หลังการมีเพศสัมพันธ์

Download Report

Transcript หลังการมีเพศสัมพันธ์

การอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ :การเตรียมความพร้อมครู
ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม
วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕
ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว
การเรียนรู้ร่วมกันวันที่ ๑
กิจกรรมที่ ๑ รูจ้ กั กัน
กิจกรรมที่ ๒ เตรียมความพร้อมสู่การเรียนรู้
๒.๑ ชี้แจงวัตถุประสงค์
๒.๒ ข้อตกลงการเรียนรูร้ ว่ มกัน
กิจกรรมที่ ๓ สถานการณ์เรือ่ งเพศของวัยรุน่ “สถานี รเู้ ขารูเ้ รา
กิจกรรมที่ ๔ เพศวิถีและเพศศึกษารอบด้าน “เส้นชีวิต”
กิจกรรมที่ ๕ ธรรมชาติของวัยรุน่ “ย้อนรอยวัยรุน่ ”
กิจกรรมที่ ๖ ดูหนัง Freedom Writers
สิ่งสาคัญที่ได้เรียนรู้ ?
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวันวาน
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน • ธรรมชาติของวัยรุ่นเหมือนกัน
เห็นบทบาทของครู
ทุกยุคสมัย
ความแตกต่างในช่วงอายุ
• รับรู้ปัญหาของวัยรุ่นมีความ
แตกต่างในแต่ละคน การ
ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงในเรื่องเพศ
พฤติกรรมมีการปรับเปลี่ยนตามยุค แก้ปัญหา จึงต้องแก้ไปตาม
สถานการณ์
สมัย
• การให้ภมู ิ ค้มุ กัน และการ
• เห็นมุมมองชีวิตของวัยรุ่นและ
ช่วยเหลือดูแล(บารุงรักษา)
ผูใ้ หญ่
เพื่อให้เด็กปลอดภัย
• ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ในวัยรุ่น เช่นสภาพแวดล้อม,
เทคโนโลยี
•
•
•
•
•
เพศวิถี
Sexuality
เยาวชน กระบวนการเรียนรู้
เพศวิถี
หนัง Freedom
writers
เส้นชีวิต
Sexuality
รูจ้ กั กัน
เยาวชน กระบวนการเรียนรู้
ย้อนรอย
สถานี รเู้ ขารูเ้ รา
กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do
มี/ผ่านประสบการณ์
Reflect
สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้
Apply
วางแผนประยุกต์ใช้
Analyze/Synthesis
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์
เชือ่ มร้อยกับประสบการณ์ เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จาลอง” ในการเรียนรู้
จับกลุ่ม: เล่าเรือ่ งสมัย
วัยรุน่
Do
ทากิจกรรม/
การ
สร้างประสบการณ์ร่วม
นาไปใช้
กับการ Apply
Reflect
ทางานกับ ประยุกต์ใช้
สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้
เด็ก
Analyze/Synthesize
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป
เปรียบเทียบความเป็ นวัยรุ่นยุคก่อน: ยุคนี้
สไลด์โสเครติส
ลักษณะ
ความ
เป็ น
วัยรุ่น
สมัยเรา
ทิศทางเพศศึกษาในสถานศึกษา
คาตอบอยู่ที ่ ... ?
เราทุ
กคน..ลงมื
อทา
Act
now!
ปัจจัยเสีย่ ง:
สาเหตุของเพศสัมพันธ์ที ่
ไม่ป้องกัน
สังคม
วิถีชีวิตวัยรุน่
•พฤติกรรมทางเพศ
•เรือ่ งเพศที่วยั รุน่ สนใจ
•ช่องทางการเรียนรู้
ปัจจัยเสริม:
วัยรุน่ จะมีเพศสัมพันธ์ที่
ปลอดภัย/รับผิดชอบ ถ้า...
ความท้าทายของครู
ทางานเพศศึกษา
ทันเหตุการณ์
เนื้ อหา/วิธีการน่ าสนใจ
เจาะใจเด็ก คิดเป็ น
(ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน
วัน
เช้า (๐๘๓๐-๑๒๐๐)
บ่าย (๑๓๐๐-๑๗๐๐)
๑




ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์ (รวมห้อง)
รู้จกั กัน
ความคาดหวัง
สารวจสถานการณ์เรื่องเพศของวัยรุ่น
(สถานี ร้เู ขารู้เรา)
 เพศวิถี และเพศศึกษารอบด้าน
(เส้นชีวิต)
 ธรรมชาติวยั รุ่น และการลด
ช่องว่าง (ย้อนรอยวัยรุ่น)
 ข้อมูล/ความเชื่อเรื่องเพศ
 สะท้อนการเรียนรู้ท้ายวัน
๒




Recap
สร้างการเรียนรู้จากหนัง “ทางเลือก”
การสร้างการมีส่วนในการตัดสินใจ
ทางเลือกกรณี ท้องไม่พร้อม
 โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอช
ไอวี(แลกน้า)
 ข้อมูลเรื่องเอดส์ผ่านหนัง “หนึ่ ง
วันชีวิตบวก”
 ทัศนคติและค่านิยมเรื่องเพศ
(เลือกข้าง)
๓




Recap
คุณสมบัติของผู้ให้คาปรึกษา
ทักษะการฟัง
ทักษะการสะท้อน




๔
 Recap
ิ ิ
ทักษะการถาม
การให้คาปรึกษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การไม่ด่วนตัดสินผู้อื่น(อนุมาน)
 วางแผนแต่ละสถานศึกษา
คา่ (๑๙๐๐-๒๐๓๐)
 ดูหนัง
โครงการรณรงค์
สร้างความตระหนัก
เพื่อป้ องกันการตัง้ ครรภ์ไม่พร้อม
ในวัยรุน่ ในสถานศึกษา
วัตถุประสงค์ UpToMe
๑. พัฒนารูปแบบ และทดลองใช้ ชุดกิจกรรม UpToMe เพื่อลดความ
เสี่ยงในเรื่องเพศ และป้ องกันการตัง้ ครรภ์ไม่พึงประสงค์
