บทที่ 1 การรู้เท่าทันตนเอง

Download Report

Transcript บทที่ 1 การรู้เท่าทันตนเอง

บทที่ 1 การรูเ้ ท่าทันตนเอง
Art of Living With Other
การเรียนรูเ้ ท่าทันตนเอง
หนึ่งความรู้ ที่เท่าทันตนเอง และสองการรู้ เท่า
ทันผู้อื่น อันรวมไปถึงเข้ าใจและความเมตตากรุ ณาต่อ
ผู้อื่น จะต้ องควบคู่กัน ไปเสมอเพราะถ้ าเราเกิ ดความ
วิตกกังวล ความกลัว ความหยิ่งทะนงในศักดิ์ศรี และแม้
จะรู้ สึกต้ อยต่า เราอาจสูญเสียความรู้ ที่ป ระณีตในการ
เข้ าใจผู้อื่น ความอคติต่างๆ จะเข้ ามาแทนที่แ ทนความรู้
ทีอยู่
เพราะอะไรจึงต้องรูเ้ ท่าทัน
O รู้เหตุที่แท้ จริ งว่าคืออะไร
การแก้ ปั ญหาในชี วิตประจ าวันของเรา หลายครั ง้ ที่
เสียเวลาไปกับการแก้ ปัญหาที่ปลายเหตุ หรื อ ปั จจั ยอื่นที่
ไม่ได้ สง่ ผลโดยตรงให้ กบั ปั ญหา หากเราได้ พยายามรู้ เท่าทัน
ตัวเอง พยายามแก้ ไขปั ญหาตัวเอง ปั ญหาจะเกิดขึ ้นน้ อยลง
การวางรากฐานในการชีวติ ร่วมกันผูอ้ ่นื
O ควรวางรากฐานบนเงื่อนไข 3 เก่ ง
การวางรากฐานในการชีวติ ร่วมกันผูอ้ ่นื
O ควรวางรากฐานบนเงื่อนไข 2 ดี
อุปสรรคในการรูเ้ ท่าทันตนเอง
O ความกลัว
ในภาษิตธิเบตกล่าวว่า “ผู้ไม่ ระลึกถึง
ความไม่ เทีย่ งและความไม่ อาจเลี่ยงได้ ของ
ความตาย จะเป็ นดั่งราชินี”
อุปสรรคในการรูเ้ ท่าทันตนเอง
O ค่านิยมทางสังคม
หลายๆครัง้ ที่ต้องใส่หน้ ากาก ต้ องแสร้ ง
เก็บกดเอาไว้ เพื่อเป็ นที่ยอมรับทางสังคม จนไม่
เห็นโลกที่เป็ นจริ ง ดังนันเราควรจะซื
้
่อสัตย์ ใน
ระยะสันอาจไม่
้
เป็ นที่ยอมรับ แต่ในระยะยาว
คนจะเข้ าในตัวเรามากขึ ้น
ชนิดของการรูเ้ ท่าทัน
การไม่ร้ ู เท่าทันคือการปฏิเสธแก่นสารของ
ตัวเอง แก่นสารของความเป็ นมนุษย์ ปล่อยชี วิต
ให้ ลื่ น ไหลไปตามยถากรรม ให้ สัญ ชาติ ญ าณ
แบบเดียวกับสัตว์เป็ นตัวบงการการกระทา
ชนิดของการรูเ้ ท่าทัน
การรูเ้ ท่าทันในระดับต่า
O เปรี ยบได้ กบ
ั “สัญชาตญาณ” ในตัวมนุษย์
O การกระทาส่วนใหญ่มกั จะไม่ร้ ูตวั และเป็ นเหยื่อของอารมณ์ ที่ไม่
แน่นอนของตนเอง เช่น
O เมื่อกระทาสิ่งใดผิดพลาดแล้ วรู้ สึกเสียใจ เศร้ าใจมักจะพูดออกมา
ว่ า “ขอโทษ” อย่ างพร่ าเพรื่อ
O เมื่อกระทาสิ่งใดไปด้ วยแล้ วกลับรู้ สึกไม่ ดีขน
ึ ้ มามักจะบอกโทษสิ่ง
อื่นเช่ น “เหล้ ามันทาไม่ ใช่ เรา”
การรูเ้ ท่าทันในระดับกลาง
O สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตลอดเวลา รู้ตวั ตนแต่มีอาการกังวลเช่น
O ต้ องการอวดบางอย่ างเป็ นพิเศษ
O ถูกเหยียดหยามอย่ างไม่ ใยดี
O เมื่ออารมณ์ด้านลบหมดลงไป การรู้เท่าทันตัวเองจะกลับมาเป็ นปกติ
ภาพจาก : http://1.bp.blogspot.com/_gUzdvfejUPA/TJkqUjh7b2I/AAAAAAAABHU/mFlzonxqsDU/s1600/brag.jpg
