ตัน ภาสกรนที ผู้นำคือ...หัวใจ...กำรบริหำร ผู้ประสำน...สิบทิศ...จิตกร้ ำวแกร่ ง วิสัยทัศน์ ...ต้ องก้ ำวไกล...มีไฟแรง ทำงำนแข่ งเวลำ...พัฒนำตน ยึดหลักจริยธรรม นำชีวติ เคำรพสิทธิ์...สร้ ำงประโยชน์ เกิดโภชน์ ผล รั กลูกน้ อง...เอือ้ เฟื ้ อ...ช่ วยเหลือชน มองทุกคน...อย่ ำงเห็นค่

Download Report

Transcript ตัน ภาสกรนที ผู้นำคือ...หัวใจ...กำรบริหำร ผู้ประสำน...สิบทิศ...จิตกร้ ำวแกร่ ง วิสัยทัศน์ ...ต้ องก้ ำวไกล...มีไฟแรง ทำงำนแข่ งเวลำ...พัฒนำตน ยึดหลักจริยธรรม นำชีวติ เคำรพสิทธิ์...สร้ ำงประโยชน์ เกิดโภชน์ ผล รั กลูกน้ อง...เอือ้ เฟื ้ อ...ช่ วยเหลือชน มองทุกคน...อย่ ำงเห็นค่

ตัน ภาสกรนที
ผู้นำคือ...หัวใจ...กำรบริหำร
ผู้ประสำน...สิบทิศ...จิตกร้ ำวแกร่ ง
วิสัยทัศน์ ...ต้ องก้ ำวไกล...มีไฟแรง
ทำงำนแข่ งเวลำ...พัฒนำตน
ยึดหลักจริยธรรม นำชีวติ
เคำรพสิทธิ์...สร้ ำงประโยชน์ เกิดโภชน์ ผล
รั กลูกน้ อง...เอือ้ เฟื ้ อ...ช่ วยเหลือชน
มองทุกคน...อย่ ำงเห็นค่ ำ...เมตตำธรรม
ควำมสำคัญของกำรบริหำร
1. ช่วยให้ องค์กรบรรลุเป้าหมาย นัน่ คือผลกาไร
2. การบริหารงานช่วยให้ เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของงาน
3. ช่วยพยุงและส่งเสริมฐานะทางเศรษฐกิจของชาติ
4. เป็ นเครื่ องชี ้ถึงความเสี่ยงหรื อความเจริญขององค์การและสังคม
5. เนื่องจากมีการแข่งขันมากขึ ้น จึงต้ องอาศัยหลักการบริหารมาใช้
ปรับปรุงงานให้ มีประสิทธิภาพ
ลำดับขัน้ ของกำรบริหำร
1 .ผู้บริหารระดับสู ง (Top Management)
ทำหน้ำที่ในกำรกำหนดนโยบำย และกำรวำงแผนในกำรดำเนินธุรกิจ
2. ผู้บริการระดับกลาง (Middle Management)
ทำหน้ำที่ในกำรกำหนดวิธีในกำรปฏิบตั ิงำนขององค์กร เพื่อให้สอดคล้อง
กับนโยบำยขององค์กำรที่ผบู ้ ริ หำรระดับสู งกำหนดไว้
3. ผู้บริหารระดับต้ น (Supervisory Management)
ทำที่ในกำรปฏิบตั ิงำนตำมที่ผบู ้ ริ หำรระดับกลำงกำหนดขึ้นและรับผิดชอบ
เกี่ยวกับรำยละเอียดของงำนที่รับมอบหมำย
ทักษะของผู้บริหำร
1. ทักษะทำงด้ ำนเทคนิค (Technical Skills)
คือความสามารถในการใช้ วิธีการ อุปกรณ์ และเทคนิคต่าง ๆ สาหรับการ
ปฏิบตั ิงานอย่างใด อย่างหนึง่ โดยเฉพาะ