๒. ให้เยาวชน ได้รบั ข้อมูล เกิดความตระหนัก
o สารวจความรู้สึกหากต้องเผชิญสถานการณ์ในเรื่องเพศ
o เรียนรู้ถึงบริบทอันนาไปสู่การตัง้ ครรภ์ไม่พึงประสงค์
o รับรู้ถึง วิธีลดความเสี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม
ผ่านกระบวนการสื่อสารผ่านกลุ่มเยาวชน โดยการถกเถียง ตัง้
คาถาม
๓. เพื่อให้ผบู้ ริหารโรงเรียน และครูในสถานศึกษาตื่นตัว เห็น
ความสาคัญ และเกิดความสนใจที่จะจัดให้เกิดการเรียนการสอน
เพศศึกษาในโรงเรียนอย่างต่อเนื่ อง
ดูหนังกัน
“ทางเลือก”
ตอนที่ ๑
การตัดสินใจ
กลุ่มที่ ๑ , ๒และ ๓ เป็ นออย
๑. ออยมีทางเลือกอะไรบ้าง
๒. แต่ละทางเลือกมีผลตามมา
อย่างไร
๓. ถ้าไม่อยากให้เกิดผลที่
ตามมาในแง่ลบ ออยจะทา
อย่างไร
กลุ่มที่ ๔, ๕ และ ๖ เป็ นธัญ
๑. ธัญจะตัดสินมีเพศสัมพันธ์
หรือไม่ เพราะอะไร
๒. การตัดสินใจแบบนัน้ จะมีผล
ตามมาอย่างไร
๓. ถ้าไม่อยากให้เกิดผลที่
ตามมาในแง่ลบ ธัญจะทา
อย่างไร
ทางเลือก
• ไป เพราะไม่กล้า/ไม่อยากปฏิเสธ • มีเพศสัมพันธ์ เพราะ
ธัญ, ชอบธัญ, รัก, เชื่อใจ,อยาก
สภาพแวดล้อมพาไป
ใกล้ชิด
ผลที่ตามมา....มี sex ครัง้ ต่อไป
ผลตามมา คือ พลาดได้ ท้องได้
• ไม่มีเพศสัมพันธ์...เพราะพ่อสอน
อารมณ์พาไป, ได้แฟนต่อ
มาดี จะได้ไม่มีปัญหาตามมา
ออยจะทาอย่างไร....ชวนเพื่อนไป
ด้วย, หักห้ามใจ, ไม่อยู่ในที่ลบั ตา
• ไม่ไป เพราะเพื่อนเตือน
ออยจะทาอย่างไร....ชวนไปเดินห้าง,
เที่ยวบ้านออย, อ้างประจาเดือน
กระบวนการตัดสินใจ
หา “โจทย์” ให้เจอ - - เรือ่ งที่เราต้องตัดสินใจ คืออะไร
คิดถึงทางเลือกทัง้ หมดที่มี
หาความเป็ นไปได้ของผลที่จะเกิดขึน้ จากแต่ละทางเลือก
ประเมินความเสี่ยงที่อาจมีของแต่ละทางเลือก
ประเมินว่าเราจะคิด/รูส้ ึก/เผชิญ/รับผิดชอบ กับผลที่
ตามมาจากการตัดสินใจเราได้หรือไม่ อย่างไร
ทัง้ ถ้าผลไม่เป็ นไปตามที่เราคาด เราได้เตรียมการณ์ไว้
อย่างไรหรือไม่
ตัดสินใจ
วัตถุประสงค์
กิจกรรมตอนที่ ๑: ทางเลือก ทางไหน
๑. ประเมินโอกาสเสี่ยงในการมีเพศสัมพันธ์ของ
วัยรุ่น การเตรียมคิดและเตรียมการณ์ เรื่องการ
ป้ องกัน/มันใจว่
่ าจะมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย
๒. เห็นทางเลือกที่รอบด้าน และผลที่ตามมาในการ
ตัดสินใจ
๓. บอก “ทางเลือก” ที่เหมาะกับตัวเรา และเรา
สามารถทาได้จริง
กิจกรรมชุดที่ ๑ : ทางเลือก ทางไหน ?
จับฉลากโจทย์
๑. ถ้าเป็ น “ออย” ตัดสินใจ “ไม่ไป” จะบอกธัญอย่างไรโดยไม่
โกรธกันและยังรักกันเหมือนเดิม
๒. ถ้าเป็ น “ออย” ตัดสินใจ “ไป” จะไปอย่างไรโดยไม่ให้มีเซ็กส์
๓. ถ้าเป็ น “ออย” ตัดสินใจ “ไป” หากมีเซ็กส์ จะแน่ ใจได้
อย่างไรว่าจะปลอดภัย (ต้องทาอย่างไร, เตรียมอะไร อย่างไร
, ใครเตรียม)
๔. หากออย “ไม่ไป” “ธัญ” จะชวนต่ออย่างไร
๕. ถ้าออยไป “ธัญ” คิดว่า จะมีเซ็กส์ หรือไม่
บทสรุป
• ทางเลือกของเราแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน แต่
ที่สาคัญคือ เราต้องคิดให้รอบด้านก่อนตัดสินใจ
เลือก หากเราเห็นทางเลือกที่หลากหลาย และ
ได้คิดถึงผลที่จะตามมาของแต่ละทางเลือก จะ
ช่วยให้เราตัดสินใจ และเตรียมตัวได้ดีขึน้
ดูหนังกัน
“ทางเลือก”
ตอนที่ ๒
Sex Quiz
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
ประจาเดือนมาวันที่ ๑๘-๒๒ มกราคม ระยะปลอดภัยในการร่วมเพศ ที่
เรียกว่าการนับ หน้ า ๗ หลัง ๗ คือวันที่ ........... และ ...........
ยาคุมฉุกเฉินสามารถป้ องกันการตัง้ ครรภ์ภายหลังร่วมเพศได้ แต่ต้อง
กิน เม็ดแรก ภายใน ....... ชัวโมงหลั
่
งจากมีเพศสัมพันธ์ และกินเม็ดที่
สอง ภายใน ........ ชัวโมง
่
หลังจากเม็ดแรก ซึ่งจะป้ องกันได้ ........%
ระยะเวลาที่สามารถยุติการตัง้ ครรภ์ได้อย่างปลอดภัย คือ เมื่ออายุ
ครรภ์ไม่เกิน ........... สัปดาห์ นับจากวันที่ประจาเดือนมาครัง้ สุดท้าย
หญิงและชายมีเพศสัมพันธ์อายุตา่ กว่า .................. ปี ถือว่าผิดกฎหมาย
การหลังภายนอก
่
คือ วิธีการป้ องกันการตัง้ ครรภ์ที่มีโอกาสผิดพลาดได้
มาก ใช่หรือไม่
การนับ “ระยะปลอดภัย” หรือ “หน้ าเจ็ดหลังเจ็ด”
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐ ๑๑ ๑๒
๑๓
๑๔
เริ่มมีประจาเดือนวันแรก
๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙
๒๐ ๒๑
๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
๒๗
๒๘
๒๙ ๓๐ ๓๑ ๑
๓
๔
๒
การนับ “ระยะปลอดภัย” หรือ “หน้ าเจ็ดหลังเจ็ด”
๑
๒
๓
