มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ ของวิชาชีพทางการศึกษา นำเสนอ โดย นำงไมตรี เยำวหลี ผู้อำนวยกำรโรงเรี ยนท่ ำข้ ำมวิทยำ จรรยาบรรณและแบบแผน พฤติกรรมตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ นำเสนอ โดย นำงไมตรี เยำวหลี ผู้อำนวยกำรโรงเรี ยนท่ ำข้ ำมวิทยำ.

Download Report

Transcript มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ ของวิชาชีพทางการศึกษา นำเสนอ โดย นำงไมตรี เยำวหลี ผู้อำนวยกำรโรงเรี ยนท่ ำข้ ำมวิทยำ จรรยาบรรณและแบบแผน พฤติกรรมตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ นำเสนอ โดย นำงไมตรี เยำวหลี ผู้อำนวยกำรโรงเรี ยนท่ ำข้ ำมวิทยำ.

มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ
ของวิชาชีพทางการศึกษา
นำเสนอ โดย นำงไมตรี เยำวหลี
ผู้อำนวยกำรโรงเรี ยนท่ ำข้ ำมวิทยำ
จรรยาบรรณและแบบแผน
พฤติกรรมตามจรรยาบรรณ
ของวิชาชีพ
นำเสนอ โดย นำงไมตรี เยำวหลี
ผู้อำนวยกำรโรงเรี ยนท่ ำข้ ำมวิทยำ
๑. เพือ่ ให้ ร้ ู จักวิเคราะห์ พฤติกรรมเชิง
จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
จากกรณีตัวอย่ างได้
๒. เพือ่ ให้ ร้ ู จักแยกแยะพฤติกรรมทีพ่ งึ
ประสงค์ และทีไ่ ม่ พงึ ประสงค์ ได้
๓. เพือ่ ให้ สามารถปฏิบัตติ นให้ สอดคล้ องกับ
แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ได้
๔. เพือ่ ให้ สามารถถ่ ายทอดวิธีปฏิบัติตนตาม
แบบแผนพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ ตาม
จรรยาบรรณของวิชาชีพให้ แก่ ผ้ ูอนื่ ได้ อย่ าง
ถูกต้ อง

๑. ผู้เข้ ำอบรมสำมำรถวิเครำะห์ และ
แยกแยะพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ และทีไ่ ม่ พงึ
ประสงค์ ได้
 ๒.ผู้เข้ าอบรมสามารถปฏิบัตติ นเป็ นแบบอย่ าง
ทีด่ แี ก่ ศิษย์ และบุคคลทัว่ ไปได้
๓. ผู้เข้ ำอบรมสำมำรถถ่ ำยทอดวิธีปฏิบัติ
ตนตำมแบบแผนพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ตำม
จรรยำบรรณของวิชำชีพให้ แก่ ผ้ ูอ่ ืนได้ อย่ ำง
ถูกต้ อง