2. ทักษะทำงด้ ำนมนุษย์ (Human Skills)
ความสามารถเกี่ยวพันกับคนอย่างมีประสิทธิภาพนันนั
้ บได้ ว่าเป็ นทักษะที่
มีความสาคัญมากที่ สุดอย่างหนึง่ ของผู้บริ หาร
3. ทักษะทำงด้ ำนควำมคิด( Conceptual Skills)
ความสามารถของผู้บริ หารในการมองเห็นองค์การธุรกิจโดยส่วนรวมมี
ความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ มีวิสยั ทัศน์และคาดการณ์สถานการณ์ต่างๆ ได้
เป็ นอย่างดี
ระดับกำรบริหำรงำนและทักษะของผู้บริหำร
จากภาพ อธิบายได้ วา่
ผู้บริหารระดับต้ นหรื อหัวหน้ างาน จะต้ องมีทกั ษะด้ านเทคนิค
และทางานในขอบเขตนี ้มากที่สดุ เนื่องจากต้ องควบคุมดูแลการ
ปฏิบตั ิงานของพนักงานระดับปฏิบตั ิการภายในกลุม่ ย่อยให้ ถกู ต้ องและดี
ที่สดุ
ส่วนผู้บริหารระดับกลาง ทาหน้ าที่ประสานงานระหว่างฝ่ าย
ต่างๆ มากขึ ้น จึงต้ องการทักษะทังสามด้
้
าน เทคนิคเป็ นส่วนน้ อย อย่างไร
ก็ตาม ทักษะด้ านมนุษย์สมั พันธ์ยงั คงมีความสาคัญอย่างมากต่อผู้บริหาร
ในทุกระดับ เพราะปั จจัยที่เหมือนกันในระดับบริหารจัดการทุกระดับก็คือ
บุคลากรนัน่ เอง
หน้ ำที่ในกระบวนกำรบริหำรจัดกำรของ
ผู้บริหำรระดับต่ ำงๆ
จากภาพ แสดงความสัมพันธ์ของระดับการบริหารจัดการกับหน้ าที่
ในกระบวนการบริหารจัดการ ดังนี ้ แสดงให้ เห็นว่า
การวางแผน (Planning) มีความสาคัญต่อผู้บริหารระดับสูงมากกว่า
ระดับกลาง และระดับต้ น เนื่องจากเป็ นผู้ที่ตดั สินใจและรับผิดชอบในเรื่ อง
ต่างๆ ขององค์การทังหมด
้
จึงต้ องการการวางแผนมากกว่า เช่นเดียวกับ
การจัดองค์การ (Organizing) จะมีความสาคัญต่อผู้บริหารระดับสูง
และระดับกลาง มากกว่าผู้บริหารระดับต้ น ในทางตรงกันข้ าม
การนาและสัง่ การ (Leading and Directing) จะมีความสาคัญต่อผู้บริหาร
ระดับต้ นมากกว่าผู้บริหารในระดับสูงกว่า เนื่องจากผู้บริหารระดับต้ นจะต้ อง
เป็ นผู้รับผิดชอบต่อการผลิตสินค้ าและบริการเป็ นต้ น
หน้ ำที่ของผู้บริหำร
1. จัดการงานให้ ตามกาลัง
คือ กำลังกำยและกำลังควำมรู้ นำยต้องพิจำรณำให้เหมำะสมแล้วจึงจัดกำรงำนให้พอดี
2. ให้ อาหารและรางวัล
คือกำรให้อำหำร เครื่ องใช้สอย ถำมควำมเป็ นอยูล่ ูกจ้ำง
3. รักษาพยาบาลในเวลาเจ็บไข้
