เศรษฐกิจพอเพียง

Download Report

Transcript เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจ
แสงเทียนส่องทาง
พอเพี
ชีวย
ต
ิ ง
สู ่ความสุข…สงบที่
่ น
ยังยื
“เศรษฐกิจ พอเพีย ง” เป็ นปร ช
ั ญาที่
ตั้ง อ ยู ่ บ น พื ้ น ฐ า น ข อ ง วิ ถ ี ไ ท ย ที่
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู ่ ห ัว ได้
้
พระราชทานเพื่อชีแนะแนวทางใน
การด าเนิ นชีว ิ ต และปฏิ บ ต
ั ิ ต นขอ ง
ประชาชนทุ ก ระดับ ทุ ก สาขาอาชีพ
้
มาโดยตลอดนานกว่ า ๓๐ ปี ตังแต่
ปี
๒๕๑๗ เป็ นต้น มา ให้ด าเนิ นไปบน
ทางสายกลาง มุ่งให้ค วามสาคัญ กับ
้
การสร า้ งพืนฐาน
ความพอมี พอกิน
“……ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ท า
้ ต้องสรา้ งพืนฐาน
้
ตามลาดับขัน
คือ ความพอ
มี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่ ว นใหญ่ เ ป็ น
เบื ้องต้น ก่ อ น โดยใช้ว ิ ธ ีก ารและอุ ป กรณ์ ท ี่
่
ประหยัด แต่ ถู ก ต้อ งตามหลัก วิช าการ เมือได้
้
่ นคงพร
่
พืนฐานที
มั
้อมพอควรและปฏิบต
ั ไิ ด้แล้ว
จึง ค่ อ ยสร า้ ง ค่ อ ยเสริม ความเจริญ และฐานะ
้ สู
่ งขึนโดยล
้
ทางเศรษฐกิจขันที
าดับต่อไป หาก
มุ่ ง แต่จ ะทุ่ ม เทสร า้ งความเจริญ ยกเศรษฐกิ จ
ขึ ้นใ ห้ ร ว ด เ ร็ ว แ ต่ ป ร ะ ก า ร เ ดี ย ว โ ด ยไ ม่ ใ ห้
แผนปฏิ
บต
ั ิ การสัมพันธ ์กับสภาวะของประเทศ
พระราชดาร ัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หวั
และของประชาชนโดยสอดคล้
องด้
วยจาก
ก็จะเกิด
พระราชทานแก่ผูส
้ าเร็จการศึ
กษา
ค ว า มไ ม่ ส ม
ดุ ลใทน
เ รืย่ อเกษตรศาสตร
ง ต่ า ง ๆ ขึ ้ น์ ซึ่ ง อ า จ
มหาวิ
ยาลั
่ ด….”
่ นที
่ ๑๘ กรกฎาคม
เมือวั
๒๕๑๗
กลายเป็ นความยุ
่งยากล้
มเหลวได้
ในทีสุ
เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ห ม า ย ถึ ง
่
เศรษฐกิจทีสามารถอุ
ม
้ ชู ตวั เองได้ให้
ความพอเพียงกับตวั เอง อยู ่ได้โดยไม่
้
ต้องเดือดรอ้ น โดยต้องสรา้ งพืนฐาน
ทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดเี สียก่อน
้ั วั ให้ม ค
คือ ต งต
ี วามพอมีพ อกิน พอใช้
ไม่ ใ ช่ มุ่ ง หวัง แต่ จ ะทุ่ ม เทสร า้ งความ
เจริญยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่เพียง
อย่ า งเดี ย ว เพราะผู ้ท ี่ มี อ าชี พ และ
่
่
ฐานะเพียงพอทีจะพึ
งตนเองย่
อมสร ้าง
ความเจริญ ก้า วหน้ า และฐานะทาง
หลักการ
่
พึงตนเอง
ด้าน
จิตใ
จ
ด้าน
สังค
ม
ด้านทร ัพยากรธรรมชาติ
่
และสิงแวดล้
อม
ด้าน
เศรษฐ
กิจ
ด้าน
เทคโนโ
ลยี
ด้านจิตใจ ท ำตนใหเ้ ป็ นที่พึ่งของตนเอง มีจิตใจ
เข ม