๑. มาตรฐานด้ านความรู้ และประสบการณ์
๒. มาตรฐานการปฏิบัติงาน
๓. มาตรฐานการปฏิบัติตน
คือกฎแห่ งความประพฤติสาหรับสมาชิก
วิชาชีพครู ซึ่งองค์ กรวิชาชีพครู เป็ นผู้กาหนด
และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้ องถือปฏิบัตอิ ย่ าง
เคร่ งครัด หากละเมิดจะถูกลงโทษ
เพือ่ ปกป้องการปฏิบัตงิ านของสมาชิกใน
วิชาชีพ
เพือ่ รักษามาตรฐานวิชาชีพ
เพือ่ พัฒนาวิชาชีพ
ต้ องมีวนิ ัยในตนเอง
ต้ องรัก..รับผิดชอบวิชาชีพ
ต้ องรักศิษย์ ..ผู้รับบริการ
ต้ องส่ งเสริม
ต้ องเป็ นแบบอย่ าง
ต้ องไม่ กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์
ต้ องให้ บริการ
พึงช่ วยเหลือ
พึงประพฤติตนเป็ นผู้นา..
ข้ อบังคับคุรุสภา
ว่ าด้ วยแบบแผนพฤติกรรมตาม
จรรยาบรรณของวิชาชีพ ๒๕๕๐
ประมวลพฤติกรรมที่เป็ นตัวอย่ างของการ
ประพฤติที่กาหนดขึน้ ตามจรรยาบรรณของ
วิชาชีพ ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คือ
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา หรือ
ศึกษานิเทศก์ ต้ องหรือพึงปฏิบัติ ตาม
ประกอบด้ วย
พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ทีก่ าหนดให้ ผ้ ู
ประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา ต้ องหรือ พึง
ประพฤติตาม
พฤติกรรมที่ไม่ พงึ ประสงค์ ทกี่ าหนดให้
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้ องหรือ พึงละ
เว้ น
ครู
ต้ องมีวนิ ัยในตนเอง
พัฒนาตนเองด้ านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และ
วิสัยทัศน์ ให้ ทนั ต่ อการพัฒนาทางวิทยาการ
เศรษฐกิจสั งคมและการเมืองอยู่เสมอ
๑. ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็ นแบบอย่ างที่ดี
๒. ประพฤติตนเป็ นแบบอย่ างที่ดี ในการดาเนินชีวติ
ตามประเพณีและวัฒนธรรมไทย
๓. ปฏิบัตหิ น้ าที่ที่ได้ รับมอบหมายให้ สาเร็จอย่ างมีคุณภาพ
ตามเป้าหมายทีก่ าหนด
๔. ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสม
ผลงานอย่ างสม่าเสมอ
๕. ค้ นคว้ าแสวงหาและนาเทคนิคด้ านวิชาชีพที่ พัฒนาและก้ าวหน้ า
เป็ นทีย่ อมรับมาใช้ แก่ ศิษย์ และ ผู้รับบริการให้ เกิดผลสั มฤทธิ์ที่
พึงประสงค์
 ต้ องรัก ศรัทธา ซื่อสั ตย์ สุจริต รับผิดชอบ
ต่ อวิชาชีพ เป็ นสมาชิกที่ดขี ององค์ กรวิชาชีพ
๑. แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่ าของวิชาชีพ
๒.รักษาชื่อเสี ยงและปกป้ องศักดิ์ศรีแห่ งวิชาชี พ
๓. ยกย่ องและเชิดชู เกียรติผ้ ูมผี ลงานในวิชาชีพ
๔. อุทศิ ตนเพือ่ ความก้ าวหน้ าของวิชาชีพ
๕. ปฏิบัตหิ น้ าทีด่ ้ วยความรับผิดชอบ ซื่อสั ตย์ สุจริต
๖. เลือกใช้ หลักวิชาทีถ่ ูกต้ องสร้ างสรรค์ เทคนิควิธีการใหม่ ๆ
เพือ่ พัฒนาวิชาชีพ
๗. ใช้ องค์ ความรู้ หลากหลายในการปฏิบัตหิ น้ าทีแ่ ละ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ กบั สมาชิกในองค์ การ
๘. เข้ าร่ วมกิจกรรมของวิชาชีพอย่ างสร้ างสรรค์
 ต้ องรั ก เมตตำ เอำใจใส่
ช่ วยเหลือ
ส่ งเสริมให้ กำลังใจแก่ ศษิ ย์ และผู้รับบริกำร
ตำมบทบำทหน้ ำที่โดยเสมอหน้ ำ
ต้ องส่ งเสริมให้ เกิดกำรเรียนรู้ ทักษะ
และนิสัยที่ถูกต้ องดีงำมแก่ ศษิ ย์ และ
ผู้รับบริกำร ตำมบทบำทหน้ ำที่อย่ ำงเต็ม
ควำมสำมำรถด้ วยควำมบริสุทธิ์ใจ
ต้ องประพฤติปฏิบัตติ นเป็ น
แบบอย่ ำงที่ดีทงั ้ ทำงกำย วำจำ และ
จิตใจ
ต้ องไม่ กระทำตนเป็ นปฏิปักษ์ ต่อ
ควำมเจริญทำงกำย สติปัญญำ จิตใจ
อำรมณ์ และสังคมของศิษย์ และ
ผู้รับบริกำร
ต้ องให้ บริการด้ วยความจริงใจ
และเสมอภาคโดยไม่ เรียกรับหรือ
ยอมรับผลประโยชน์ จากการใช้
ตาแหน่ งหน้ าทีโ่ ดยมิชอบ
