บทที่ 2 การจัดรูปแบบการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไทย

Download Report

Transcript บทที่ 2 การจัดรูปแบบการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไทย

นาง วรัทยา สุขพันธ์
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย
มีก่ รี ู ปแบบ อะไรบ้าง ถ้าในปี พ.ศ. 2655
เทศบาลตาบลชนแดนมีประชากรเพิ่มขึ้น
จากในปั จจุบนั มีประชากร 3,500 คน
เป็ น 35,000 คน มีรายได้ จากปี ละ
35 ล้านบาท เป็ น 100 ล้านบาทต่อปี
ท่านคิดว่า เทศบาลตาบลชนแดนจะต้อง
เปลี่ยนแปลงฐานะ หรื อ ไม่ เพราะเหตุใด
จงอธิบาย
การจัดระเบียบบริ หารราชการส่วนท้องถิ่น ถือได้วา่ เป็ นการบริ หารราชการ
ตามหลักการกระจายอานาจการปกครอง ที่รัฐบาลเป็ นผู ก้ ระจายอานาจให้ โดยองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็ นผูบ้ ริ หารราชการในการจัดทาบริ การสาธารณะ มีผูบ้ ริ หาร และสภา
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมาจากการเลือกตัง้ โดยตรงจากประชาชนในเขตพื้นที่ และมีการ
กากับดูแลของรัฐบาลโดยผ่าน ทางจังหวัด และอาเภอ
การจัดตัง้ องค์ก รส่วนท้องถิ่ นจะมีอ งค์ประกอบหลัก ได้แก่ เป็ น องค์ก รนิ ติบุคคล
มีพ้ ืนที่และขอบเขตการปกครองที่แน่นอน รวมทัง้ มีอานาจในการกาหนดนโยบาย และออก
ข้อบังคับเพื่อให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายนั้นๆได้
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
2. เทศบาล
3. องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.)
4. รูปแบบอื่นตามที่กฎหมายกาหนด(กรุงเทพมหานคร
เมืองพัทยา)
ในปั จจุบนั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยมี 2 รู ปแบบ ได้แก่ รูปแบบทัว่ ไป ประกอบด้วย องค์การบริ หาร
ส่วนจังหวัด เทศบาล องค์บริ หารส่วนตาบล ซึ่งเป็นรู ปแบบการปกครองที่ใช้เหมือนกันทัว่ ประเทศ และการปกครอง
ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 2 รูปแบบ ได้แก่ กรุ งเทพมหานคร และเมืองพัทยา สาหรับโครงสร้างการบริ หารราชการส่วน
ท้องถิ่นทัง้ 2 รู ปแบบแสดงได้ดงั ภาพต่อไปนี้
การบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น
การปกครองท้องถิ่นรู ปแบบทั่วไป
- องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
- เทศบาล
- องค์การบริ หารส่ วนตาบล
อบจ.
จานวน 76 แห่ง
เทศบาล 2,106 แห่ง
- เทศบาลตาบล 1,917 แห่ง
- เทศบาลเมือง 161 แห่ง
- เทศบาลนคร 28 แห่ง
การปกครองท้องถิ่นรู ปแบบพิเศษ
- กรุ งเทพมหานคร
- เมืองพัทยา
อบต.
จานวน 6,157 แห่ง
องค์ก ารบริ ห ารส่ ว นจัง หวัด (อบจ.) เป็ น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ นใน
รูปแบบทัว่ ไป ซึ่งเป็ นรู ปแบบที่ใช้ในจังหวัดต่างๆ ทุกจังหวัด มีพ้ ืนที่รับผิดชอบ
เต็มพื้ นที่ของจังหวัด อานาจหน้าที่หลักประกอบด้วย การจัดทาแผนพัฒนา
องค์การบริ หารส่วนจังหวัด และประสานการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด การจัด
ระเบียบบริ หารราชการขององค์การบริ หารส่วนจังหวัดในขณะนี้ เป็ นไปตาม
ข้อกาหนดของพระราชบัญญัติองค์การบริ หารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และ
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552
โครงสร้างองค์การบริหารส่วนจังหวัด
การจัดระเบียบบริ หารราชการขององค์การบริ หารส่วนจังหวัดในขณะนี้ เป็ นไปตามข้อกาหนดของ
พระราชบัญญัตอิ งค์การบริ หารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด (อบจ.)
สภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
สมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
รองนายก อบจ. 2-4 คน
(สจ. มีจานวน 24-48 คน)
ปลัด อบจ.
ประธานสภา อบจ.
รองประธานสภา อบจ. 2 คน
ส่ วนอานวยการ
ส่ วนแผน
และงบประมาณ
ส่ วนการช่าง
เลขานุการสภา อบจ.
คณะกรรมการสามัญ
ประจาสภา (3-7 คน)
คณะกรรมการวิสามัญ
(3-7 คน)
ส่ วนกิจการ
สภา อบจ.
ส่ วนการคลัง
อื่นๆ
เทศบาล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มคี วามเก่าแก่ คูก่ บั สังคมไทยมาเป็น
เวลาช้านาน และถือเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบขององค์กรปกครอง
ท้องถิ่นอื่นๆ ในด้านกระจายอานาจการปกครอง และส่งเสริ มการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย การจัดตัง้ เทศบาลไม่ได้ทาทัว่ ราชอาณาจักร แต่จดั ตัง้ ขึ้นเป็นแห่งๆไป
จะพิจารณาจากองค์ประกอบทางด้านจานวนประชากรในท้องถิ่นนั้นๆ ความเจริ ญ
ทางเศรษฐกิจหรื อรายได้ของท้องถิ่น และการพัฒนาความเจริ ญภายในท้องถิ่น ในการ
ยกฐานะของท้องถิ่นเป็นเทศบาลนั้น ในพระราชกฤษฎีกาการจัดตัง้ เทศบาลจะต้อง
ระบุช่ ือและเขตของเทศบาลนั้นไว้ดว้ ย พร้อมทัง้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของเทศบาล
แต่ละประเภทตามที่บญ
ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย
ประเภทของเทศบาล
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2552 มีเทศบาล 3 ประเภท
ได้แก่ เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร แต่ละประเภทมีสาระสาคัญโดยสรุ ปดังนี้
1 . เทศบาลตาบล ได้แก่ ท้องถิ่นซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตาบล พระราช
ฎีกาให้ระบุช่ ือ และเขตของเทศบาลไว้ดว้ ย โดยมีหลักเกณฑ์การจัดตัง้ ดังนี้ .- มีประชากรตัง้ แต่ 5,000 คนขึ้นไป
- ยกฐานะจากสุ ขาภิบาลตาม พรบ.เปลี่ยนแปลงฐานะสุ ขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542
2. เทศบาลเมือง ได้แก่
2.1 ท้องถิ่นที่เป็นที่ตงั้ ของศาลากลางจังหวัด หรื อท้องถิ่นชุมชน ที่มรี าษฎรตัง้ แต่ 10,000 คนขึ้นไป
มีรายได้พอควรแก่การปฏิบตั ิหน้าที่ของเทศบาลเมือง ตามกฎหมายเทศบาลกาหนดไว้ รัฐบาลก็สามารถจะจัดตัง้
เทศบาลเมืองได้โดยมีประกาศกระทรวงมหาดไทยจัดตัง้ เทศบาลเมือง ซึ่งจะระบุช่ ือและเขตเทศบาลของท้องถิ่นนั้นๆ
ไว้ดว้ ยเสมอ
3. เทศบาลนคร ได้แก่ ท้องถิ่นชุมชนที่มรี าษฎรตัง้ แต่ 50,000 คนขึ้นไป รวมทัง้ มีรายได้พอควรแก่การ
ปฏิบตั ิหน้าที่ของเทศบาลนครตามที่กฎหมายกาหนดไว้ การจะจัดตัง้ ชุมชนใดเป็นเทศบาลนครได้นั้น นอกจาก
จะต้องมีจานวนประชากร รายได้ของท้องถิ่น และการพัฒนาความเจริ ญภายในท้องถิ่นตามเกณฑ์ท่ กี ฎหมาย
กาหนดแล้ว ยังต้องมีประกาศกระทรวงมหาดไทยจัดตัง้ เทศบาลนครโดยระบุช่ ือและเขตเทศบาลไว้ดว้ ยเสมอ
