พอเพียง

Download Report

Transcript พอเพียง

“….ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายคือ ทาจากรายได้ 200 300 บาทขึน
้ ไป เป็ นสองหมืน
่ สาม
หมืน
่ บาท คนชอบเอาคาพูดของฉัน
เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะ
เทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือ
ทาเป็ น Self - Sufficiency มันไมใช
่ ่
ความหมาย ไมใช
่ ันคิด ที่
่ ่ แบบทีฉ
ฉันคิดคือเป็ น Self - Sufficiency of
Economy เช่น ถาเขขาต
องการดู
ทวี ี
้
้
ก็ควรให้เขามีดู ไมใช
่ ่ ไปจากัดเขา
ไมให
้ ทีวด
ี ู เขาตองการดู
เพือ
่
่ ้ซือ
้
ความสนุ กสนาน ในหมูบ
่ านไกลๆ
้
ทีฉ
่ ันไปเขามีทวี ด
ี แ
ู ตใช
่ ้แบตเตอรี่
เขาไมมี
่ ไฟฟ้า แตถ
่ า้ Self - Sufficiency
นั้น มีทวี เี ขาฟุ่มเฟื อย
เปรียบเสมือนคนไมมี
ดสูท
่ สตางคไปตั
์
ใส่และยังใส่เนคไทเวอรซแช
่ อันนี้ก็
์
………………………………………..
เลขที่………...ชัน……………
้
“….ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายคือ ทาจากรายได้ 200 300 บาทขึน
้ ไป เป็ นสองหมืน
่ สาม
หมืน
่ บาท คนชอบเอาคาพูดของฉัน
เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะ
เทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือ
ทาเป็ น Self - Sufficiency มันไมใช
่ ่
ความหมาย ไมใช
่ ันคิด ที่
่ ่ แบบทีฉ
ฉันคิดคือเป็ น Self - Sufficiency of
Economy เช่น ถาเขขาต
องการดู
ทวี ี
้
้
ก็ควรให้เขามีดู ไมใช
่ ่ ไปจากัดเขา
ไมให
้ ทีวด
ี ู เขาตองการดู
เพือ
่
่ ้ซือ
้
ความสนุ กสนาน ในหมูบ
่ านไกลๆ
้
ทีฉ
่ ันไปเขามีทวี ด
ี แ
ู ตใช
่ ้แบตเตอรี่
เขาไมมี
่ ไฟฟ้า แตถ
่ า้ Self - Sufficiency
นั้น มีทวี เี ขาฟุ่มเฟื อย
เปรียบเสมือนคนไมมี
ดสูท
่ สตางคไปตั
์
ใส่และยังใส่เนคไทเวอรซแช
่ อันนี้ก็
์
………………………………………..
เลขที่………...ชัน……………
้
“.... ให้พอเพียงนี้ก็หมายความวา่
มีกน
ิ มีอยู่ ไมฟุ
่ ่ มเฟื อยไมหรู
่ หราก็ได้ แตว
่ าพอ
่
แมบางอย
างอาจจะดู
ฟ่ มเฟื
ุ
อย แตถ
้
่
่ าท
้ าให้มีความสุข
ถาท
่ ะทา สมคารทีท
่ จ
ี่ ะปฏิบต
ั ิ
้ าไดก็
้ สมคารทีจ
อันนี้ก็ความหมายอีกอยางของเศรษฐกิ
จ
่
หรือระบบพอเพียง...พอเพียงนี้อาจจะมีมาก
อาจจะมีของหรูหราก็ได้
แตว
เบี
่
่ าต
่ องไม
้
่ ยดเบียนคนอืน
ตองให
้
้พอประมาณตามอัตภาพ
พูดจาก็พอเพียง ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบต
ั ต
ิ นก็พอเพียง...”
พระราชดารัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
๔ ธันวาคม ๒๕๕๑
“ ...คนเราถาพอในความต
องการ
ก็มค
ี วามโลภน้อย
้
้
เมือ
่ มีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอืน
่ น้อย
ถาทุ
้ กประเทศมีความคิด อันนี้ไมใช
่ ่ เศรษฐกิจ
มีความคิดวาท
ยง หมายความวา่
่ าอะไรตองพอเพี
้
พอประมาณ
ไมสุ
างมาก
คนเราก็อยูเป็
่ ดโตง่ ไมโลภอย
่
่
่ นสุข
พระราชดารัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
๔ ธันวาคม ๒๕๕๑
“...ทุกคนจาเป็ นตองหมั
น
่ ใช้ปัญญาพิจารณาการกระทาของ
้
ตน
ให้รอบคอบอยูเสมอ
ระมัดระวังทาการทุกอยางด
วยเหตุ
ผล
่
่
้
ดวยความมี
สติ และดวยความรู
ตั
้
้
้ ว
เพือ
่ เอาชนะความชั่งรายทั
ง้ มวลให้ไดโดยตลอด
้
้
และสามารถกาวไปถึ
ง
ความส
าเร็
จ
ที
แ
่ ทจริ
้
้ ง
ทัง้ ในการงานและการครองชีวต
ิ ...”
พระบรมราโชวาทในพิธป
ี ระราชทานปริญญาบัตแ
ิ ละอนุ
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………………………………………………………………..
3 ห่วง 2 เงื่อนไข : พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมคิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี มีความรู้ มีคุณรรรม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
คือ ปรัชญาที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหั
่ วทรงมี
พระราชดารัสชีแ
้ นะเป็ นแนว
ทางการดาเนินชีวต
ิ แกพวกเรา
่
ชาวไทยมานานกวา่ ๓๐ ปี และ
ภายหลังทีเ่ กิดวิกฤตการณทาง
์
เศรษฐกิจ “ฟองสบูแตก”
ในปี
่
พ.ศ. ๒๕๔๐ พระองคได
์ ทรงเน
้
้น
ยา้ ให้พวกเราใช้เป็ นแนวทางแก้ไข
เพือ
่ ให้ประเทศไทยรอดพน
้ และ
สามารถดารงอยูได
อย
างยั
ง่ ยืน
่ ้ ่
ภายใตกระแสโลกาภิ
วฒ
ั น์ และ
้
ความเปลีย
่ นแปลงทีจ
่ ะเกิดขึน
้ ใน
ทุกๆดาน
้
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นหลักทีเ่ รา
คนไทยทุกคน ทุกระดับสามารถ
นาไปปฏิบต
ั ไิ ด้ ไมใช
่ ่ เฉพาะ
เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา อยาง
่
ทีห
่ ลายคนเขาใจ
แต
มายถึ
ง
ทุ
ก
คน
้
่
ทุกเพศ ทุกวัย ทุกศาสนา ทุก
อาชีพ เราสามารถนาไปปรับใช้
ให้เหมาะกับตนเองไดในทุ
กๆเรือ
่ ง
้
ทัง้ การดาเนินชีวต
ิ ประจาวัน
การศึ กษาเลาเรี
ย
น หรือทางานใน
่
สาขาใดๆ
เศรษฐกิจพอเพียง ไมได
่ ปฏิ
้ เสธ
ทุนนิยม และไมได
่ บอกให
้
้เราอยู่
อยางซอมซ
่
่ อ ไมได
่ ปฏิ
้ เสธความ
รา่ รวย ไมใช
การปิ
ด
ประเทศเลิก
่ ่
คาขาย
ไมใช
ง
้
่ ่ ความเชยหลาหลั
้
เศรษฐกิจพอเพียง
สามรถ
นาไปใช้เป็ นเครือ
่ งมือสาคัญในการ
วางแผนและการบริหารจัดการ
ดังนั้นจึงให้ความสาคัญกับการสราง
้
รากฐานทาง เศรษฐกิจ และสั งคม
ให้เขมแข็
ง รักษาความสมดุลของ
้
ทุน และทรัพยากรในมิตต
ิ างๆ
เน้น
่
การพัฒนาอยางค
อยเป็
นค
อยไป
่
่
่
เป็ นขัน
้ เป็ นตอน เพือ
่ ให้เรามีความ
เข้มแข็ง ให้เรารูเท
้ ากั
่ น ให้เรามี
ความพรอมที
จ
่
ะออกไปแข
งขั
้
่ นให้เรา
กาวทั