๑. ให้ คำปรึกษำหรื อช่ วยเหลือศิษย์ และผู้รับบริกำร
ด้ วยควำมเมตตำกรุ ณำอย่ ำงเต็มกำลังและเสมอภำค
๒.สนับสนุนกำรดำเนินงำนเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก
เยำวชนและผู้ด้อยโอกำส
๓.ตัง้ ใจเสียสละ และอุทศิ ตนในกำรปฏิบัตหิ น้ ำที่
๔. ส่ งเสริมให้ ศิษย์ และผู้รับบริกำรสำมำรถแสวงหำควำมรู้ ได้ ด้วย
ตนเองจำกแหล่ งเรียนรู้ท่ หี ลำกหลำย
๕.ให้ ศษิ ย์ และผู้รับบริกำรมีส่วนร่ วมในกำรวำงแผนกำร
เรียนรู้ เลือกวิธีกำรที่เหมำะสมกับตนเอง
๖. ส่ งเสริมควำมภูมิใจให้ แก่ ศิษย์ และผู้รับบริกำรด้ วยกำรรับ
ฟั งควำมคิดเห็น ยกย่ องชมเชย และให้ กำลังใจ
 พึงช่ วยเหลือเกื้อกูลซึ่ งกันและกัน
อย่ า งสร้ างสรรค์ โ ดยยึ ด มั่ น ในระบบ
คุณธรรม สร้ างความสามัคคีในหมู่คณะ
พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์
๑. เสี ยสละ เอือ้ อาทร และให้ ความช่ วยเหลือผู้ร่วมประกอบ
วิชาชีพ
๒ . มีความรัก ความสามัคคีและร่ วมใจกันผนึกกาลังใน
การพัฒนาการศึกษา
 พึ ง ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นเป็ นผู้ น าในการ
อนุ รั ก ษ์ แ ละพัฒนาเศรษฐกิจ สั งคม ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่ งแวดล้ อม รั กษา
ผลประโยชน์ ของส่ วนรวมและ ยึดมั่นในการ
ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
๑.ยึดหมั่น สนับสนุนและส่ งเสริมการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
๒.นาภูมิปัญญาท้ องถิน่ และศิลปวัฒนธรรมมาเป็ นปัจจัย
ในการจัดการศึกษาให้ เกิดประโยชน์ ต่อสั งคม
๓. จัดกิจกรรมส่ งเสริมให้ ศิษย์ เกิดการเรียนรู้ และสามารถ
ดาเนินชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์
๔. เป็ นผู้นาในการวางแผนและดาเนินการเพือ่ อนุรักษ์
สิ่ งแวดล้ อมพัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญาท้ องถิน่ และ
ศิลปวัฒนธรรม
หลักธรรมสำหรั บครู
๑.
เป็ นกัลยาณมิตร - กัลยาณมิตรธรรม ๗ ประการ
๑. ปิ โย –น่ ารัก
๒. ครุ – น่ าเคารพ
๓. ภาวนีโย – น่ าเจริญใจ
๔. วตตา- รู้ จกั พูดให้ ได้ ผล
๕. วจนกขโม- อดทนต่ อถ้ อยคา
๖. คมภีรญจ กถ กตตา – แถลงเรื่องลา้ ลึกได้
๗. โน จฏฐาเน นิโยชเย - ไม่ ชักนาในอฐาน
.
. .
. . .
.
๒. ตั้งใจประสิ ทธิความรู้ –ธรรมเทศกธรรม ๕ ประการ
๑. อนุบุพพิกถา- สอนให้ มีข้นั ตอนถูกต้ องตามลาดับ
๒. ปริยายทัสสาวี-จับจุดสาคัญมาขยายให้ เข้ าใจ
เหตุผล
๓. อนุทยตา –ตั้งจิตเมตตาสอนด้ วยปรารถนาดี
๔. อนามิสันดร – ไม่ มีจติ เพ่งเล็งมุ่งเห็นแก่ อามิส
๕. อนุปหัจจ์ - วางจิตตรงไม่ กระทบตนและผู้อนื่
๓. มีลลี าครู ครบทั้ง ๔
๑. สั นทัสสนา-ชี้ให้ ชัด
๒. สมาทปนา- ชวนให้ ปฏิบัติ
๓. สมุตเตชนา- เร้ าให้ กล้ า
๔. สั มปหังสนา- ปลุกให้ ร่าเริง
๔. ทาหน้ าทีค่ รู สอนศิษย์ - ทิศเบือ้ งขวา
๑. แนะนาฝึ กฝนอบรมให้ เป็ นคนดี
๒. สอนให้ เข้ าใจแจ่ มแจ้ ง
๓. สอนศิลปวิทยาให้ สิ้นเชิง
๔. ส่ งเสริมยกย่ องคุณความดีงามให้ ปรากฏ
๕. สร้ างเครื่องคุ้มภัยในสารทิศ
หลักธรรมสำหรั บครู
๑.
เป็ นกัลยาณมิตร - กัลยาณมิตรธรรม ๗ ประการ
๑. ปิ โย –น่ ารัก
๒. ครุ – น่ าเคารพ
๓. ภาวนีโย – น่ าเจริญใจ
๔. วตตา- รู้ จกั พูดให้ ได้ ผล
๕. วจนกขโม- อดทนต่ อถ้ อยคา
๖. คมภีรญจ กถ กตตา – แถลงเรื่องลา้ ลึกได้
๗. โน จฏฐาเน นิโยชเย - ไม่ ชักนาในอฐาน
๔. ทาหน้ าทีค่ รู สอนศิษย์ - ทิศเบือ้ งขวา
๑. แนะนาฝึ กฝนอบรมให้ เป็ นคนดี
๒. สอนให้ เข้ าใจแจ่ มแจ้ ง
๓. สอนศิลปวิทยาให้ สิ้นเชิง
๔. ส่ งเสริมยกย่ องคุณความดีงามให้ ปรากฏ
๕. สร้ างเครื่องคุ้มภัยในสารทิศ