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐ ๑๑ ๑๒
๑๓
๑๔
๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙
๒๐
๒๑
๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
๒๗
๒๘
หน้ าเจ็ด
๔
หลังเจ็ด
• ใช้ไม่ได้กบั ทุกคน ต้องเป็ นคนมีรอบเดือนสมา่ เสมอ (เช่น มาทุก ๒๘ วัน)
• นับให้ถกู ยึดวันที่ประจาเดือนมาวันแรกในการนับ
• ไม่ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคทางเพศสัมพันธ์
Sex Quiz
๖. ในการกินยาคุมกาเนิดครัง้ แรก (แผงแรก) ต้องกินเม็ดแรก ภายใน ............. วัน นับจาก
วันที่มีประจาเดือนวันแรก แต่จะมีผลป้ องกันการตัง้ ครรภ์ได้ หลังจากกินไป ............ วัน
๗. การกินยาเม็ดคุมกาเนิดชนิดแผง ต้องกินติดต่อกันทุกวัน
- ถ้าลืมกิน ๑ วัน ให้กิน ๒ เม็ดในวันรุ่งขึน้ ใช่หรือไม่
- ถ้าลืมกิน ๒ วัน ให้กิน ๒ เม็ด ในวันที่สาม และอีก ๒ เม็ดในวันที่สี่ ใช่หรือไม่
๘. การสวมถุงยางอนามัยเมื่อร่วมเพศ สามารถป้ องกัน
ก. เอดส์ ข. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ค. การตัง้ ครรภ์ ง. มะเร็งปากมดลูก
จ. ถูกทัง้ ก ข และ ค
ฉ. ถูกทุกข้อ
๙. จงบอก website ภาษาไทยที่สามารถให้คาปรึกษาเรื่องเพศได้ตามหลักวิชาการ
๑๐. จงบอกหน่ วยงานและเบอร์โทรศัพท์ที่สามารถให้คาปรึกษาเรื่องสุขภาพทางเพศ และ
การตัง้ ครรภ์โดยไม่พร้อมในจังหวัดของเรา อย่างน้ อย ๒ แห่ง
วัตถุประสงค์
จกรรมตอนที่ ๒: รู้ทนั ก่อนเลือก
๑. สารวจเรื่อง โอกาสเสี่ยงในการใช้ชีวิตทางเพศ วิธี
ป้ องกัน/เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย และความ
รับผิดชอบในสัมพันธภาพ ผ่านตัวละครเป้ งกับ
แหวว
๒. ฝึ กวิธีการบอกความรู้สึก/สื่อสาร ให้เพื่อนรับรู้
ความรู้สึก/ความห่วงใยของเรา
๓. ทบทวน และเพิ่มเติม ความรู้เรื่องเพศ
กิจกรรมชุดที่ ๒ : “รูท้ นั ก่อนเลือก”
จากที่เราเห็นการใช้ชีวิต (ทางเพศ) ของเป้ ง และแหวว
ก. อยากบอก “แหวว” ว่า ....
ข. อยากบอก “เป้ ง” ว่า ....
(ชวนคุยเพิ่มเติม:
ถ้าเป็ นแหวว เราจะทาได้แบบแหววไหม? (บอกเป้ ง, พกถุงยาง,)
แจกแผ่ น Quiz ให้ แต่ ละคนทำ (หรืออยู่ในสมุดโน๊ ต
ดูหนังกัน
“ทางเลือก”
ตอนที่ ๓
กิจกรรมชุดที่ ๓ : “เลือกแล้ว รับผิดชอบ”
๑. ถ้าเราตกอยู่ในสถานการณ์ “ท้องไม่พร้อม” เราจะ
เลือกทางไหน เพราะอะไร และจะเตรียมตัว
อย่างไรกับทางที่เลือก ?
๒. ถ้า “ออยกับธัญ” เป็ นลูกศิษย์เรา และเลือกทา
แท้ง เรารู้สึก/คิดยังไง
๓. ถ้า “ออยกับธัญ” เป็ นลูกศิษย์เรา และเลือกท้อง
ต่อ เรารู้สึก/คิดยังไง
สถานการณ์ “ท้องไม่พร้อม”
• ทาแท้ง : อาย, รูส้ ึกผิด, ไม่มีทางเลือก, อยากเรียนต่อ
• ตัง้ ครรภ์ :ปรึกษาผูป้ กครอง, ไม่ผิดศีลธรรม, ความรับผิดชอบ
ของผูช้ าย
• การตัดสินใจควรมาจากเด็กกับครอบครัว โดยที่ครูเป็ นเพียงผู้
ชี้แนะ, ดูอายุครรภ์
• เด็กเลือกทาแท้ง: บอกกับเด็กเป็ นบาปติดตัว, เศร้า, แย่ ,
ผิดหวัง, ยอมรับ, อยู่คียงข้างเด็ก, แนะนาว่าจะทายังไงต่อไป,
ผิดศีลธรรม, เสียใจ, เป็ นห่วง, ฟังเหตุผล
• เด็กเลือกท้องต่อ: รูส้ ึกดี, ดีใจที่เลือกชีวิตมากกว่าฆ่าชีวิต, ดีที่มี
คุณธรรม, ไม่ทาร้ายเด็กและตัวเอง
วัตถุประสงค์
ตอนที่ ๓: เลือกแล้ว รับผิดชอบ
๑. สารวจ และสะท้อน ถึง ปฏิกิริยา และวิธีปฏิบตั ิ ที่
ไม่ทาร้าย คนท้องไม่พร้อม
๒. รู้ทางเลือกที่ “ปลอดภัย” ในการจัดการหาก
เผชิญสถานการณ์ ท้องไม่พร้อมและรู้แหล่งให้
คาปรึกษา บริการสุขภาพทางเพศ
๓. แสวงหาคาปรึกษาจากผูใ้ หญ่ที่ไว้ใจ
กิจกรรมชุดที่ ๓ : “เลือกแล้ว รับผิดชอบ”
ถ้า “ออยกับธัญ”
เลือก...
ก. ทาแท้ง
ข. ท้องต่อ
ในฐานะ ...... จะบอก/ปฏิบตั ิ
กับ “ออยและธัญ” อย่างไร ?
• แต่ละทีมจับฉลากบท
o พ่อแม่ออย
o พ่อธัญ
o เพื่อนสนิท (เลือก แหวว, กุ้ง,
อุ่น, เป้ ง, หรือ ตัม้ )
o ครูนันทา
o เพื่อนในห้อง/ในโรงเรียน
กิจกรรมรวม กลุ่มใหญ่
• สรุปการดูหนัง และกิจกรรมทัง้ ๓ ส่วนสัน้ ๆ
• ชวน “คนท้อง” ๔ คน คุย...
o รู้สึกอย่างไร ?
o ถ้าท้องจริง จะทาอย่างไร ใช้ชีวิตทากิจกรรมตามปกติ ได้
ไหม ?
o มีข้อแนะนากับเพื่อนที่อาจจะท้องโดยไม่พร้อมอย่างไร ?
กิจกรรมสุดท้าย....รายบุคคล
แจกกระดาษ ให้แต่ละคนตอบ
๑.ได้อะไรจากหนัง ?
๒.ชอบตัวละครตัวไหนมากที่สดุ
เพราะอะไร ?
แนะนาแหล่งข้อมูลและบริการ
• บริการ lovecare หรือบริการปรึกษาในจังหวัด บอก
เบอร์โทรศัพท์
• Websites เรื่องเพศ
www.teenpath.net
www.lovecarestation.com
www…….