นตอโลกยุ
คโลกาภิวต
ั น์
้
่
ดังนั้น หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง จึงเน้นการปฏิบต
ั ท
ิ ี่ ไม่
ประมาท นั่นคือ เน้นให้เราดาเนิน
ชีวต
ิ บน “ทางสายกลาง” ก็คอ
ื
ความพอเหมาะพอดี ไมน
่ ้ อยเกินไป
ไมสุ
ด
โต
ง
ไม
โลภมาก
ไมฟุ
่
่
่
่ ้ งเฟื้ อ
จนเกินฐานะ แตก็
่ ไมใช
่ ่ ตระหนี่ถ ี่
เหนียวหรือประหยัดจนขาดแคลน
ถาเราจะน
าหลักปรัชญานี้ไปใช้ เรา
้
อาจจะจาดวยหลั
กงายๆ
คือ ๓
้
่
หวง
๒
เงื
อ
่
นไข
อั
น
ประกอบไป
่
ดวย
พอประมาณ มีเหตุผล มี
้
ภูมค
ิ ุ้มกันในตัวทีด
่ ี และมีความรู้ มี
คุณธรรม ซึง่ จะนาไปสู่ชีวต
ิ
เศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ งแวดลอมที
่
้
กาวหน
าอย
างสมดุ
ล
มั
น
่
คง
ยั
ง
่
ยื
น
้
้
่
สรุ ปปรั ชญาเศรษฐกิจพอพียง
3 ห่ วง 2 เงื่อนไข
ก่อนตัดสินใจทำกำรสิ่ งใด ทั้งกำรงำน และกำรดำรง ชีวิต
ควรพิจำรณำถึง 3 ห่วงหลัก ดังนี้
ความพอประมาณ หมำยถึง ควำมพอดี ไม่นอ้ ย
เกินไป และไม่มำกเกินไป และไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผูอ้ ื่น
ควำมพอดีของแต่ละคน แต่ละครอบครัว แต่ละองค์กร
ย่อมไม่เหมือนกัน ไม่เท่ำกัน เรำต้องประมำณรู้ของเรำ
เองว่ำ อัตภำพของเรำอยูต่ รงไหน สถำนภำพ ฐำนะ
กำรเงิน และควำมสำมำรถของเรำมีแค่ไหน
ง่ำยๆ ก็คือ เรำต้องรู้กำลัง รู้ทุนของเรำเอง จะทำอะไรก็
แล้วแต่ จะซื้อ หรื อจะลงทุน ก็ควรทำตำมที่กำลังของเรำ
มี และไม่เดือดร้อนตนเอง คือ ไปกูย้ มื หนี้ สินมำกมำยจน
เกินฐำนะของตนเอง
ถ้ำคนรวยจะซื้อรถรำคำแพงก็ยอ่ มทำได้ และถ้ำมัน
พอประมำณสำหรับเขำแต่ในขณะที่คนฐำนะปำนกลำง
จะซื้อรถก็ตอ้ งคิดว่ำมันพอเหมำะกับกำลังของตน คนที่
ทำงำนแล้ว หำเงินได้ดว้ ยตนเอง เก็บออมเงินไว้
พอสมควร หำกเขำตัดสิ นใจซื้อกระเป๋ ำสวนหรู มำถือก็
ไม่น่ำจะเป็ นอะไร ถ้ำเขำไม่ได้ไปเบียดเบียนตนเอง หรื อ
ผูอ้ ื่น
แต่ถำ้ เด็กวัยรุ่ นแอบเจียดเงินค่ำเทอมมำซื้อกระเป๋ ำ สวย
หรู เพื่อถือไปอวดเพื่อน ก็คงไม่เหมำะ ไม่พอ – ประมำณ
วัยรุ่ นต้องตระหนักว่ำ เงินที่ใช้อยูน่ ้ นั เป็ นทุนที่เกิดจำก
หยำดเหงื่อของพ่อแม่ และควรใช้ไปในทำงที่เกิด
ประโยชน์กบั กำรศึกษำซึ่งจะเป็ นหลักของตนในอนำคต
ในขณะเดียวกันวัยรุ่ นก็ควรรู้จกั แบ่งเวลำให้ถูกต้อง
พอประมำณกับสิ่ งที่ตนกำลังทำก็ไม่ควรเขม็งเกลียว
เคร่ งเครี ยดเกินไป ต้องรู ้จกั พักผ่อน มีสนั ทนำกำรบ้ำง
ซึ่ งก็ควรมุ่งไปทำงด้ำนกีฬำ ศิลปะที่สร้ำงสรรค์ และ
รู ้จกั ให้กำรช่วยเหลือผูอ้ ื่นด้วย
ในกำรทำธุรกิจ แต่ละองค์กรก็จะมีควำมพอดีที่ต่ำงกัน
ถ้ำเป็ นองค์กรใหญ่ จะลงทุนทำอะไร ผูบ้ ริ หำรต้องรู ้วำ่
แค่ไหนจึงจะลงทุนแล้วครอบคลุมกับเนื้ องำน หรื อ
ทัว่ ถึงคนในองค์กร เพรำะถ้ำน้อยเกินไปก็จะไม่
สัมฤทธิ์ ผล แต่ถำ้ เป็ นองค์กรขนำดเล็กๆ กำรทำตำม
กำลังทีมีอยู่ จะทำให้ม่ตอ้ งแบกภำระมำกมำย เกิดกำร
ควบคุมงำนทีทวั่ ถึงกว่ำ เกิดประสิ ทธิภำพ และ
ประสบควำมสำเร็ จได้มำกกว่ำ