คือ เอำใจใส่ คอยดูแลสอบถำมอำกำรเจ็บป่ วยของลูกจ้ำงยำมไม่สบำย
4. แจกของมีรสแปลกให้ กนิ
คือ เวลำได้ของอร่ อยหรื อแปลกประหลำดนำยจ้ำงควรแบ่งให้ลูกจ้ำงกินตำมสมควร
5. ปล่ อยในสมัย
คือ ปล่อยให้ลูกจ้ำงได้มีกำรได้พกั ผ่อนเป็ นระยะๆ
คุณลักคีทษณะของผู
้
บ
ริ
ห
ำร
เดวิส (Keiht Davis) ได้ระบบคุณลักษณะที่สำคัญของผูบ้ ริ หำรไว้ 4 ประกำร
1. มีควำมเฉลียวฉลำด
2. มีควำมสำมำรถทำงด้ำนสังคม
3. มีแรงจูงใจภำยในที่ตอ้ งกำรควำมสำเร็จ
4. มีทศั นคติดำ้ นมนุษย์สมั พันธ์ที่ดี
เซลเตอร์ บาร์ นาร์ ด (Chester I Barnard) ได้กล่ำวถึงคุณลักษณะพิเศษของผูบ้ ริ หำรไว้
ว่ำควรมีลกั ษณะดังนี้
1. มีร่ำงกำยแข็งแรง สุ ขภำพจิตดี
2. มีควำมรู้ควำมชำนำญพิเศษ
3. มีควำมสำมำรถรับรู้เรื่ องรำวต่ำง ๆ เป็ นอย่ำงดี
4. มีควำมจำดี
5. มีจินตนำกำรและควำมคิดสร้ำงสรรค์
จริยธรรมของผู้บริหำร
จริยธรรมที่กาหนดไว้ สาหรับผู้บริหารอาจจะแตกต่างกันไปสาหรับ
องค์การ แต่โดยทัว่ ไปจริยธรรมหลักของผู้บริหารองค์การ ประกอบด้ วย
1. ผู้บริหำรจะต้ องมีควำมศรั ทธำ ความผูกพัน ซื่อสัตย์สจุ ริต และความภักดี
ต่อองค์การ
2. ผู้บริหำรจะต้ องบริหำรงำนด้ วยควำมระมัดระวัง เอาใจใส่มีวิสยั ทัศน์
กว้ างไกล
3. ผู้บริหำรจะต้ องมีควำมยุตธิ รรมต่ อพนักงำน บริหารงานโดยไม่มีการ
ลาเอียงเลือกที่รักมักที่ชงั
จริยธรรมของผู้บริหาร
4. ผู้บริหำรจะต้ องบริหำรงำนด้ วยควำมยุตธิ รรม และเพื่อประโยชน์ตอ่
ผู้เกี่ยวข้ องกับองค์การทุกฝ่ าย เช่น เจ้ าหนี ้ ลูกค้ า ผู้คือหุ้นและคูค่ ้ า
5. ผู้บริหำรจะต้ องบริหำรงำนเพื่อประโยชน์ และความรับผิดชอบต่อชุมชน
และสังคมและประเทศชาติเป็ นส่วนรวม
6. รู้ จักอุปกำระ คือ ทาคุณทาประโยชน์ให้ แก่บคุ คลอื่น นึกถึงประโยชน์ของ
บุคคลอื่นเป็ นที่ตงพร้
ั ้ อมที่จะให้ ความอนุเคราะห์แก่คนอื่นในงานหน้ าที่ และความ
รับผิดชอบของตนรวมทังดู
้ แลทุกข์สขุ ของผู้ใต้ บงั คับบัญชา
7. ไม่ มีอคติใด ๆ ในกำรปฏิบัตติ นต่ อผู้ร่วมงำน ผู้ใต้ บงั คับและบุคคลทัว่ ไป
จริยธรรมของผู้บริหำร
8. ผู้บริหำรจะต้ องมีจริยธรรม ที่ทาให้ สาเร็จ ตามวัตถุประสงค์
9. มีพรหมวิหำร 4 คือ
9.1 มีควำมเมตตำ ปราณนาจะให้ บคุ คลอื่นเป็ นสุข