• การเรียนรู้เพศศึกษา
• การสารวจสถานการณ์การทาแท้งในประเทศไทย
2542 จากรพ.รวม 757 แห่ง; ** จากจานวนผูป้ ่ วยแท้ง
45,990 ราย
– ทาแท้งเอง
– แพทย์ทาให้ในโรงพยาบาลรัฐ
– ผูอ้ ่ืนทาให้
ประเทศไทยยุติการตัง้ ครรภ์ได้ ในกรณี ต่อไปนี้
๑. การตัง้ ท้องเป็ นอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพของ
ผูห้ ญิง
๒. ผูห้ ญิงมีอาการทางจิตก่อน หรือขณะตัง้ ท้อง
๓. การตัง้ ท้องเกิดจากการข่มขืน
๔. การตัง้ ท้องโดยที่ผห้ ู ญิงอายุตา่ กว่า ๑๕ ปี
ข้ อ ๑-๓ ตามประมวลกฎหมายอาชญามาตรา ๓๐๕ (๑) (๒)
และข้ อบังคับแพทยสภา ๒๕๔๘
ข้ อ ๔ ตามประมวลกฎหมายอาชญามาตรา ๒๗๖-๒๘๔
วิธีกำรทำแท้ งทีผ่ ู้หญิงเลือกใช้
ทุบท้ อง บีบท้ อง
กินยำขับเลือดตำมสู ตรทีไ่ ด้ ยนิ มำ
ประจำเดือนขำด
ปรึกษำร้ ำนขำยยำ
จำก กนกวรรณ ธรำวรรณ 2544
ทดสอบ
ว่ ำตั้งท้ องจริ ง
(ทดสอบเอง)
เหน็บยำ
เหน็บเอง เหน็บใน
สถานพยาบาล
สถำนที่บริกำรทำแท้ ง
เหน็บยำ
ปรับประจำเดือนขูด
ให้ สำรเร่ งบีบมดลูก
มดลูก
ฯลฯ
วิธีการทาแท้งที่ปลอดภัย
วิธียตุ ิ การตัง้ ครรภ์ที่ปลอดภัยภายใต้การดูแลของแพทย์
๑. การดูดเนื้ อรกจากโพรงมดลูก (MVA)
วิธีการนี้ สามารถทาได้จนถึงอายุครรภ์ประมาณ
๑๐-๑๒ สัปดาห์ อุปกรณ์ ที่ใช้งานดังกล่าวนี้ มี
ลักษณะเป็ นหลอดพลาสติกขนาดต่างๆ ประกอบคู่
กับกระบอกดูดสุญญากาศ เมื่อแพทย์สอดหลอด
พลาสติกเข้าไปในโพรงมดลูกแล้ว สามารถดูดชิ้น
เนื้ อออกจากโพรงมดลูกได้ ซึ่งสามารถทาให้เกิด
การแท้งสมบูรณ์ได้เกือบร้อยละ ๑๐๐
วิธียตุ ิ การตัง้ ครรภ์ที่ปลอดภัยภายใต้การดูแลของแพทย์
๒. การใช้ยายุติการตัง้ ครรภ์ แบ่งออกได้เป็ น ๒ ประเภท คือ
• การใช้ยา Mifepristone (RU486) ร่วมกับ Misoprostol
ในช่วงอายุครรภ์ก่อน ๙ สัปดาห์ ซึ่งมีอตั ราการแท้ง
สมบูรณ์ได้มากกว่าร้อยละ ๙๕ ซึ่งสูตรการใช้ยาแบบนี้
ได้รบั การรับรองโดยองค์การอนามัยโลก (WHO)
• การใช้ยา Misoprostol เพียงอย่างเดียว ในกรณี ที่อายุ
ครรภ์อยู่ในช่วง ๑๒-๒๐ สัปดาห์ สามารถทาให้เกิดการ
แท้งสมบูรณ์ได้มากกว่าร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป
ไมม่ ีผหู้ ญิงคนไหนใน
โลกนี้ ที่ตงั ้ ใจท้อง
เพื่อ จะไปทาแท้ง
ได้คิด ได้ตดั สินใจ
ระดับกำรมีส่วนร่ วม...
ระหว่ ำงเด็กกับผู้ใหญ่
ได้คิด ไม่ได้ตดั สินใจ
ไม่ได้คิด ไม่ได้ตดั สินใจ
จาก... หนังสือการมีส่วนร่วมของเด็ก..การทาพอเป็ นพิธีส่คู วามเป็ นประชาชน
การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก
• ต้องเชื่อว่า ทุกคนมีต้นทุนที่ดี
• มองทะลุปัญหา หา “ของดี - ต้นทุน” ในตัว
• ทาให้เยาวชนเห็น “ต้นทุน” ที่ตวั เองมี ได้
ลองใช้ และรู้ว่าจะใช้อย่างไรในอนาคต
• ภารกิจระยะยาว ต้องการความมุ่งมัน่ รอคอย
การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก
(Positive youth Development)
• “การสร้างต้นทุนชีวิตของเยาวชน จึงมีความจาเป็ นอย่างมากและ
เป็ นเครื่องมือที่จะช่วยให้เยาวชน ครอบครัวและสังคมเกิด
ภูมิค้มุ กันที่แข็งแรงเพื่ออนาคตของประเทศชาติต่อไป”
• “การดูแลป้ องกันสุขภาพทัง้ กายใจและสังคมของเยาวชน ไม่
เพียงแต่ป้องกันเยาวชนในยุคปัจจุบนั แต่ยงั ช่วยสร้างผูใ้ หญ่ที่มี
คุณลักษณะที่ดีในอนาคตด้วยและเป็ นสิ่งที่ท้าทายผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ
การดูแลสุขภาพเยาวชนเป็ นอย่างมากในการที่จะเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมเสี่ยง”
“วันนี้ คณ
ุ จับถูก (ไม่ใช่จบั ผิด) คนที่คณ
ุ รักและคนรอบข้างคุณ
แล้วหรือยัง ?”
กิจกรรม : ใครเอ่ย
(ข้อเท็จจริงและความเชือ่ เรือ่ งเพศ)
๓. ความสุขทางเพศขึน้ อยู่กบั ขนาดของอวัยวะเพศชาย
เป็ นความเชื่อ ว่า ต้องใหญ่, ยาว
ถ้าเชื่อ ผล= ?
