ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์

Download Report

Transcript ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์

ความฉลาดทางอารมณ์
Emotion Quotient
โดย มยุรี ยกตรี
พัฒนาสั งคมและความมั่นคงของมนุษย์
จังหวัดเชียงใหม่
ความฉลาดทางอารมณ์
(Emotion Quotient)
ความฉลาดทางอารมณ์ คือ ความสามารถทาง
อารมณ์ ในการดาเนินชีวติ อย่ างสร้ างสรรค์ และมี
ความสุ ข
การรู้จักความฉลาดทางอารมณ์ ของตนเอง เพือ่ การ
พัฒนา และการใช้ ศักยภาพตนเองในการดาเนินชีวติ
ครอบครัว การทางานและการอยู่ร่วมกับผู้อนื่ ได้ อย่ างมี
ความสุ ขและประสบความสาเร็จ
อีควิ (E.Q.)กับ ไอคิว (I.Q.) ต่ างกันอย่ างไร
• ไอคิว(Intelligence Quotient) หมายถึงความฉลาด
ทางเชาว์ ปัญญา การคิด การใช้ เหตุผล การคานวณ
การเชื่อมโยง
• อีควิ (Emotional Quotient) หมายถึงความฉลาดทาง
อารมณ์ เป็ นความสามารถในการรับรู้และเข้ าใจ
อารมณ์ ท้งั ของตัวเอง และของผู้อนื่ ตลอดจนสามารถ
ปรับ หรือควบคุมได้ อย่ างเหมาะสมกับสภาพการณ์
ความแตกต่ างระหว่ าง (IQ) และ (EQ)
(IQ)
EQ
เป็ นค่ าตัวเลข/ผลลัพธ์ ที่ได้ จากการ
ประเมินความฉลาดทางเชาว์ ปัญญา
ไม่ สามารถทานายความสาเร็จใน
การศึกษา/การงานและความสาเร็จ
ในชีวติ ได้
พัฒนาสู งสุ ดได้ จนถึงอายุ 25 ปี
เป็ นประโยชน์ ในการจัดการเรียนการ
สอน
ผลลัพธ์ ที่ได้ จากการประเมิน
ความฉลาดทางอารมณ์
สามารถทานายความสาเร็จใน
การศึกษา/การงานและ
ความสาเร็จในชีวติ ได้
พัฒนาได้ ตลอดชีวติ
ประโยชน์ ในการพัฒนาตนเอง
คนทีม่ อี คี วิ สูงแตกต่ างจากคนทีม่ ไี อคิวสูง
อย่ างไร
ความสั มพันธ์ ระหว่ าง (IQ) และ (EQ)
1. IQ สู งอย่ างเดียว อาจไม่ ประสบความสาเร็จเท่ าทีค่ วร
2. IQ ธรรมดา + EQ สู ง ทาให้ ประสบความสาเร็จ
3. IQ สู ง + EQ สู ง ยิง่ ประสบความสาเร็จมาก
4. EQ สู ง ทาให้ การเรียนรู้ดขี นึ้
การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
ผลที่ได้
ต่ อตนเอง
ผลทางบวก
ควบคุมตนเองสร้ างแรงจูงใจไปสู ความสาเร็จ ป้องกันความ
ขัดแย้ งระหว่ างบุคคล ตนเอง และคนรอบข้ างมีความสุ ข
ต่ อครอบครัว ลดความขัดแย้ ง ทาให้ ครอบครัวเป็ นสุ ข เป็ นแบบอย่ างใน
การเลีย้ งดูสมาชิก
ต่ อการทางาน เกิดความร่ วมมือ และสั มพันธภาพที่ดใี นการทางาน มี
ความคิดดีและสร้ างสรรค์ ไม่ มีอารมณ์ มารบกวนในการ
ทางาน
ต่ อสั งคม
เสริมสร้ างและพัฒนาสั งคม ป้ องกันปัญหาต่ างๆ ในสั งคม
เป็ นแบบอย่ างที่ดีแก่ คนในสั งคม
ประโยชน์ ของ EQ
• พัฒนาการด้ านอารมณ์ และบุคลิกภาพเด็ก