9.2 มีควำมกรุ ณำ คิดหาทางจะช่วยเหลือคนอื่นพ้ นทุกข์
9.3 มีมุทติ ำ คือ ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ ดี
9.4 มีอุเบกขำ คือ การรู้จกั วางเฉย การวางใจเป็ นกลาง
10. มีควำมรอบรู้ หมัน่ ศึกษาหาความรู้รอบตัว
จริยธรรมของผู้บริหำร
11. มีคุณธรรมที่เป็ นเครื่ องผูกนำ้ ใจบุคคลอื่นโดยทัว่ ไป
12. ประพฤติตนให้ ห่ำงจำกอุบำยมุข เช่น การไม่เป็ นคนเจ้ าชู้
การดื่มสุรา การพนัน การคบคนชัว่ ช้ าเสเพล
13. มีควำมจริงใจต่ อผู้ร่วมงำน ผู้ใต้ บงั คับบัญชาต่อบุคคลทัว่ ไป
ไม่เป็ น คนมีเสน่ห์หรื อเชื่อถือไม่ได้
14. ไม่ กระทำตนเป็ นคนเบียดเบียนผู้อ่ ืน ผู้ร่วมงานผู้ใต้ บงั คับบัญชา
15. รั กษำควำมลับผู้ใต้ บังคับบัญชำ
กำรส่ งเสริมและพัฒนำคุณธรรมของผู้บริหำร
คุณธรรม หมายถึง ความดี ความงาม ที่เกิดขึ ้นในจิตใจด้ วยการฝึ กตนเอง
ประพฤติปฏิบตั ิสงั่ สมกันเป็ นเวลานาน ผู้ที่มีคณ
ุ ธรรม คือ ผู้ที่มีความดี มีความงามเป็ นตัว
คอยกากับให้ คนประพฤติชอบ กระทาในสิ่งที่ถกู ต้ องหลีกเหลี่ยงในสิ่งที่เลวที่ชวั่ หวัง
ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตนคุณธรรมจึงเป็ นบ่อเกิดของจริ ยธรรม
กำรส่ งเสริม คือ การสนับสนุนให้ เกิดมีคณ
ุ ธรรมอย่างกว้ างขวาง ส่วนการพัฒนา
คือ การดัดแปลงแก้ ไขให้ ดีกว่าเดิม
ความจาเป็ นที่ต้องส่งเสริ มและพัฒนาคุณธรรมให้ ผ้ บู ริ หารปฏิบตั ิงานผู้บริ หารมัก
เป็ นแบบอย่างที่ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชานาไปประพฤติตามและยังเป็ นผู้มีมีอานาจหน้ าที่ในการ
ทางานให้ คาแนะนาสนับสนุนให้ มีการกาหนดจริ ยธรรมในระดับต่าง ๆ ในองค์การอีกด้ วย
กำรส่ งเสริมและกำรพัฒนำคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหำร
ทำได้ 3 แนวทำงด้ วยกัน คือ
1. ส่งเสริมโดยใช้ วิธีการจากภายนอก
2. ส่งเสริมโดยให้ ผ้ บู ริหารปฏิบตั ิด้วยตนเอง
3. ส่งเสริมโดยให้ เลือกคุณธรรมที่เหมาะสม
1. ส่ งเสริมโดยใช้ วิธีกำรจำกภำยนอก
เป็ นวิธีการส่งเสริ มผู้บริ หารโดยผู้บริ หารระดับสูง ด้ วยวิธีการดังต่อไปนี ้
1.1 วิธีกำรให้ ควำมรู้และพัฒนำควำมคิด ด้ วยการเชิญวิทยากรมให้ ความรู้
จัดให้ มีการฝึ กอบรม การสัมมนา