• ผูช้ ายกังวลเรื่องขนาด เสีย
ความมันใจ
่
• นาไปสู่การดัดแปลงอวัยวะเพศ
ฉี ดน้ามันมะกอก, ฝังมุก - มีผล
ต่อสุขภาพ
• ละเลยความรู้สึก/ความสุขของ
ผูห้ ญิง
• ส่งเสริมธุรกิจ เช่น ยาทน
ข้อเท็จจริง:
• ไม่เกี่ยวกับขนาด
• ความสุขขึน้ อยู่กบั
– ความพึงพอใจของทัง้
สองฝ่ าย
– เทคนิค
– การพูดคุยบอกความ
ต้องการของตนเอง
๗. หญิงบริสทุ ธ์ ิ ต้องเลือดออกเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครังแรก
้
เป็ นความเชื่อ
ความเชือ่ นี้ ส่งผลต่อ การให้คณ
ุ ค่าต่อผูห้ ญิงบริสทุ ธิ ์ ซึง่ ก่อให้เกิดความเชือ่
ชุดใหม่ในเรือ่ งวิธีการบอกว่าหญิงคนไหนเคยมีเพศสัมพันธ์มาก่อน เช่น
- ผูช้ ายคิดว่าบอกได้ว่าใครซิง จึงไม่ใช้ถงุ ยาง
- ผูห้ ญิง หาวิธี ทีท่ าให้มีเลือดออก เพือ่ แสดงความบริสทุ ธิ ์
- การระแวงในความสัมพันธ์ หรือ ไม่ป้องกันเพราะมันใจว่
่ าซิง
ข้อเท็จจริง:
เยือ่ พรหมจรรย์ เหมือนส่วนอืน่ ๆ ทีผ่ ห้ ู ญิงแต่ละคนไม่เหมือนกัน และไม่
จาเป็ นทีจ่ ะต้องมีเลือดออกเมือ่ มีเพศสัมพันธ์ครัง้ แรก
๑๓. ความต้องการทางเพศของชายมีมากกว่าหญิง
เป็ นความเชือ่ ซึง่ ส่งผล:
 ชายมีความต้องการแล้วต้องปลดปล่อย
(เปลีย่ นคู่นอน, มีค่หู ลายคน, ข่มขืน, มีเมียน้ อย, ฯลฯ)
 หญิง ถูกสอนว่า ไม่ควรแสดงออกหากต้องการ
ข้อเท็จจริง:
 ความต้องการทางเพศ ทัง้ หญิงชายมีเหมือนกัน
 ส่วนเรือ่ งมาก/น้ อยเป็ นเรือ่ งของบุคคล
 สังคม กาหนดให้หญิงชายแสดงออกในเรือ่ งเพศได้ต่างกัน
๘. วิธีการกินยาคุมฉุกเฉิน (โพสตินอร์,มาดอนนา, แมรีพิงค์)
• ต้องกิน ๒ เม็ด
•
•
•
•
•
•
– เม็ดแรก กินทันทีหรือภายใน ๗๒ ชัวโมง
่
(สามวัน) หลังการมี
เพศสัมพันธ์ (ยิ่งกินเร็วยิ่งมีประสิทธิภาพ) เม็ดที่สอง กินหลังเม็ด
แรก ๑๒ ชัวโมง
่
– หรือ กินทัง้ ๒ เม็ดพร้อมกัน
– ระหว่างเม็ดที่ ๑ และ ๒ ไม่ควรมีเพศสัมพันธ์
กินถูกวิธี มีประสิทธิภาพป้ องกันการตัง้ ครรภ์ ๘๕-๘๘%
ปริมาณฮอร์โมน ๔ เม็ด เท่ากับยาคุม ๒๑ เม็ด
อาจมีผลข้างเคียงต่อผูห้ ญิง
ใช้ในกรณี ฉุกเฉินเท่านัน้ ไม่ควรใช้เป็ นวิธีการคุมกาเนิดประจา
ยานี้ ทาให้ผนังมดลูกหนาขึน้ ไม่ให้อสุจิฝังตัว
ไม่ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ยาคุมฉุกเฉิน
Emergency Contraception:
Progestin-Only Oral
Contraceptives
Pill
Pill Regimen
Regimen
within
within 72
72 hours
hours
after
after unprotected
unprotected
intercourse
intercourse
first
first dose
dose
750
750mcg
mcglevonorgestrel
levonorgestrel
12 hours
repeat
repeat dose
dose
750
750mcg
mcglevonorgestrel
levonorgestrel
เกิน ๗๒ ชัวโมง
่
แต่ไม่เกิน ๑๒๐ ชัวโมง
่
• ใช้ ยาคุมกาเนิดฉุกเฉิน
พร้อมกัน ๒ เม็ด
• อัตราการตัง้ ครรภ์
เพิ่มเป็ น ๒.๔๔ %
ยาคุมฉุกเฉิน
Emergency Contraception:
Progestin-Only Oral
Contraceptives
Pill
Pill Regimen
Regimen
การใช้ยาเม็ดคุมกาเนิดหลายเม็ดรวมกัน
• ป้ องกันการตัง้ ครรภ์ได้ ๗๕%
• กิน ๒ ครัง้ ห่างกัน ๑๒ ชัวโมง
่
• มีอาการข้างเคียงสูง (คลื่นไส้ อาเจียน)
Pill
Pill Regimens
Regimens
within
within 72
72 hours
hours
after
after unprotected
unprotected
intercourse
intercourse
first
first dose
dose
within
within 72
72 hours
hours after
after
unprotected
unprotected intercourse
intercourse
low-dose
low-dose
pills
pills
high-dose
high-dose
pills
pills
750
750mcg
mcglevonorgestrel
levonorgestrel
12 hours
12 hours
repeat
repeat dose
dose
repeat
repeat dose
dose
12 hours
repeat
repeat dose
dose
750
750mcg
mcglevonorgestrel
levonorgestrel
Emergency Contraception:
Combined Oral Contraceptives
วิธีการกินยาคุมกาเนิด
• ยาคุมกาเนิดชนิดเม็ดมี ๒ แบบ คือ แบบ ๒๑ เม็ด และแบบ ๒๘ เม็ด ซึ่งมี
ประสิทธิภาพไม่แตกต่างกัน
• ยาคุมชนิด ๒๘ เม็ด เม็ดยาที่เพิ่มขึน้ มา ๗ เม็ดเป็ นวิตามินที่ช่วยให้กินยา
ต่อเนื่ องโดยไม่ต้องเว้นระยะเมื่อหมดแผง
• วิธีการกินยาคุม แผงแรก ให้เริ่มกินเม็ดแรก ภายใน ๕ วันแรกของการมี
ประจาเดือน แล้วกินติดต่อกันทุกวัน วันละ ๑ เม็ดจนหมดแผง
• สาหรับยาคุม ๒๑ เม็ด เมื่อกินหมดแผง ให้เว้นไป ๗ วันแล้วจึงเริ่มแผงใหม่
ส่วนยาคุม ๒๘ เม็ด ให้กินแผงใหม่ติดต่อไปได้เลย
• ถ้าลืมกิน ๑ วัน ให้กิน ๒ เม็ดในวันถัดไป
• ถ้าลืมกิน ๒ วัน ให้กิน ๒ เม็ดในวันที่สาม และอีก ๒ เม็ดในวันที่ ๔
• ถ้าลืมกิน ๓ วันขึน้ ไป ควรหยุดกินยาคุมแผงนัน้ ไปเลย และใช้วิธีคมุ กาเนิด
ชนิดอื่นก่อน เช่น ใช้ถงุ ยาง แล้วจึงเริ่มกินแผงใหม่ในการมีประจาเดือนรอบ
ถัดไป
• แม้ผห้ ู ญิงจะเป็ นคนกินยาคุม แต่ผช้ ู ายควรมีส่วนร่วมในการช่วยเตือนให้กิน
ยาต่อเนื่ อง
การใช้ถงุ อนามัยผูห้ ญิง (Female Condom)
๑๔. ตรงนัน้ ของผูห้ ญิงสกปรก
• โดยธรรมชาติ ทุกคนมีกลิ่นเฉพาะตัว
• กลิ่นที่ผิดปกติ เป็ นเพราะมีการติดเชื้อ ควรสังเกต