- กาหนดบุคลิกภาพทีพ่ งึ ปรารถนา
- สร้ างวุฒิภาวะสมวัย การปรับตัว การแก้ ปัญหา
ความเครียดและความกดดันในชีวติ
- ควบคุมอารมณ์ ในภาวะของการแข่ งขันได้ ดี
- อยู่ในสั งคมทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงได้ เป็ นอย่ างดี
• พัฒนาการสื่ อสาร และการแสดงความรู้สึกในอารมณ์
ของตน
- กาหนดแสดงอารมณ์ ได้ ถูกกาละเทศะ
- เข้ าอกเข้ าใจความรู้สึกของคนอืน่
- สามารถจะยิม้ ได้ แม้ ในใจจะรู้สึกเศร้ า ทรมาณ
- รับฟังปัญหาของผู้อนื่ ได้ อย่ างตั้งใจ
- ไม่ รู้สึกแปลกแยกจากเพือนมนุษย์ สั งคม ธรรมชาติ
และชีวติ ของคน
• การปฏิบัติงาน EQ ช่ วยให้
- ยอมรับความคิดริเริ่ม ก่ อให้ เกิดการสร้ างสรรค์
- ยอมรับการเปลีย่ นแปลง
- ลดการลา ขาดงาน ย้ ายงาน
- มีปฏิสัมพันธ์ รู้จักการประสานงาน สานสั มพันธ์
มนุษย์ สัมพันธ์ ดี
- เคารพความคิดเห็นของคนอืน่
- ปรับตัวในสถานการณ์ ต่าง ๆ ในที่ทางานได้ ดี
• การบริหาร EQ ช่ วยให้
- รู้จักผู้ทมี่ ีคุณประโยชน์ ต่อตน ลูกค้ า ผู้มารับบริการ
- รับฟังความต้ องการ และตอบสนองได้ ดี
- สามารถทีจ่ ะชักจูงผู้อนื่ ให้ เป็ นประโยชน์ ที่จะได้ รับ
จากตนได้ ดี
- สามารถทาให้ คนอืน่ มีความอยากที่จะมาใช้ บริการ
ต่ อไป หรือมาทาความรู้จัก ลึกซึ้งต่ อไป
-
รู้จักใช้ คนและครองใจคนได้
เรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
โน้ มน้ าวผู้อนื่ ให้ ทาตามทีต่ นต้ องการได้ สาเร็จ
สามารถทาให้ คนเกิดความสุ ขในการทางาน
สามารถทาให้ คนรักงาน องค์ กร
พูดและดาเนินการตามทีพ่ ูด
กล้ าแสดงออก และถูกต้ องตามกาละเทศะ
• การเข้ าใจชีวติ ตนและคนอืน่
- รู้จักมองเข้ าไปในจิตใจของตน เข้ าใจตนอย่ างถ่องแท้
- เข้ าใจคนอืน่ เมื่อมีปฏิสัมพันธ์ กนั
- มุ่งใช้ ศักยภาพของตนเต็มทีต่ ่ อกิจกรรมต่ างๆ ใน
การดารงชีวติ ประจาวัน
- มีความสุ ขกับชีวติ และครอบครัว
ความสาคัญของความฉลาดทางอารมณ์
1
จะทาให้ ตัวเรา
อยู่กบั คนอืน
่ ได้ ดี
มีความสุข และประสบความสาเร็จในชีวติ
ความสาคัญของความฉลาดทางอารมณ์
2
เป็ นคนดี
รู้ จกั อารมณ์ มีนา้ ใจ ร้ ู ว่าอะไรผิดถูก
ความสาคัญของความฉลาดทางอารมณ์
3
เป็ นคนเก่ ง
กระตือรือร้ น สนใจใฝ่ รู้
ปรับตัวได้ ดี
กล้ าพูด กล้ าบอก
ความสาคัญของความฉลาดทางอารมณ์
4
มีความสุข
มีความพอใจ
อบอ่ นุ ใจ
สนุกสนานร่ าเริง
กรมสุ ขภาพจิตได้ พฒ
ั นาแนวคิดเรื่องความฉลาดทาง
อารมณ์ ประกอบด้ วยปัจจัยสาคัญ 3 ประการ คือ
1. ดี
2. เก่ ง
3. สุ ข
ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ และความต้ องการ