้ แข็ ง มี จ ิ ต ส ำนึ กที่ ดี สร ำ้ งสรรค ใ์ ห ต
้ นเองและชำติ
้
่ ตย ์สุจริต เห็น
โดยรวม มีจต
ิ ใจเอืออำทร
ประนี ประนอม ซือสั
่ ง้
ประโยชน์สว่ นรวมเป็ นทีตั
้ ลกัน
ด้านสังคม แต่ละชุมชนตอ้ งช่วยเหลือเกือกู
่
่ งแรงเป็ นอิสระ
เชือมโยงกั
นเป็ นเครือข่ำยชุมชนทีแข็
่
ด้านทร ัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้
อม
้
่มมู ล ค่ำ โดยยึด
ใหใ้ ช ้และจัด กำรอย่ำ งฉลำดพร ้อมทังกำรเพิ
่ น และเกิดประโยชน์สงู สุด
หลักกำรของควำมยังยื
่
ด้านเทคโนโลยี จำกสภำพแวดลอ้ มที่เปลียนแปลง
้ั และไม่ด ี จึงต ้องแยกแยะบน
รวดเร็วเทคโนโลยีทเข
ี่ ำ้ มำใหม่มท
ี งดี
้
่
พืนฐำนของภู
มิปัญญำชำวบำ้ น และเลือกใช ้เฉพำะทีสอดคล
อ้ ง
กับควำมต ้องกำรของสภำพแวดลอ้ ม ภูมป
ิ ระเทศ สังคมไทย และ
ควรพัฒนำเทคโนโลยีจำกภูมป
ิ ัญญำของเรำเอง
่
่
ด้านเศรษฐกิจ แต่เดิมนักพัฒนำมักมุ่งทีกำรเพิ
ม
่
้ ้อง
รำยได ้ และไม่มก
ี ำรมุ่ง ทีกำรลดรำยจ่
ำย ในเวลำเช่นนีจะต
ปร ับทิศทำงใหม่ คือจะต ้องมุ่งลดรำยจ่ำยก่อนเป็ นสำคัญ และยึด
หลักพออยูพ
่ อกินพอใช ้และสำมำรถอยูไ่ ด ้ด ้วยตนเอง ในระดับ
้
เบืองต
้น
เป้ าหมายเศรษฐกิจพอเพียง
ป รั ช ญ า ข อ ง
เศรษฐกิจพอเพียง มี
เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ
จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ร่ ว ม ที่
ส าคัญ คือ มุ่ ง สร า้ ง
ค ว า ม ส ม ดุ ล ข อ ง
กระบวนการพัฒ นา
ทุกมิตท
ิ มี
ี่ “คน”เป็ น
ศู น ย ก
์ ลาง โดยมุ่ ง สู ่
พระบรมราโชวาทของ
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู ่ ห วั
ที่
พระราชทานแก่เอกอค
ั รราชทู ตและ
กงสุลใหญ่ไทย
ณ ศาลาดุสต
ิ ดา
ลัย พระต าหนั ก จิ ต รลดารโหฐาน
่ น ที่ ๒๙ สิง หาคม ๒๕๕๐ สรุ ป
เมือวั
่ คือ ความ
ความว่า “ความสุข ทีมี
พอเพียง ถ้าคนมีความพอเพียง คน
ก็มค
ี วามสุข เราก็มค
ี วามสุข ถ้า คน
ที่อยากได้โ น่ นอยากได้นี่ มาก เรา
คุณลักษณะของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ปรช
ั ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง มี
ลักษณะสาคัญ ๒ ประการ
๑. ลักษณะของผู ป
้ ฏิบต
ั ต
ิ ามปร ัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๑
ความรู ้
ความรอบรู ้
ความรอบคอบ
ความ
ระมัดระว ัง
่ ่
ความรอบรู ้ คือ ความรู ใ้ นสิงที
จะท าอย่ า งถ่ อ งแท้ร อบด้า น น า
ความรู ต
้ ามหลัก วิ ช ามาใช้ใ น
การวางแผนและด าเนิ น งานทุ ก
ขั้น ต อ น ค ว า ม ร อ บ รู ้
ใน
ข้ อ เ ท็ จ จ ริ งใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ท ี่
่
เกียวข้
องต่างๆ เป็ นการรู เ้ ท่าทัน