ความมีเหตุผล
ควำมมีเหตุผลนั้น เรำต้องคิดทบทวนอย่ำงรอบคอบ
ต้องพิจำรณำจำกเหตุทุกอย่ำงที่เกี่ยวข้อง และยังต้อง
คำนึงถึงผลที่ตำมมำด้วย
คำว่ำ “อยากได้ ” “ใครๆเขาก็มีกัน” “กาลังอิ นเท
รนด์ ” “มันเป็ นแฟชั่น” “ไม่ มีแล้ วอายเขาแย่ เลย” คำ
เหล่ำนี้คือข้ออ้ำงของคนประเภทวัตถุนิยม เป็ นควำม
ฟุ้ งเฟ้ อ ไม่ถือเป็ นเหตุผลของคนพอเพียง เนื่ องเพรำะ
คนพอเพียงจะคำนึ งถึงประโยชน์มำกกว่ำรู ปแบบ
“เราต้ องลงทุนในเมกะโปรเจ็คต์ เพื่อกระตุ้นตัวเลข
เศรษฐกิจ และความสนใจลงทุนของชาวต่ างชาติ”
เป็ นเหตุผลของเศรษฐกิจแบบทุนนิยมทัว่ ไป
ขณะที่ “เราต้ องลงทุนในโครงการนีแ้ ม้ จะเป็ นเมกะ
โปรเจ็คต์ ทั้งนีเ้ พื่ออานวยความสะดวก และเป็ น
ประโยชน์ แก่ สาธารณชน” นี่ต่ำงหำกจึงจะเป็ นเหตุผล
ที่แข็งแรงของเศรษฐกิจแบบพอเพียง
มีภูมิค้ ุมกันในตัวที่ดี
ภูมิค้ มุ กัน คือ การรู้จกั จัดการกับความเสี่ยงที่จะ
เกิดขึ ้นในอนาคต หมายถึง การเตรียมตัวให้ พร้ อม
เพื่อรับกับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้ าน
ต่างๆ ที่จะเกิดขึ ้น เพราะมีการเปลี่ยนแปลงเป็ นอัน
มากที่อยูน่ อกเหนือการควบ-คุมของเราเพราะ
อนาคตคือความไม่แน่นอน เราไม่อาจรู้วา่
สถานการณ์ของโลกจะเปลี่ยนไปอย่างไร เศรษฐกิจ
จะผันผวนไปแค่ไหน ความต้ องการของตลาดจะ
เปลี่ยนไปอย่างไร กระทัง่ เราไม่อาจรู้ได้ ว่า เราจะ
เจ็บป่ วยเมื่อไหร่ หรือ โชค จะเข้ าข้ างเราหรื อไม่
ภูมิค้ มุ กัน จะทาให้ เราไม่ประมาท ทาให้ เรารู้สกึ ที่จะ
วางแผนที่ดีในวันนี ้ เพื่อวันข้ างหน้ า ทาให้ เรารู้จกั
หาทางหนีทีไล่ มีแผนสารองเพื่อการแก้ ไขปั ญหาที่
หลากหลาย ภูมิค้ มุ กันสามารถป้องกันความเสี่ยงได้
ในหลากหลายรูปแบบ
ในแง่ร่างกาย ถ้ าเรียนหนัก ทางานหนัก ก็ต้อง
พักผ่อน ให้ พอ กินอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อจะได้
แข็งแรง ไม่เจ็บป่ วย
ในแง่การเงิน ต้ องมีเงินออมไว้ เผื่อใช้ ยามฉุกเฉิน
ยามเจ็บไข้ ได้ ป่วย หรือ ออมไว้ เพื่อลงทุนเพิ่มเติม
หรือเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ
ในแง่สงั คม เราต้ องมีเพื่อน มีคนรู้จกั เพื่อการช่วย
เกื ้อกูลกันได้ ในอนาคต
การพึง่ พาตนเองให้ มากที่สดุ นัน้ นับว่าเป็ นภูมิค้ มุ กัน
ที่ดียิ่ง ทาให้ ตวั เรามีความแข็งแรง ชุมชนและ
ประเทศ มีความเข้ มแข็งเพียงพอที่จะรับกับ
สถานการณ์ตา่ งๆ รวมถึงการที่จะออกไปสู้กับโลก
ภายนอกด้ วย
การตัดสินใจและการจะทาอะไรให้ อยูใ่ นระดับพอเพียงนัน้ ต้ องอาศัยทังความรู
้
้ และคุณธรรมเป็ น
พื ้นฐาน
ความรู้
คือ ความรอบรู้ ในสิ่งที่จะทาอย่าง
ถ่องแท้ และรอบด้ าน
คือ ความรอบคอบ ที่จะนาความรู้มาพิจารณา
เพื่อวางแผน ไม่หวือหวา หุนหันพลันแล่น
คือ ความระมัดระวัง ใช้ ความรู้ให้ เหมาะกับกาละ
และเทศะ
คนจะพอเพียงได้ ต้องมีความรู้ในวิชาการต่างๆ ที่
เกี่ยวข้ อง กับสิ่งที่ทาอย่างรอบด้ าน ยิ่งรู้ลกึ รู้จริง