1. โครงสร้างของเทศบาล
เทศบาล
สภาเทศบาล
ฝ่ ายบริ หาร
ประธานสภาเทศบาล
รองประธานสภาเทศบาล
สมาชิกสภาเทศบาล
นายกเทศมนตรี
เลขานุการ ฯ
ที่ปรึ กษา ฯ
รองนายกเทศมนตรี
รองนายกเทศมนตรี
ปลัดเทศบาล
รองปลัดเทศบาล
สานักปลัดเทศบาล
กองการศึกษา
กองคลัง
กองช่าง
กองสาธารณสุ ข
กองสวัสดิการ
โครงสร้ างเทศบาลตาม พรบ.เทศบาล (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2552
ฯลฯ
องค์การบริ หารส่วนตาบล (อบต.) ถือเป็ นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยูใ่ กล้ชดิ กับ
ประชาชนมากที่สุด มีจานวนมากที่สุด และเป็ นองค์กรปกครองที่ถือได้วา่ มีอานาจหน้าที่ท่ จี ะแก้ไข
ปั ญหาต่างๆ ของประชาชนและสามารถตอบสนองความต้องการเบื้องต้นของประชาชนได้เป็ น
อย่างดี ในปั จจุบนั การจัดระเบียบบริ หารราชการขององค์การบริ หารส่วนตาบลเป็ นไปตาม
ข้อกาหนดของพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริ หารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 และแก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552 ทัง้ นี้จะได้กล่าวถึงสาระสาคัญขององค์การบริ หารส่วนตาบลใน 3
ส่วน ได้แก่ โครงสร้างการบริ หาร อานาจหน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลส่วนกลางกับ
องค์การบริ หารส่วนตาบล ดังนี้
1. โครงสร้างการบริหารองค์การบริหารส่วนตาบล
องค์การบริ หารส่วนตาบลมีโครงสร้างองค์การตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริ หารส่วน
ตาบล (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552 ดังนี้
องค์การบริ หารส่ วนตาบล
สภาองค์การบริ หารส่ วนตาบล
นายก อบต.
ประธานสภา อบต.
รองนายก อบต.
รองประธานสภา อบต.
เลขานุการนายก อบต.
สภา อบต. เลือกปลัด อบต.
หรื อสมาชิกสภา อบต. 1 คน
เป็ นเลขานุการสภา อบต.
พนักงานส่ วนตาบล
ปลัด อบต.
พนักงานส่ วนอื่นๆ
กรุงเทพมหานคร (กทม.) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรู ปแบบพิเศษ มีลกั ษณะเฉพาะตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริ หารราชการกรุ งเทพมหานคร พ.ศ.2528 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2550 ได้กล่าวถึง
ลักษณะเฉพาะของกรุ งเทพมหานคร ไว้ดงั นี้
1) เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นเพียงองค์กรเดียวในเขตพื้นที่จงั หวัดพระนครและจังหวัดธนบุ รี (เดิม) เป็น
องค์กรปกครองท้องถิ่นที่ไม่มอี งค์การบริ หารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริ หารส่วนตาบลเหมือนกับจังหวัด
อื่นๆ
2) ไม่มกี ารปกครองส่วนภูมิภาคซา้ ซ้อนคงมีเฉพาะการปกครองส่วนกลางและการปกครองส่วนท้องถิ่น
เท่านั้น
3) มีการแยกอานาจการบริ หารออกจากอานาจนิ ติบญ
ั ญัติ โดยทัง้ สมาชิกสภากรุ งเทพมหานคร และผูว้ า่
