เดียวๆ ไปตลอด ต้องซื่อสัตย์
ต่อคู่
สังคมไทย เป็ นสังคม
“ผัวเดียว เมียเดียว”
จริงหรือ ?
กรอบ/กติกา/
บรรทัดฐานทางเพศ
เราไว้ใช้กบั ใคร ?
ถุงยาง
คือ อุปกรณ์คมุ กาเนิดชนิดเดียว
ที่ช่วยป้ องกันโรคและการติดเชื้อเอชไอวี
ถุงยาง + ผูช้ าย
= รู้จกั ป้ องกัน
= อุปกรณ์ของผูช้ าย
เปลี่ยนภาพลักษณ์ของถุงยาง ?
ถุงยาง + ผูห้ ญิง
= ไม่ดี, มีเพศสัมพันธ์
พกได้ เผือ่ ถูกข่มขืน แต่
พกไว้ใช้กบั แฟน ?
- ไม่ใช่เรื่องของผูห้ ญิง
• “การมีเพศสัมพันธ์” ถูกใช้ในการตัดสินคุณค่า
ความเป็ นคน (โดยเฉพาะของผูห้ ญิง)
• “ค่านิยม” เปลี่ยนไปตามยุคสมัย
• คนต่างรุ่น มีค่านิยม/ให้คณ
ุ ค่า กับเรื่องเพศ
ต่างกัน มีใครถูกใครผิดหรือไม่ ? หรือมีใครถูก
กว่ากันไหม ?
ทัศนะเรื่องเพศ
• แตกต่างระหว่างบุคคล
– การเรียนรู้/การหล่อหลอม
• แตกต่างในตัวคนๆ เดียว
ใคร
– เพศ, วัย, สถานภาพ
– ความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน จะเริ่มต้นเปลี่ยน ?
– เวลา, สถานที่
• เปลี่ยนได้
• การเปลี่ยนแปลงจะเริ่มต้นที่ไหน
– ระดับบุคคล/ระดับสังคม-โครงสร้าง