1.2 วิธีกำรสร้ ำงสภำพแวดล้ อมให้ เอื ้ออานวยต่อการสร้ างจิตใจให้ เบิกบาน
มีความบรรยากาศที่มีชีวิตด้ วยธรรมชาติ
1.3 วิธีกำรจูงใจ กระทาด้ วยการให้ คาแนะนาชักจูง โน้ มน้ าว ขึ ้นแนะ
ปั ญหาอาจกระทาด้ วยวาจา มีความสาเร็จและความสุขที่แท้ จริ ง
1.4 วิธีกำรทำงวินัย คือ ผู้บริ หารระสูงได้ สอดส่องดูแล ไม่ปล่อยปละ
ละเลย
1.5 วิธีกำรปฏิบัตติ นให้ เป็ นแบบอย่ ำง ผู้บริหารระดับสูงที่มีคณ
ุ ธรรม
จริยธรรมย่อมแสดงความประพฤติ การปฏิบตั ิงานให้ เป็ นแบบอย่างที่ดีงาม ไม่วา่
จะเป็ นการดาเนินชีวิตการวางตัวให้ เป็ นที่นบั ถือ การแต่งกายที่ถกู าลเทศะ การ
ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ มีความยุติธรรมประจาใจ แสดงความมีเมตตา
1.6 วิธีกำรมนุษย์ สัมพันธ์ และกำรประชำสัมพันธ์ ผู้บริการระดับสูง
จะต้ องติดต่อสัมพันธ์อย่างใกล้ ชิดกับผู้บริหารเป็ นรายบุคคล แสดงให้ เห็นว่า
ผู้บริหารระสูงนันรู
้ ้ จกั ผู้บริหารทุกคนเป็ นอย่างดีพร้ อมที่จะให้ การส่งเสริมสนับสนุน
ให้ เจริญก้ าวหน้ าตามคุณสมบัติที่เหมาะสมของแต่ละคน
2. ส่ งเสริมโดยให้ ผ้ ูบริหำรปฏิบตั ดิ ้ วยตนเอง
2.1 ศึกษำด้ วยตนเอง โดยให้ ศกึ ษาค้ นคว้ าด้ วยการอ่าน การฟั ง การดูผลงานของ
ผู้ที่มีคณ
ุ ธรรมจริ ยธรรม
2.2 ศึกษำจำกผู้ร้ ู ในเรื่อง คุณธรรมอย่างถ่องแท้ นามาประพฤติปฏิบตั ิให้ เกิดผล
ดีแก่องค์การและสังคมได้
2.3 ปฏิบัตงิ ำนให้ บรรลุเป้ำหมำย การที่เราสามารถปฏิบตั ิสมาธิ ทาให้ มีสภาพ
จิตที่มีคณ
ุ ธรรม มีสติระงับความโกรธ ความโลภ ความหลง ความกลัวและอารมณ์ตา่ ง ๆ
เกิดปั จจัยที่จะนาไปสูผ่ ล ทาให้ ชนะอุปสรรคและปั ญหา ปฏิบตั ิงานให้ บรรลุเป้าหมายได้ มี
ประสิทธิภาพ
3. ส่ งเสริมโดยให้ เลือกคุณธรรมที่เหมำะสม
3.1 ให้ เลือกคุณธรรมที่มีความสาคัญสูงกว่า เช่น ความกตัญญูตอ่
แผ่นดินย่อมสาคัญสูงกว่าความกตัญญูที่มีตอ่ บุคคล
3.2 ให้ เลือกคุณธรรมที่ให้ ผลยัง่ ยืนยาวนานกว่า หรื อมีผลต่อคนส่วน
ใหญ่มากกว่าคนส่วนน้ อยส่วนรวมมากกว่าส่วนตน
3.3 ให้ เลือกคุณธรรมที่มีผลต่อคนอื่นก่อนตนเอง เพื่อลดความคับแคบ
ความเห็นแก่ตวั ลง
3.4 ให้ เลือกสิง่ ที่เมื่อปฏิบตั ิแล้ วให้ ความสุขใจ ภูมิใจ รู้สกึ มีคณ
ุ ค่า