ราชการกรุ งเทพมหานครต่างได้รับเลือกตัง้ โดยตรงจากประชาชนผูม้ สี ิทธิ์เลือกตัง้ จึงไม่จาเป็ นที่องค์กรทัง้ สอง
จะต้องขอรับการไว้วางใจกันและกัน ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานครสามารถปฏิบตั ิงานได้เต็มที่โดยไม่ตอ้ งกังวลกับ
ปั ญหาคะแนนเสียงในสภานิ ติบญ
ั ญัติแต่ประการใด
4) อานาจการบริ หารที่แท้จริ งอยูท่ ่ ผี ูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร ทัง้ นี้เพราะกฎหมายประสงค์จะให้ฝ่าย
บริ หารมีอานาจเข้มแข็ง ดังนั้น ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานครจึงสามารถจัดตัง้ ทีมบริ หารกิจการของ กทม. เองได้
และจะมอบอานาจหน้าที่บางประการให้แก่รองผูว้ า่ ราชการ กทม. มากน้อยเท่าใดก็ได้ตามแต่จะพิจารณาเห็นว่ามี
ความเหมาะสม ลักษณะเฉพาะดังกล่าวนี้จึงทาให้การบริ หารงานของ กทม. เป็นไปอย่างมีเอกภาพ
กรุงเทพมหานคร มีลกั ษณะเฉพาะทางด้านโครงสร้างอานาจหน้าที่ และความสัมพันธ์กบั รัฐบาลส่วนกลาง ดังนี้
1. โครงสร้างของกรุงเทพมหานคร
พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริ หารราชการกรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ได้บญ
ั ญัตใิ ห้ กทม. มีฐานะเป็นนิ ตบิ ุคคล มีโครงสร้างการบริ หาร
ราชการ ประกอบด้วย สภากรุ งเทพมหานคร เป็นฝ่ ายนิ ตบิ ญ
ั ญัติ และผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร เป็นฝ่ ายบริ หาร โดยทัง้ 2 ฝ่ ายมาจากการ
เลือกตัง้ โดยตรงของประชาชนผูม้ สี ิทธิ์เลือกตัง้ ที่มภี ูมิลาเนาในเขตพื้นที่ของกรุ งเทพมหานคร ทัง้ นี้โครงสร้างการบริ หารราชการของ
กรุ งเทพมหานคร แสดงได้ดงั ภาพต่อไปนี้
กรุ งเทพมหานคร
สภา กทม.
ประธานสภา กทม.
รองประธานสภา กทม. 2 คน
ประชาชน 100,000 คน
เลือกตั้งสมาชิกสภา กทม.
ได้ 1 คน
สภาเขต
ประธานสภาเขต
รองประธานสภาเขต 2 คน
ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร
รองผูว้ า่ ราชการ
กรุ งเทพมหานคร 4 คน
ปลัดกรุ งเทพมหานคร
ประชาชนเลือกตั้งสมาชิกสภาเขต
อย่างน้อยเขตละ 7 คน
ประชาชน 100,000 คน
เลือกตั้งสมาชิกสภาเขตได้ 1 คน
ส่ วนราชการต่างๆ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรู ปแบบพิเศษในรู ปแบบหลังนี้ ได้แก่ “เมืองพัทยา” ซึ่งเป็นพื้นที่สว่ นหนึ่ งในเขตจังหวัด
ชลบุรี เมืองพัทยาเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ไม่ใช่ทงั้ เทศบาล องค์การบริ หารส่วนจังหวัด หรื อ องค์การ
บริ หารส่วนตาบล แต่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเฉพาะพื้นที่ ซึ่งตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการ
เมืองพัทยา พ.ศ. 2521 ได้กาหนดให้เมืองพัทยาเป็นราชการบริ หารส่วนท้องถิ่นซึ่งมีรูปแบบพิเศษ เป็นองค์กรอิสระ