ของตนเอง
ดี หมายถึง
รู้ จักเห็นใจอืน่
มีความรับผิดชอบต่ อส่ วนรวม
ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ และ
ความต้ องการของตนเอง
รู้จักอารมณ์ และความต้ องการของ
ตนเอง
ควบคุมอารมณ์ และความต้ องการได้
แสดงออกอย่ างเหมาะสม
ความสามารถในการเห็นใจผู้อนื่
ใส่ ใจผู้อนื่
เข้ าใจและยอมรับผู้อนื่
แสดงความเห็นใจอย่ างเหมาะสม
ความสามารถในการรับผิดชอบ
รู้จักการให้ รู้จักการรับ
รู้จักรับผิด รู้จักให้ อภัย
เห็นแก่ ประโยชน์ ส่วนร่ วม
ความสามารถในการรู้ จักและสร้ างแรงจูงใจให้ ตนเอง
เก่ ง หมายถึง
ความสามารถในการตัดสิ นใจและแก้ ปัญหา
ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อนื่
ความสามารถในการรู้ จกั และสร้ างแรงจูงใจ
ให้ ตนเอง
รู้ศักยภาพของตนเอง
สร้ างขวัญและกาลังใจให้ ตนเองได้
มีความมุ่งมั่นทีจ่ ะไปให้ ถงึ เป้ าหมาย
ความสามารถในการตัดสิ นใจและแก้ ปัญหา
รับรู้และเข้ าใจปัญหา
มีข้นั ตอนในการแก้ ปัญหาได้ อย่ าง
เหมาะสม
มีความยืดหยุ่น
ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อนื่
รู้จักการสร้ างสั มพันธภาพทีด่ กี บั ผู้อนื่
กล้ าแสดงออกอย่ างเหมาะสม
แสดงความเห็นที่ขดั แย้งได้ อย่างสร้ างสรรค์
ความสามารถในการดาเนินชีวติ อย่ างมีความสุ ข
ภูมใิ จในตนเอง
สุ ข หมายถึง พึงพอใจในชีวติ
มีความสงบทางใจ
ภูมใิ จในตนเอง
เห็นคุณค่ าในตนเอง
เชื่อมั่นในตนเอง
พึงพอใจในชีวติ
รู้จักมองโลกในแง่ ดี
มีอารมณ์ ขัน
พอใจในสิ่ งที่ตนมีอยู่
มีความสงบทางใจ
มีกจิ กรรมทีเ่ สริมสร้ างความสุ ข
รู้จักผ่ อนคลาย
มีความสงบทางจิตใจ
การพัฒนาอารมณ์ ความฉลาดทางอารมณ์
(Emotion Quotient)
มนุษย์
แต่
ใช้ อารมณ์
ไม่ ค่อยพัฒนาอารมณ์
การเสริมสร้ าง EQ
การเสริมสร้ าง EQ ด้ วยการเรียนรู้ 3 ประการ
1.ละทิง้ พฤติกรรมเดิม (Unleaming) ทิง้ ความคิดเดิม
ความเชื่อเดิม พฤติกรรมที่สังคมไม่ ยอมรับหาทางปรับ
พฤติกรรมของตน
2.การเรียนรู้ใหม่ (Releaming) ฝึ กควบคุมตนเอง
ฝึ กเอาใจเขามาใส่ ใจเรา ฝึ กฟัง ฝึ กแสดงออกที่ดี
3.การเรียนรู้เพิม่ (Leaming) ฝึ กการทาความเข้ าใจภาวะ
อารมณ์ ของคนอืน่ ฝึ กทักษะทางสั งคม ทักษะชีวิต ฝึ ก
การพิจารณาเชื่อมโยงผลอันเนื่องมาจากการกระทาของ
ตนเอง
การวัด EQ มีการวัดหลากหลายรูปแบบ เช่ น แบบวัด
ทีเ่ ป็ นคาถาม อ่ านความรู้สึกจากสี หน้ า รายงานภาวะ
อารมณ์ จากคาคุรศัพท์ ต่างๆ เช่ น ดีใจ เสี ยใจ ห่ อเหี่ยว วิตก
ฯลฯ รายงานอารมณ์ จากภาพ
การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
1.