่
่ ดขึน
้
การเปลียนแปลงที
เกิ
ความรอบคอบ เป็ นกำรนำ
ค ว ำ ม รู ม
้ ำ พิ จ ำ ร ณ ำ เ พื่ อ ว ำ ง
แ ผ น ก ำ ร ป ฏิ บั ติ ง ำ น
่
เพื่อพิ จ ำรณำเชือมโยงกั
น ด ว้ ย
ควำมรอบคอบไม่ หุ น หัน พลัน
แล่น
ความระมัดระวัง เป็ นการใช้
ค ว า ม รู ้ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ
ส ถ า น ก า ร ณ์ ด้ ว ย ค ว า ม
ระมัด ระวังในการปฏิ บ ต
ั ิ และ
พร อ
้ มร บ
ั ค่ า การเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่างๆ
๑.๒ เป็ นคนดีมค
ี ณ
ุ ธรรม คือการ
เ ส ริ ม ส ร า
้ ง พื ้น ฐ า น จิ ตใ จ ข อ ง ค น ที่
ดาเนิ นชีวต
ิ ตามปร ัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพี ย งให้เ ป็ นคนดีม ีจ ิต ส านึ ก และ
ตระหนั ก ในคุ ณ ธรรม โดยมี ค วาม
่ ตยส
ซือสั
์ ุ จ ริต ไม่ โ ลภ ไม่ ค ดโกง มี
ความอดทนและมีค วามเพีย ร การใช้
สติปัญ ญาในการดาเนิ น ชีวต
ิ มีความ
เ ม ต ต า ช่ ว ย เ ห ลื อ เ กื ้ อ กู ล แ ล ะ
้
้ อเผื่อแผ่ รู จ
เอือเฟื
้ ก
ั แบ่ ง ปั น มีค วาม
กตัญญู กตเวที ต่อแผ่นดิน บิดา มารดา
๒. คุณลักษณะของความ
พอเพียงความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
การมีภูมค
ิ ม
ุ ้ กน
ั ใน
่
ต ัวทีดี
ความพอประมาณ หมายถึง
ความพอดีท ี่ไม่ ม ากเกินไปหรือ
น้ อ ยเกิ นไป โดยไม่ เ บี ย ดเบี ย น
ต น เ อ ง แ ล ะ ผู ้ อื่ น ร ว ม ทั้ ง
ทร ัพยากรธรรมชาติ ความเรียบ
่ าเป็ นส าหร บ
ง่ า ย คือ มีส ิงจ
ั ชีว ิต
อ ย่ า ง พ อ เ พี ย ง มี ค ว า ม
สะดวกสบายพอสมควร แต่ไม่ถงึ
้ มเฟื อยเกินความจาเป็ น
ขันฟุ่
ความมีเ หตุ ผ ล
หมายถึ ง การ
่
ตด
ั สินใจเกียวกั
บระดบ
ั ความพอเพียง
จ ะ ต้อ ง เ ป็ นไ ป อ ย่ า ง มี เ ห ตุ ผ ล โ ด ย
่
พิจ ารณาจากเหตุ ปั จ จัย ที่เกียวข้
อง
ประเมินสถานการณ์และคานึ งถึงผลที่
้
คาดว่าจะเกิดขึนจากการกระท
านั้นๆ
อย่ างรอบคอบ ใช้ส ติปัญ ญาในการ
ท างาน การท าอะไรควรใช้ข ้อ มู ล
ความรู ้ ทางวิช าการ ท างานอย่ า งมี
้
แบบแผน ทาเป็ นขันตอนจากน้
อยไป
หามาก คิดได้ค ิด เป็ น ฉะนั้ นความมี
่ หมายถึง
การมีภูมค
ิ ุม
้ กันในตัวทีดี
การเตรีย มตัว พร อ
้ มร บ
ั ผลกระทบการ
่
่ ดขึน
้ โดยคานึ งถึง
เปลียนแปลงต่
างๆทีเกิ
ความ เป็ นไปได้ข อง สถาน การ ณ์ ท ี่ จ ะ
้
เกิด ขึ นในอนาคตอ
น
ั ใกล้แ ละไกล เช่ น
ด้า นร่ า งกาย ควรพัก ผ่ อ นให้เ พี ย งพอ
รบ
ั ประทานอาหารที่ มี ป ระโยชน์ ออก
่
กาลังกายสม่าเสมอ เพือความแข็
งแรงไม่
เจ็บป่ วย ด้านสติปัญญาพัฒนาตนเองให้ม ี
ความรู ค
้ วามสามารถ ใฝ่ รู ต
้ ลอดชีว ิ ต