ก็ยิ่งดีตอ่ การปฏิบตั ิ
หากจะทาธุรกิจ ก็ต้องศึกษาธุรกิจนันๆ
้ จนกระจ่าง
จนรู้จริง เช่น ทาอย่างไร มีบคุ ลากรไหม ตลาด
เป็ น อย่างไร มีคแู่ ข่งมากไหม หาลูกค้ าอย่างไร จะ
ผ่าน อุปสรรคอย่างไร ถ้ าเราจะทาอะไรสักอย่างแค่
เพราะเห็นคนอื่นเขาทาแล้ วประสบความสาเร็ จ เรา
ก็จะ ล้ มเหลวตังแต่
้ ต้น
คุณธรรม หมายถึง ความซื่อสัตย์สจุ ริต มีความ
อดทน มีความเพียร ใช้ สติปัญญาในการดาเนิน
ชีวิต รู้จกั การแบ่งปั น ไม่โลภ และไม่ตระหนี่ เป็ น
คนเก่ง อย่างเดียวไม่พอ ต้ องเป็ นคนดีด้วยความ
เก่ง และ ความดีของราจะเอื ้อประโยชน์แก่ตวั เรา
และ สังคม
คุณธรรม คือ ศักดิ์ศรีที่จะทาเกิดความ
ภาคภูมิใจ คุณธรรมของเราก็จะค ้าจุนตัวเราเอง
และคนรอบข้ าง
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ คาตอบของ
การ อยูร่ อด และหนทางสูค่ วามสุขของคนไทยทุก
คนในวันนี ้ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข จะอยูใ่ นจิตสานึก
ของเรา และ นามาปรับใช้ ให้ เหมาะสมกับตนเอง
อย่างจริงจัง
Sufficiency Economy
“Sufficiency Economy” is a philosophy bestowed
by His majesty the King to his subjects through
royal remarks on many occasions over the past three
decades. The philosophy provides guidance on
appropriate conduct covering numerous aspects of
life. After the economic crisis in 1997, His Majesty
reiterated and expanded on the “Sufficiency
Economy” in remarks made in December 1997 and
1998. The philosophy point the way for recovery
that will lead to a more resilient and sustainable
economy, better able to meet the challenges arising
from globalization and other changes.
Philosophy of the “Sufficiency Economy”
“Sufficiency Economy” is a Philosophy that stresses
the middle path as an overriding principle for
appropriate conduct by the populace at all levels.
This applies to conduct starting from the level of the
families, communities as well as the level of nation
in development and administration so as to
modernize in line with the forces of globalization.
“Sufficiency” means moderation, reasonableness,
and the need of self-immunity for sufficient
protection from impact arising from internal and
external changes. To achieve this, an application of
knowledge with due consideration and produce is
essential. In particular great care is needed in the
utilization of theories and methodologies for
planning and implementation in every step. At the
same time, It is essential to strengthen the moral
fibre of nation, so that everyone, businessmen at all
levels, adheres fist and foremost to the principles of