ถ้าเชื่อว่าสกปรก
๑๒. ควรใช้น้ายาทาความ
สะอาดอวัยวะเพศหญิง
• การทาความสะอาด ใช้น้าสะอาดก็พอ
• ในช่องคลอดมีแบคทีเรีย โดยธรรมชาติที่รกั ษาความ
สะอาด รักษาสมดุลย์ในช่องคลอด
• การใช้น้ายาทาความสะอาด จะทาให้เสียสมดุลย์ และ
ทาลายแบคทีเรียที่มีโดยธรรมชาติ
• การสื่อสาร/ให้
ข้อมูลที่
ถูกต้อง
• ช่องทางการ
เรียนรู้
• ความสะดวก
ใจของคน
ถ่ายทอด
• การแยกแยะ
ข้อเท็จจริง/
ความเชื่อใน
การสื่อสาร
เรื่องเพศ
ข้อมูล/
ข้อเท็จจริง
ความเชื่อ
ผลกระทบของ
- ความรู้/ข้อมูลผิดๆ
- ความเชื่อผิดๆ
“แลกน้า”
“แลกน้า”
• เป็ นตัวอย่างของการออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้เพื่อสร้างความตระหนัก
• โดยจัดสถานการณ์จาลอง หรือประสบการณ์
จาลองให้ผเู้ ข้าอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
• และเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึน้ จากกิจกรรมการ
เรียนรู้ไปเทียบเคียงกับสถานการณ์ที่อาจ
เกิดขึน้ ในชีวิตจริงของผูเ้ ข้าอบรม
โจทย์กิจกรรม “แลกน้ า”
• คนคิดว่า เพศสัมพันธ์ของตัวเองไม่เกี่ยวกับเอดส์ (ไกลตัว)
• ภาพในใจ/การรับรูเ้ รื่องเอดส์ ในสังคมโดยทัวไป
่
– “คนที่มีเชื้อ” v.s. “ผูป้ ่ วยเอดส์”
– “กลุ่มเสี่ยง” ไม่ใช่ “เรา”
• คนประเมินความเสี่ยงพลาด จะไม่นาไปสู่การป้ องกัน
• การรณรงค์ที่ผา่ นมาทาให้คนเข้าใจผิด
– “สาส่อนทางเพศ ติดเอดส์แน่ นอน”
– “รักเดียวใจเดียว ปลอดภัยจากเอดส์”
– “ตรวจเลือดก่อนแต่ง เพือ่ ความมันใจ
่ (ว่าจะไม่ติดเชื้อ)”
แลกน้ า
วัตถุประสงค์:
๑. เข้าใจเรื่องการแพร่ระบาดของเชื้อ
เอชไอวีทางเพศสัมพันธ์
๒. ให้สามารถประเมินโอกาสเสี่ยงของ
ตนเองต่อการติดเชื้อเอชไอวีในวิถี
ชีวิต
๓. เห็นทางเลือกในการป้ องกัน/ลด
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี
ขัน้ ตอนสาคัญ
• แจกน้า – ให้สงั เกตน้าว่า เหมือนต่างจากแก้วเพื่อน ?
(เพือ่ เชือ่ มโยงให้เห็น น้ าใสๆ = การมีเชื้อ HIV)
• เก็บน้าตัวอย่าง
(เพือ่ พิสจู น์ ให้เห็นเริม่ ต้น มีแก้วทีม่ ีเชื้อกีใ่ บ)
• แบ่งกลุ่ม : กลุ่มอาสาสมัคร (แลก ๑ ครัง้ ) และ กลุ่ม
ใหญ่ (แลกหลายครัง้ )
(เพือ่ เปรียบเทียบ การมีเพศสัมพันธ์ครัง้ เดียว/คนเดียว
กับ หลายครัง้ /หลายคน)
แลกน้า
• การแลกน้า = การมีเพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน
• อาสาสมัคร (๔ คน) = ผัวเดียวเมียเดียว, รักเดียว
ใจเดียว มีเพศสัมพันธ์ครัง้ แรก, ครัง้ เดียว
• กลุ่มใหญ่ (แลกน้า ๕ ครัง้ ) (๒๔ คน) = เปลี่ยนคู่
นอนหลายคน
• เลือกคู่จาก...ความมันใจ,
่ เลือกเอง, หน้ าตาดี, ใช้
การสังเกต, ไว้ใจ
• อาสาสมัคร ๔ คน • คนส่วนใหญ่ ๒๔ คน
• แลก ๑ ครัง้
• แลก ๕ ครัง้
เปลี่ยนสี ๑ คน
เปลี่ยนสี = ๑๒คน
ไม่เปลี่ยนสี = ๓ คน ไม่เปลี่ยนสี = ๑๒ คน
เริ่มจาก ๑ แก้ว แพร่ระบาดไป ๑๓ คน
แลกน้า
เครือข่าย
การมีเพศสัมพันธ์
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือ
มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
กับผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวี
ซึ่งดูไม่ออก
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือ
มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
กับผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวี
ซึ่งดูไม่ออก
ใครมีโอกาสทาพฤติกรรมแบบนี้ บา้ ง
x
กลุ่มเสี่ยง
•
•
•
•
มีเพศสัมพันธ์กบั คนขายบริการ
คนเที่ยวบริการทางเพศ
เพศสัมพันธ์กบั เพศเดียวกัน
พวกสาส่อน
“พฤติกรรมเสี่ยง” (ไม่ว่าใครทา)
= มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับ
ผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก
การลดโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีทางเพศสัมพันธ์ คือ ?
•
•
•
•
•
•
ไม่สาส่อน/ไม่เปลี่ยนคู่นอน
ยับยัง้ ชังใจ
่ ไม่มีเพศสัมพันธ์
รักเดียวใจเดียว
ป้ องกันโดยใส่ถงุ ยางอนามัยทุกครัง้ กับทุกคน
บวชเป็ นพระ/ไม่มีเพศสัมพันธ์
ตรวจเลือดก่อนมีเพศสัมพันธ์/แต่งงาน?
แลกน้า
Do
ทากิจกรรม/
สร้างประสบการณ์
ร่วม Reflect
การ
ป้ องกัน Apply
ประยุกต์ใช้
ตรวจเลือด
สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้
Analyze/Synthesize
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป
เชื่อมโยงกับชีวิตจริง
กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์
การป้ องกันการติดเชื้อเอชไอวี
• ไม่มีเพศสัมพันธ์ตลอดชีวิต
• ซื่อสัตย์ต่อกัน
(มีค่เู พียงคนเดียวทัง้ สองฝ่ าย)
• ใช้ถงุ ยางป้ องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์ทุกครัง้
กับทุกคนที่ไม่มนใจว่
ั ่ ามีเชื้อหรือไม่
ไม่มี
คุยกับคู่
มีให้ปลอดภัย
วิธีที่ดีที่สดุ – วิธีที่ทาได้จริง
ตรวจเลือด
วันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
๑ มกรา
๓ เดือน
๑ เมษา
ฟ
๑๔ กุมภา ?