2.
3.
4.
5.
รู้จักอารมณ์ ตนเอง
การจัดการ (บริหาร) อารมณ์ ตนเอง
การสร้ างการจูงใจให้ ตนเอง
การหยัง่ รู้อารมณ์ ของผู้อนื่
การรักษาความสั มพันธ์ ที่ดีต่อกัน
การรู้ จกั อารมณ์ ตนเอง
1. การให้ เวลา ทบทวน พิจารณา คล้ อยตาม สิ่ ง
ใด
2. ฝึ กการรู้ตวั บ่ อย ๆ มีสติ มีผลอย่ างไรต่ อ การ
แสดงออก
การจัดการ(บริหาร)อารมณ์ ตนเอง
ลักษณะใดที่ควรกระทา-ผลตามมา
1. แสดงออกทันที
2. เก็บกดไว้
3. โทษผู้อนื่
4. ระบายออกอย่ างเหมาะสม
การฝึ กจัดการอารมณ์
1.
2.
3.
4.
5.
ทบทวน ทาอะไรได้ บ้าง
เตรียม ทา - ไม่ ทา
รับรู้ ในด้ านดี
สร้ างความรู้สึกทีด่ ี ตนเอง รอบข้ าง
หาโอกาส จาก อุปสรรค
วิธีระงับและควบคุมอารมณ์
1. สารวจอารมณ์ ทเี่ กิดขึน้ - ใช้ วธิ ีการฝึ กสติ
2. คาดการณ์ ถึงผลดี-ผลเสี ยของการแสดงอารมณ์ น้ันๆ
3. พยายามควบคุมอารมณ์ ด้วยวิธีต่าง ๆ
3.1 หายใจเข้ า-ออก ยาว ๆ
3.2 นับ 1-10 หรือนับต่ อจนสงบ
3.3 ปลีกตัวหลีกห่ างจากสถานการณ์ น้ัน ๆ ชั่วคราว
3.4 กาหนดลมหายใจ ให้ สติอยู่ มีการหายใจเข้ า-ออก
วิธีระงับและควบคุมอารมณ์
4. สารวจความรู้ สึกของตัวเองอีกครั้ง และชื่นชมกับการที่
ตนเองสามารถผ่ อนคลายอารมณ์ ได้
5. คิดถึงเรื่องอืน่ ที่ไม่ ใช่ เรื่องทีท่ าให้ อารมณ์ ข่ นุ มัว เศร้ า
หมอง
อริยสั จ 4
1.
2.
3.
4.
ทุกข์
สมุทยั
นิโรธ
มรรค
คิดรู้และเข้ าใจปัญหา
คิดพิจารณาถึงสาเหตุของปัญหา
คิดตริตรอง พิจารณาวิธีแก้ ปัญหา
นาความรู้ ความเข้ าใจ ความคิด
ทีถ่ ูกต้ องไปใช้ แก้ปัญหา
อิทธิบาท 4
ทางแห่ งความสาเร็จ
1.
2.
3.
4.