honesty and integrity. In addition, a way of life
based on patience, perseverance, diligence, wisdom,
and prudence is indispensable to create balance and
be able to cope appropriately with critical challenges
arising from extensive and rapid socioeconomic,
environmental, and cultural changes in the word.
[Reference: Unofficial translation. A working definition complied
from remarks made by His Majesty the King on various occasions
and approved by His Majesty the King on various occasions and
approved by His Majesty and sent by His Majesty’s Principle Private
Secretary to the NESDB on November 29, 1999]
The Meaning of the Three Components
Moderation – is closely linked to the idea of
sufficiency. In Thai as in English, the word for
sufficiency pho phiang) has two meanings: enough
in the sense of not too little, and enough in the sense
of not too much. It conveys the idea of middle way
between want and extravagance, between
backwardness and impossible dreams. It implies
both self-reliance and frugality.
Reasonableness – means both evaluating the
reasons for any action, and understanding its full
consequences – not only on oneself, but on others,
the society. and
The environment; and not only in the short term, But
the long also. This idea of reasonableness thus includes
accumulated knowledge and experience, along with the
analytic capability, self-awareness, foresight,
compassion and empathy.
Self-immunity – means having built-in resilience,
and the ability to withstand shocks, to adjust to
external change, and to cope with events that are
unpredictable or uncontrollable. It implies a
foundation of self-reliance, as self-discipline.
Sufficiency Economy Philosophy
Besides these three components, two
other conditions are needed to make the
principle of Sufficiency Economy
work: knowledge and integrity.
Knowledge – means something close
to wisdom in English as it encompasses
accumulating information with the
insight to understand its meaning and
the care or prudence needed to put it to
use.
Integrity – means virtue, ethical
behavior, honesty and
straightforwardness, but also tolerance,
perseverance, a readiness to work hard
and a refusal to exploit others.
These elements clearly overlap and
interlock Reasonableness indicates
moderation. Moderation builds selfimmunity. Self- immunity is a requisite
for reasonableness. They are not separate
items but a trio. Graphically they can be
shown as overlapping spheres.