ตรวจเลือด ?
• ผลเลือดบวก = ได้รบั เชื้อเอชไอวี
• ผลเลือดลบ = ๑. ยังไม่ได้รบั เชื้อ
๒. รับเชื้อแล้ว แต่ยงั ตรวจไม่พบ
ตรวจเลือด = ป้ องกัน
ติดเชื้อ
ป่ วยเอดส์
ผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวี
ผูท้ ีม่ ีเชื้อเอชไอวีอยู่ในร่างกาย
ระดับภูมิค้มุ กันปกติ
ดาเนินชีวิตได้ตามปกติ
ผูป้ ่ วยเอดส์
มีภาวะภูมิค้มุ กันบกพร่อง
มีโรคหรือกลุ่มอาการ
ทีเ่ กิดจากภาวะภูมิค้มุ กันบกพร่อง
ถุงยาง
ถุงยาง
ในมือผูห้ ญิง
• อุปกรณ์ คมุ กาเนิดชนิดเดียว ที่
ช่วยป้ องกันการติดเชื้อเอชไอวี
การให้คณ
ุ ค่า
ความปลอดภัย ?
ถุงยาง
ในมือผูช้ าย
ถุงยางอนามัย ช่วยป้ องกันการ
ติดเชื้อเอชไอวีได้
ถ้าคุณใช้!!
เรื่องเพศในสังคมไทย*
เพศสัมพันธ์ครัง้ แรกของเยาวชน อายุน้อยลง (เฉลี่ย ๑๔.๕-๑๖.๗ ปี )
เพศสัมพันธ์ครัง้ แรกเกิดขึน้ ก่อนแต่งงาน (ชาย ๘๔% หญิง ๗๖%)
คนหนุ่มสาวแต่งงานในอายุที่มากขึน้
เยาวชนมากกว่าครึ่งหนึ่ ง เคยมีค่นู อนมากกว่า ๑ คน
เยาวชนเพียง ๒๓% ใช้ถงุ ยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครัง้ แรก
เริ่มเรียนรู้เพศศึกษาจากโรงเรียน ที่อายุ ๑๕.๖ ปี
่ที่ ๑๒ %)
เรียนรู้เรื่องเพศศึกษาจาก พ่อแม่ เพียง ๑% (ค่าเฉลี่ยทัวโลกอยู
่
ผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เกิดขึน้ ในกลุ่มเยาวชนมากที่สดุ
๑๑.๑ % ของผูป้ ่ วยเอดส์ ๓๑.๗% ของผูป้ ่ วยกามโรค และ ๓๐% ของ
ผูห้ ญิงที่ทาแท้ง อยู่ในช่วงวัยรุ่นอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี
ผูต้ ิ ดเชื้อกว่า ๘๐% ในเมืองไทยได้รบั เชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่
ป้ องกัน
*รวบรวมจากหลายงานวิจยั ในช่วงปี ๔๓-๕๐
Gender กับ เพศสัมพันธ์ทีป่ ลอดภัย
• ลักษณะสรีระตามธรรมชาติของหญิงและชาย (Sex)
• บทบาท/ความคาดหวังในเรือ่ งเพศของหญิงชาย (Gender Roles)
• ความสัมพันธ์เชิงอานาจหญิงชาย (Gender Relations)
• โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อของหญิงชาย
• ความสามารถในการป้ องกันตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
• การเข้าถึงอุปกรณ์การป้ องกัน ข้อมูลข่าวสาร และบริการ
• การมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบผลที่ตามมาจาก
เพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย
หนึ่ งวันของชีวิตบวก
•
•
•
•
เด็กมีความหวัง/ความฝัน
โรงเรียน/สังคม ทาอะไรได้บา้ งหากรู้ว่าเด็กติดเชื้อ?
เด็กยอมรับตัวเองในสิ่งที่ตวั เองเป็ น
การใช้ชีวิตเป็ น
กิจกรรมม.๓ :
“ไขความรู้เรื่องเอดส์”
QQR
ไขความรู้เรื่องเอดส์
จุดประสงค์
• อธิบายถึงโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวีได้
• สามารถใช้หลัก QQR ในการวิเคราะห์เพื่อประเมิน
โอกาสเสี่ยง
• ประเมินพฤติกรรมที่ทาให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี
อย่างถูกต้อง
ไขความรู้เรื่องเอดส์
• ตัวอย่างการสอน การคิด วิเคราะห์ มากกว่า
การจา
• ให้ผเู้ รียนมีหลักคิด เพื่อหาคาตอบให้ตวั เอง
• เป็ นการให้ข้อมูลเพื่อนาปรับใช้กบั ชีวิตของ
ตนเอง
ระดับความเสี่ยง
• เสี่ยงมาก เป็ นความเสีย่ งในระดับทีท่ าให้มีโอกาสได้รบั เชื้อสูงมาก
และคนส่วนใหญ่ได้รบั เชื้อเอชไอวีจากความเสีย่ งนัน้ ๆ
• เสี่ยงปานกลาง มีความเสีย่ งทีจ่ ะได้รบั เชื้อเอชไอวีอยู่บา้ ง แต่ไม่
เท่าเสีย่ งมาก
• เสี่ยงน้ อยมาก มีความเสีย่ งในเชิงทฤษฎี แต่ในทางเป็ นจริง โอกาส
และความเป็ นไปได้ทีจ่ ะได้รบั เชื้อเอชไอวีจากการกระทานัน้ ๆ
แทบไม่มีเลย และไม่ปรากฎหรือมีกรณี น้อยมากๆ ว่ามีคนได้รบั
เชื้อเอชไอวีจากช่องทางนัน้ ๆ
• ไม่เสี่ยง เป็ นการกระทาหรือช่องทางทีไ่ ม่มีโอกาสเสีย่ งต่อการรับ
เชื้อเอชไอวีเลย
คาถามคาใจเรื่องเอดส์
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การจูบติดเชื้อหรือไม่
•
การใช้ของใช้ร่วมกัน
•
การติดต่อของเอดส์ติดได้อย่างไร
•
การใช้เข็มฉี ดยาเสพติด
แม่ส่ลู กู โอกาสติดเชื้อมากน้ อยแค่ไหน
การรับเลือดจะรู้ได้อย่างไรว่ามีเชื้อหรือไม่
กรณี แม่ติดเชื้อและติดคุกอยู่ วิธีการดูแลเป็ นอย่างไร
การ Oral sex มีโอกาสเสี่ยงหรือไม่
มือเป็ นแผล จะมีโอกาสติดเชื้อหรือไม่
กรณี ผหู้ ญิงถูกข่มขืนจะมีการป้ องกันอย่างไร