การรูเ้ ท่าทันในระดับสูง
O อยู่บนพื ้นฐานของสมดุลไม่เอียงเอนใดๆ ไม่ทกุ ข์ไปกับมันและไม่สขุ จน
หลงระเริ งซึง่ แตกต่างจาก 2 ระดับก่อนหน้ านี ้ที่กล่าวมา
O เขาจะหาเหตุผลอย่างสมเหตุสมผลในการเอาชนะปั ญหา แก้ จดุ อ่อนได้
อย่างดี
บทบาทของการเรียนรูเ้ ท่าทัน
เมือ่ ใดทีค่ วรมีความรูเ้ ท่าทัน
O มาสโลว์ ได้ ลาดับขันความต้
้
องการของมนุษย์เป็ น 5 ขัน้
นิทาน : ตาแก่กบั อาชา
มี ชายแก่คนหนึ่ งได้เลี้ ยงม้าไว้ตวั หนึ่ งไว้ในฟาร์ ม คืนค่ าหนึ่ ง
พบว่าม้าที่ตนเองเลี้ยงไว้หายไปจากฟาร์ มของตน ชาวบ้านรอบข้างทราบ
ข่าวก็ต่างเดินมาแสดงความเสี ยใจในเรื่ องนี้
ชาวบ้ าน : พวกเราแสดงความเสี ยใจด้ วยนะทีม่ ้ าของท่ านหายไป
ตาแก่ : แกรู้ ได้ ไง! ว่ าเป็ นคราวเคราะห์ ร้ายของฉัน!
ชาวบ้านต่างตกใจและพากันกลับพร้อมที่ติฉินนินทาว่าตาแก่บา้ แน่
นิทาน : ตาแก่กบั อาชา
หลายวันผ่านไปม้าที่หายไป ก็ได้วิ่งกลับมาพร้อมฝูงม้าจานวน
หนึ่ ง ประหนึ่ ง ว่า ม้า ที่ ห ายไปหาจ านวนสมาชิ ก มาเพิ่ ม ไม่ นานนัก เมื่ อ
ชาวบ้านทราบข่าวก็ต่างกันมาแสดงความยินดี
ชาวบ้ าน : พวกเราแสดงความยินดีด้วยนะทีม่ ้ าของท่ านกลับมา
ตาแก่ : แกรู้ ได้ ไง! ว่ าเป็ นคราวเคราะห์ ดขี องฉัน!
ชาวบ้านต่างตกใจและพากันกลับพร้อมที่ติฉินนินทาว่าตาแก่บา้ แน่
นิทาน : ตาแก่กบั อาชา
ตาแก่ มี ลู ก ชายหนึ่ งคน วัน หนึ่ งลู ก ชายอยากจะขี่ ม ้า ที่ อ ยู่ใ น
ฟาร์ มแล้วเดินไปขี่มา้ แต่ดว้ ยความที่ มา้ มันพยศเลยทาให้ตกลงมาขาหัก
ชาวบ้านเมื่อทราบข่าวก็ต่างเดินทางมาแสดงความเสี ยใจ
ชาวบ้ าน : พวกเราแสดงความเสี ยใจด้ วยนะทีล่ ูกชายของท่ านขาหักแล้ ว
ตาแก่ : แกรู้ ได้ ไง! ว่ าเป็ นคราวเคราะห์ ร้ายของฉัน!
ชาวบ้านต่างตกใจและพากันกลับพร้อมที่ติฉินนินทาว่าตาแก่บา้ แน่
นิทาน : ตาแก่กบั อาชา
วันดีคืนดีเมื่อเกิดสงครามครั้งใหญ่ ทหารต้องการเกณฑ์คนไป
รบโดยต้องการผูช้ ายออกไปรบซึ่ งทั้งหมู่บา้ น ลูกชายต่างไปออกรบกัน
ยกเว้นบ้านของตาแก่ ชาวบ้านต่างทราบข่าวแล้วพามาแสดงความยินดี
ชาวบ้ าน : พวกเราแสดงความเสี ยใจด้ วยนะที่ลูกชายของท่ านไม่ ต้องออก
รบในสนามรบ
ตาแก่ : แกรู้ ได้ ไง! ว่ าเป็ นคราวเคราะห์ ดขี องฉัน!
นิทาน : ตาแก่กบั อาชา
นิ ทานที่ ได้นาเสนอไปเป็ นหนึ่ งในตัวอย่างของ “การรู้ เท่าทัน
ตนเอง” และจัดได้ว่าเป็ น “การรู ้เท่าทันตัวเองในระดับสู ง” เพราะไม่สุข
กับมันไม่ระทมจมปรั กกับมัน เป็ นนิ ทานที่ แสดงให้เห็ นและสะท้อนใน
บทนี้ได้เป็ นอย่างดีเรื่ องหนึ่ ง
The End of Chapter 1
ขอบคุณข้ อมูลเสริ มและนิทานสะท้ อนบทโดย อ.ชัชวาล ชิงชัย
จัดทาโดย นายเปรม ขาวทอง 5310553142