Reference: Thailand Human Development, United
Nations Development Programme (UNDP), 2007
ฝึ กใช้หลัก 3 หวง
2 เงือ
่ นไขแบบงายๆ
ดวย
่
่
้
ตัวคุณเอง เพียงนึกถึงสิ่ งทีค
่ ุณอยากจะทาหรือ
อยาก จะซือ
้ แลวเขี
่ รารถนา
้ ยนลงในช่องสิ่ งทีป
จากนั้น คนหาค
าตอบวาสิ
้
่ ่ งนั้น พอประมาณ
กับตัว
คุณเองไหม มีเหตุผลหนัก
แน่นแคไหน
มีภูมค
ิ มกั
ุ้ นหรือยัง ตัวคุณเองมี
่
ความรูเกี
่ วกับสิ่ งนั้นไหมและมีคุณธรรม
้ ย
หรือไม่ ทาเครือ
่ งหมาย  (ถูก) หรือ x (ผิด) ไว้
ในหวงกลม
่
สิ่ งทีป
่ รารถนา
มีภูมค
ิ ุ้มกัน
ซือ
้ มือถือ
ใหม่
.
.
อยาก
เรียนวิศวะ
ขยาย
รานอาหา
้
ร
หากคาตอบของคุณมีเครือ
่ งหมาย  (ถูก) ครบ
ทุกขอ
้ คุณน่าจะทาสิ่ งนั้นได้ หรือ ตัดสิ นใจ
ซือ
้ พอประมาณ
ได้
มีเหตุผล
มีความรู้
P
P
O
P
P
P
มีคุณธรรม
P
P
P
O
P
P
แตหากค
าตอบของคุณมีเครือ
่ งหมาย x (ผิด) แมเพี
่
้ ยงข้อ
เดียว คุณน่าจะคิดทบทวนใหม่ ลองเปลีย
่ นแปลงบางอยาง
่
หรือหาทางปรับแกไขให
แลวจึ
ดสิ นใจ
้
้ลงตัวกอน
่
้ งคอยตั
่
ใหมอี
่ กครัง้
ในการค้นหาคาตอบแตละหั
วข้อ คุณควรคิดทบทวนดวย
่
้
ความเป็ นจริ อยาเข
่ ้าข้างตัวเองมากเกินไป อยาใช
่
้อา
ราณ?ตัดสิ น ไมเช
่ ่ นนั้น ผลการตัดสิ นใจของคุณอาจ
ผิดพลาด ถือเป็ นการใช้ 3 หวง
2 เงือ
่ นไขทีไ่ มถู
่
่ กตอง
้
ผลการตัดสิ นใจ
หมายเหตุ
P
คิด
ใหม่
ใช้อินเตอรเนตบนมื
อถือไมเป็
์
่ น
ลองเปลีย
่ นรุนดี
่ กวา่
P
คิดถูก
แลว
้
P
ชะลอ
ไวก
้ อน
่
ตองเตรี
ยมตัวให้ดี จะไดไม
้
้ ่
ผิดหวัง
ลงทุนมากไป ไดก
้ าไรไมคุ
่ ม
้
ทุน
สิ่ งทีป
่ รารถนา
มีภูมค
ิ ุ้มกัน
.
.
พอประมาณ
มีความรู้
มีเหตุผล
มีคุณธรรม
ผลการตัดสิ นใจ
หมายเหตุ
สิ่ งทีป
่ รารถนา
มีภูมค
ิ ุ้มกัน
.
.
พอประมาณ
มีความรู้
มีเหตุผล
มีคุณธรรม
ผลการตัดสิ นใจ
หมายเหตุ
ผอ. ปรีชา
มีบุญ
กรรมการ
สถานศึ กษา
ชุมชน/
ชาวสวน
ปราชญ ์
ชาวบาน
้
เจ้าของ
ธุรกิจ
ครูโรงเรียน
สุนทรภูพิ
่ ทยา
BE SPSS GENERATION