การรักษาในการกรณี ติดเชื้อเอชไอวี / การดูแลเมื่อติดเชื้อ
ระยะเวลาการเจ็บป่ วยเป็ นอย่างไร
ยาต้านไวรัสต้องกินนานแค่ไหน
การสังเกตว่าใครมีเชื้อ
เพศที่สามทาไมถึงติดเชื้อมาก
หากคนติดเชื้อไม่บอกมีผล
ทางกฏหมายไหม
การทีค่ นๆ หนึ ง่ จะได้รบั เชื้อ HIV เข้าสู่รา่ งกาย
จะต้องประกอบด้วย ๓ ปัจจัย ดังนี้
• ปริมาณของเชื้อ (Quantity)
• คุณภาพของเชื้อ (Quality)
• ช่องทางการติดต่อ (Route of Transmission)
Quantity - ปริมาณและแหล่งที่อยู่ของเชื้อ
• เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านัน้ (เกาะอยู่กบั เม็ดเลือดขาว)
• เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลังบางอย่
่
างในร่างกายของ
คนที่มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้าอสุจิ น้าในช่องคลอด
น้านมแม่ ซึ่งมีปริมาณที่ไม่เท่ากัน
• ต้องมีจานวนเชื้อ HIV ในปริมาณที่มากพอในสารคัด
หลังที
่ ่เป็ นที่อยู่ของเชื้อ
Quality - คุณภาพของเชื้อ
• เชื้อ HIV ต้องมี “คุณภาพพอ”
เชื้อ HIV ไม่สามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายคนได้
สภาพในร่างกาย และสภาพแวดล้อม บางอย่าง
มีผลทาให้เชื้อไม่สามารถอยู่ได้ เช่น กรดใน
น้าลาย กระเพาะอาหาร สภาพอากาศ ความ
ร้อน ความแห้ง น้ายาต่างๆ
Route of transmission
ช่องทางการติดต่อ
• ไวรัส HIV จะต้องถูกส่งผ่านจากคนที่ติดเชื้อ ไปยังอีกคน
หนึ่ ง โดยเชื้อจะต้องตรงเข้าสู่กระแสเลือด
– ทางเพศสัมพันธ์
– ทางเลือด(การใช้เข็มฉี ดยาเสพติดร่วมกัน)
– (พ่อ) แม่ส่ลู กู
ช่องทางออก
ช่องทางเข้า
การที่คนๆ หนึ่ งจะได้รบั เชื้อ HIV เข้าสู่ร่างกายจะต้อง
ประกอบด้วย ๓ ปัจจัยดังนี้
ปริมาณของเชื้อ
(Quantity)
• เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านัน้
(เกาะอยู่กบั เม็ดเลือดขาว)
• เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลัง่
บางอย่างในร่างกายของคนที่
มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้าอสุจิ
น้าในช่องคลอด น้านมแม่ ซึ่ง
มีปริมาณที่ไม่เท่ากัน
• ต้องมีจานวนเชื้อ HIV ใน
ปริมาณที่มากพอในสารคัด
หลังที
่ ่เป็ นที่อยู่ของเชื้อ
คุณภาพของเชื้อ
(Quality)
ช่องทางการติดต่อ
(Route of Transmission)
เชื้อ HIV ต้องมี คุณภาพพอ
 เชื้อ HIV ไม่สามารถมีชีวิต
อยู่นอกร่างกายคนได้
 สภาพในร่างกาย และ
สภาพแวดล้อม บางอย่างมี
ผลทาให้เชื้อไม่สามารถอยู่
ได้ เช่น กรดในน้ าลาย
กระเพาะอาหาร สภาพ
อากาศ ความร้อน ความ
แห้ง น้ ายาต่างๆ
ไวรัส HIV จะต้องถูกส่งผ่าน
จากคนที่ติดเชื้อ ไปยังอีกคน
หนึ่ ง โดยเชื้อจะต้องตรงเข้าสู่
กระแสเลือด
• เลือด
• เพศสัมพันธ์
• (พ่อ) แม่ส่ลู กู
โอกาส/ความเป็ นไปได้ที่จะเกิดขึน้
โอกาสติดเชื้อจากแม่ส่ลู กู
• โอกาสติดเชื้อ ๒๕-๓๐%
– ระหว่างตัง้ ครรภ์
• รกผิดปกติ
– ตอนคลอด
• คลอดโดยธรรมชาติ
เด็กสัมผัสเลือดมาก
– หลังคลอด
• การกินนมแม่
• ลดโอกาสเสี่ยง
– คลอดโดยการผ่า
– กินนมผง
– นานมแม่ ไปต้ม
– กินยาต้าน
• ลดโอกาสติดเชื้อ
เหลือ ๒-๕%
oral sex
ฝ่ ายทา
Oral sex
(ให้ผตู้ ิ ดเชื้อ)
ฝ่ ายถูกทา
Oral Sex
(โดยผูต้ ิ ดเชื้อทาให้)
ผูต้ ิ ดเชื้อ ทา oral sex ให้
ผูต้ ิ ดเชื้อ
เจ้าของจู/๋ จิ๋ม
(เจ้าของปาก)
มีโอกาสติดเชื้อ ?
ทา oral sex ให้ผต้ ู ิ ดเชื้อ
เจ้าของปาก
มีโอกาสติดเชื้อ ?
เจ้าของปาก
มีโอกาสติดเชื้อ ?
เจ้าของจิ๋ม
ติดเชื้อ
เจ้าของจู๋
ติดเชื้อ
ทา oral sex ให้ผต้ ู ิ ดเชื้อ
เจ้าของปาก
เจ้าของจิ๋ม
มีโอกาสติดเชื้อ ?
ติดเชื้อ
ไม่พบว่า
มีการติดเชื้อ
ทา oral sex ให้ผตู้ ิ ดเชื้อ
เจ้าของปาก
เจ้าของจู๋
มีโอกาสติดเชื้อ ?
มีการติดเชื้อ
อักเสบในลาคอ
พบว่า
มีการติดเชื้อ
โดย
มีปัจจัย
ที่เกี่ยวข้อง
ติดเชื้อ
มีการหลัง่
ในปาก
โดยสรีระ
ผูห้ ญิงมีโอกาสเสี่ยง มากกว่า ผูช้ าย
• ผูห้ ญิง เกิดการติด
• ผูช้ าย เชื้อเข้าทางรูฉี่
เชื้อบริเวณช่องคลอด • สัมผัสเชื้อ ขณะอยู่ใน
• น้าอสุจิ หลังอยู
่ ่ ใน
ช่องคลอด
ช่องคลอด
โอกาสการได้รบั เชื้อ HIV
เสี่ยง
Relativity
ขึน้ อยู่กบั บริบท
ติด ๑๐๐%
?
กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do
มี/ผ่านประสบการณ์
Apply
วางแผน
ประยุกต์ใช้
Reflect
สะท้อน/สรุปสิง่ ทีเ่ รียนรู้
Analyze/Synthesis
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์