ด้ า น สั ง ค ม ต้ อ ง มี เ พื่ อ น มี ค น รู ้ จ ั ก
้ ลกน
ช่วยเหลือเกือกู
ั สาหร ับองค ์กรต่างๆ
ควรเลือกเฟ้นคนดีคนเก่งเข้าทางาน ด้าน
การประยุกต ์ใช้ปร ัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๑. ยึดทำงสำยกลำง เป็ นแนวทำงดำเนิ นชีวต
ิ ไม่ทำอะไรสุดโต่ง
ไม่มำกไม่นอ้ ย เกินไป
ทำอย่ำงค่อยเป็ นค่อยไป
่ ง้ ไม่หลงตำมกระแสนิ ยม พึงตนเองได
่
๒. ไม่ยด
ึ วัตถุเป็ นทีตั
้ทำง
เศรษฐกิจ
๓. ดำเนิ นชีวต
ิ อย่ำงพอเพียง พอมีพอกิน ไม่โลภ
๔. ใช ้จ่ำยอย่ำงมีเหตุผล ประหยัด ไม่ฟุ่มเฟื อยฟุ้ งเฟ้ อ ใช ้ของ
เกินฐำนะ มีกำรใช ้
ทรัพยำกรอย่ำงคุ ้มค่ำ
๕. ใช ้สติปัญญำในกำรดำเนิ นชีวต
ิ
การประยุกต ์ใช้ปร ัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ)
่ เพือรองร
่
่
๖. สร ้ำงภูมค
ิ ุ ้มกันทีดี
ับกำรเปลียนแปลง
มีสข
ุ ภำพดี
ครอบคร ัวอบอุน
่
่ มีกำรรวมกลุม
มีมนุ ษยสัมพันธ ์ทีดี
่ เป็ นเครือข่ำย
้ บ
่ งอยู
่
นไป หรือลงทุนเชิงกำรพนันทีตั
๗. ไม่ทำอะไรเสียงเกิ
่ น
่
ควำมเสียง
่
๘. ใฝ่ หำควำมรู ้อย่ำงต่อเนื่ อง รู ้เท่ำทันกำรเปลียนแปลง
้ ลกัน ละเลิก
๙. ขยัน อดทน มีควำมเพียร ช่วยเหลือเกือกู
แก่งแย่งผลประโยชน์
รู ้จักกตัญญู
๑๐. ยึดหลัก รู ้ร ัก สำมัคคี ไม่เบียดเบียน รู ้จักกำรให ้และแบ่งปัน
เศรษฐกิจพอเพียงสาหร ับ
แนวคิดระบบเศรษฐกิจเกษตรกร
พอเพียงสำหร ับเกษตรกรตำม
แนวพระรำชดำริ
้ บ
้
ตังอยู
่ นพืนฐานของหลั
กการ ทฤษฎีใหม่ ๓
้ คือ
ขัน
้ หนึ
่ ่ ง มีควำมพอเพียงเลียงตนเองได
้
้
ขันที
้บนพืนฐำนของควำม
ประหยัด ขจัดกำรใช ้จ่ำย
้ สอง
่
่ ำกำรผลิต กำรตลำด
ขันที
รวมพลังกันในรูปกลุม
่ เพือท
้ ้ำน
กำรจัดกำร รวมทังด
สวัสดิกำร กำรศึกษำ กำรพัฒนำสังคม
้ สาม
่
ขันที
สร ้ำงเครือ ข่ ำ ยกลุ่ ม อำชีพ และขยำยกิจ กรรมทำง
เศรษฐกิจให ้หลำกหลำย
โดยประสำนควำมร่วมมือกับภำคธุรกิจ ภำคองค ์กร
พัฒนำเอกชน
และภำครำชกำรในดำ้ นเงินลงทุน กำรตลำด กำร
ผลิต กำรจัดกำร
เศรษฐกิจพอเพียง
สาหร ับผู ท
้ อยู
ี่ ่นอกภาค
การเกษตร
ส ำหร บ
ั คนอยู่ น อกภำคกำรเกษตรนั้ นเศรษฐกิ จ
พอเพียงสำมำรถนำมำใช ้ เป็ นหลักในกำรด ำเนิ นชีวิ ตได ้
เพรำะเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรช
ั ญำ เป็ นแนวปฏิบต
ั ต
ิ นไม่ ว่ำ
จะอยู่ในกิจกรรมหรืออำชีพใด ก็ต ้องยึดวิถช
ี วี ต
ิ ไทยอยู่แต่พอดี
อย่ ำ ฟุ่ มเฟื อยอย่ ำ งไร ป้ ระโยชน์ อย่ ำ ยึ ด วัต ถุ เ ป็ นที่ ตั้ง ยึ ด
เส น
้ ทำงสำยกลำง อยู่ก น
ิ ตำมฐำนะ
ใช ้สติปัญ ญำใน
กำรดำรงชีวต
ิ
แนวคิดของปร ัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการ
แก้ไขวิกฤติทางเศรษฐกิจ
และปั ญหาทางสังคมไทย
ประการแรก เป็ นระบบเศรษฐกิจที่ยึดหลักกำรที่ว่ำ
่
่ งแห่
งตน โดยมุ่งเน้นกำรผลิตพืชผลใหเ้ พียงพอกับ
ตนเป็ นทีพึ
ควำมต อ้ งกำรบริโ ภคในคร วั เรือ นเป็ นอัน ดับ แรกเมื่อเหลือ พอ
จำกกำรบริโ ภคแล ว้ จึง ค ำนึ ง ถึง กำรผลิต เพื่อกำรค ำ้ ผลผลิต
่
ส่วนเกินทีออกสู
ต
่ ลำดก็จะเป็ นกำไรของเกษตรกร
่
ประการทีสอง
เศรษฐกิจ พอเพีย งให ค
้ วามส าคัญ
้ กลุ
้ ่มชำวบำ้ นหรือองค ์กร
กบ
ั การรวมกลุ่มของชำวบำ้ น ทังนี
่ นผูด้ ำเนิ นกิจกรรมทำงเศรษฐกิจต่ำงๆให ้
ชำวบำ้ นจะทำหน้ำทีเป็
้
หลำกหลำยครอบคลุมทังกำรเกษตรแบบผสมผสำน
หัตถกรรม
่
กำรแปรรูปอำหำร กำรทำธุรกิจคำ้ ขำย และกำรท่องเทียวระดั
บ
ชุมชน ฯลฯ
่
้ ่บนพืนฐำน
้
ประการทีสาม
เศรษฐกิจ พอเพียงตังอยู
้
ของความเมตตา ความ เอืออาทร
และความสามัค คี
ของสมาชิกในชุ ม ชน ในกำรร่ว มแรงร่ว มใจเพื่อประกอบ
้ งไม่ ไ ด ้
อำชีพ ต่ ำ งๆ ให บ
้ รรลุ ผ ลส ำเร็ จ ประโยชน์ที่ เกิ ด ขึ นจึ
หมำยถึงรำยได ้แต่เพียงมิตเิ ดียว หำกแต่ยงั รวมถึงประโยชน์ด ้ำน
่
อืนๆด
ว้ ย ได แ้ ก่ กำรสร ้ำงควำมมั่นคงให ก
้ บ
ั สถำบัน ครอบคร วั
สถำบันชุมชน ควำมสำมำรถในกำรอนุ รกั ษ ์ทรพ
ั ยำกรธรรมชำติ
และสิ่งแวดล อ้ ม กำรพัฒ นำกระบวนกำรเรีย นรู ้ของชุม ชนบน
พื ้น ฐ ำ น ข อ ง ภู มิ ปั ญ ญ ำ ท ้อ ง ถิ่ น ร ว ม ทั้ ง ก ำ ร ร ัก ษ ำ ไ ว ้ซ ึ่ง
ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ทดี
ี่ งำมของไทยให ้คงอยูต
่ อ
่ ไป
๑. ยึดควำมประหยัด ตัดทอนค่ำใช ้จ่ำยในทุกด ้ำน ลดละควำม
ฟุ่ มเฟื อยในกำรดำรงชีพ
อย่ำงจริงจัง
๒. ยึดถือกำรประกอบอำชีพด ้วยควำมถูกต ้องสุจริต แมจ้ ะตกอยู่
ในภำวะขำดแคลนใน
กำรดำรงชีพก็ตำม
๓. ละเลิกกำรแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทำงกำรคำ้
ขำยประกอบอำชีพ
แบบต่อสู ้กันอย่ำงรุนแรงเช่นอดีต
่
๔.ไม่หยุดนิ่ งทีจะหำทำงให
้ชีวต
ิ หลุดพน้ จำกควำมทุกข ์ยำก โดย
ต ้องขวนขวำยใฝ่ หำ
่ นจนถึงขันพอเพี
้
ควำมรู ้ให ้เกิดมีรำยได ้เพิมพู
ยงเป็ น
เป้ ำหมำยสำคัญ
่ ลดละสิงชั
่ วให
่ ้หมดสินไป
้
้ ด
้ ้วย
๕.ปฏิบต
ั ต
ิ นในแนวทำงทีดี
ทังนี
่ มสลำยลง
สังคมไทยทีล่
่
การปฏิบต
ั ต
ิ นตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง”จึงไม่ใช่แนวคิดลอยๆ ตาม
้
กระแสสังคมเท่านัน
หากแต่สามารถนามาปร ับใช้ และปลงแนวคิดไปสู ่
การปฏิบต
ั ไิ ด้เป็ นรู ปธรรม
่ จจุบน
ซึงปั
ั ปร ัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ร ับการ
ยอมร ับอย่างกว้างขวาง
้
จากทังประชาชนชาวไทย
และชาวต่างประเทศ