เป็นนิ ติบุคคลหรื ออาจกล่าวได้วา่ การดาเนิ นงานของเมืองพัทยาคล้ายกับรู ปแบบเทศบาล แต่ทว่ามีรูปแบบและ
วิธกี ารบริ หารที่แตกต่างไป ซึ่งอาจเรียกได้วา่ “รู ปแบบเทศบาลแบบผูจ้ ดั การเมือง หรื อนักบริ หารมืออาชีพ” ใน
ระยะแรก และต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “นายกเมืองพัทยา” ที่มาจากการเลือกตัง้ โดยตรงของประชาชนในปั จจุบนั ตาม
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
โครงสร้างเมืองพัทยา
พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2552 ได้กาหนดให้โครงสร้างการบริ หารเมืองพัทยา ประกอบด้วย สภาเมืองพัทยา และนายก
เมืองพัทยา แสดงได้ดงั ภาพต่อไปนี้
เมืองพัทยา
สภาเมืองพัทยา
นายกเมืองพัทยา
สมาชิกสภาเมืองพัทยา 24 คน
รองนายกเมืองพัทยาไม่เกิน 4 คน
ประธานสภาเมืองพัทยา
รองประธานสภาเมืองพัทยา 2 คน
ปลัดเมืองพัทยา
ปลัดเมืองพัทยา
เลขานุการสภาเมืองพัทยา
สานักปลัดเมืองพัทยา
ส่ วนราชการต่างๆ
ถ้าในปี พ.ศ.2655 เทศบาลตาบลชนแดน
มีประชากรเพิ่มขึ้ น จากในปั จจุบนั
มีประชากร 3,500 คน เป็ น 35,000 คน
มีรายได้จากปี ละ 35 ล้านบาท
เป็ น 100 ล้านบาทต่อปี
โครงสร้างของเทศบาลตาบลชนแดน
เทศบาลตาบลชนแดน
ปี ปั จจุบนั พ.ศ. 2555
มีจานวนประชากร
3,500 คน
มีรายได้ของท้องถิ่น
35 ล้านบาท / ปี
ปี พ.ศ. 2655
มีจานวนประชากร
35,000 คน
- ต้องมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะ
หลักเกณฑ์จดั ตั้งเทศบาลตาบล
ขึ้นเป็ นเทศบาลในแต่ระดับชั้น
- มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็ น
- พระราชกฤษฎีกาให้ระบุชื่อ และเขต
เทศบาลตาบล ตามพระราชบัญญัติ
ไว้อย่างชัดเจน
เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็ น
เทศบาล พ.ศ.2542
มีรายได้ของท้องถิ่น
100 ล้านบาท / ปี
หลักเกณฑ์จดั ตั้งเทศบาลเมือง
- มีประชากรตั้งแต่10,000คนขึ้นไป
- มีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบตั ิ
หน้าที่อนั ต้องทาตามที่กฎหมาย
กาหนด
เทศบาลเมือง คือ
 ท้องถิ่นชุมชน ที่มรี าษฎรตัง้ แต่ 10,000 คนขึ้นไป
มีรายได้พอควรแก่การปฏิบตั หิ น้าที่ของเทศบาลเมือง
ตามกฎหมายเทศบาลกาหนดไว้ รัฐบาลก็สามารถจะ
จัดตัง้ เทศบาลเมืองได้โดยมีประกาศกระทรวงมหาดไทย
จัดตัง้ เทศบาลเมือง ซึ่งจะระบุช่ ือและเขตเทศบาลของ
ท้องถิ่นนั้นๆ ไว้ดว้ ยเสมอ
เ ท ศ บ า ล ต า บ ล ช น แ ด น
ไ ม่ ส า ม า ร ถ
เปลี่ ย นแปลงฐานะได้ แต่ ส ามารถยกฐานะ
จากเทศบาลต าบล เป็ น เทศบาลเมื อ งได้
เนื่ อ งจากมี คุ ณ สมบัติ ต ามหลัก เกณฑ์ใ นการ
จั ด ตั้ ง เทศบาลเมื อง ทั้ ง ในด้ า นจ านวน
ประชากร และมี อตั รารายได้เพี ยงพอแก่ การ
ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต า ม ที่ ก ฎ ห ม า ย ก า ห น ด ใ น
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