ฉันทะ
วิริยะ
จิตตะ
วิมังสา
คือ
คือ
คือ
คือ
ความมีรัก
ความเพียรพยายาม
จิตใจฝักใฝ่
การใช้ สติปัญญาหาเหตุผล
5 ย.
ยิม้
เย็น
ยอ
ยอม
ยึด
= ยิม้ แย้ มแจ่ มใส เบิกบาน
= ใจเย็น ไม่ วู่วาม อดทน
= คนมักชอบการเยินยอ
= ไม่ ดอื้ ดึงโอนอ่ อนผ่ อนตามคนอื่นบ้ าง
เสี ยสละ
= ยึดมั่นในหลักการ
การพัฒนาวาจา
(Verbal Development)
พดู แต่ ดี
อย่ าดีแต่ พดู
การบริหารอารมณ์ ของตนเอง
(Managing emotion)
การฝึ กจัดการอารมณ์ ของตนเอง
1. ทบทวนว่ ามีอะไรบ้ างที่เราทาลงไปด้ วยอารมณ์
2. ฝึ กการสั่ งตนเองว่ าจะทา/จะไม่ ทาอะไร
3. ฝึ กการรับรู้ หรือมองสิ่ งต่ างๆ ในดี สร้ างอารมณ์ แจ่ มใสเบิกบาน
4. ฝึ กการสร้ างความรู้ สึกทีด่ ตี ่ อตนเอง ผู้อนื่ และสิ่ งต่ างๆรอบตัว
5. มองหาประโยชน์ โอกาสจากอุปสรรค หรือปัญหา
6. ฝึ กการผ่ อนคลายความเครียดที่เกิดจากอารมณ์ ไม่ ดี
การสร้ างแรงจูงใจให้ ตนเอง
1. ทบทวน สิ่ งที่สาคัญต่ อชี วติ
2. ตั้งเป้ าหมาย
3. ระวัง มุ่งมั่น
4. ยืดหยุ่น ลดความสมบูรณ์ แบบ
5. หาประโยชน์ จากอุปสรรค
6. มองโลกในแง่ ดี เชิงบวก
7. สร้ างความหมายในชีวติ ภูมิใจ
8. ให้ กาลังใจตัวเอง เราทาได้
การหยัง่ รู้ อารมณ์ ผู้อนื่
1. สนใจการแสดงออก
2. อ่ านอารมณ์
3. ทาความเข้ าใจอารมณ์
4. ตอบสนอง ให้ รู้ว่า เข้ าใจ เห็นใจ
การคัดกรองความฉลาดทางอารมณ์
ดี
เก่ ง
สุข
องค์ ประกอบความฉลาดทางอารมณ์
1.บอกความรู้ สึกของตนเองได้ เมือ่ ถูกถาม เช่ น รู้ สึกดีใจ เสี ยใจ
โกรธ ไม่ ชอบ ไม่ พอใจ
2.เต็มใจแบ่ งบันสิ่ งของให้ คนอืน่ ๆ เช่ น ขนม ของเล่น
3.บอกขอโทษหรือแสดงอาการเสี ยใจได้ เมือ่ ทาผิด
4.มักอยากรู้ อยากเห็นกับสิ่ งแปลกใหม่
5.ตัดสิ นใจและแก้ปัญหาด้ วยตนเองได้
6.กล้ าพูด กล้ าคุย ทักทายตอบกลับผู้อนื่
7.เป็ นตัวของตัวเองมากขึน้ มีความภูมใิ จในตนเอง
8.รู้ จักเผือ่ แผ่ ความรักให้ ผ้ ูอนื่ พอใจในสิ่ งทีต่ นเองเป็ นอยู่
9.แสดงอารมณ์ สนุกร่ วมไปกับบุคคลอืน่ ได้ ตามความเหมาะสม
ใช่ ไม่ ใช่
สุ ขกันเถอะเรา
ถ้า EQ ดี...กม็ ีสุข