บรรยาย มข.

Download Report

Transcript บรรยาย มข.

เอกสารประกอบการบรรยาย
วิชา การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ
Comparative Local Government
(รหัส 002724)
โดย
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เอกสารประกอบการบรรยายนักศึกษาระดับปริญญาโท
วิชา การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ
Comparative Local Government (002724)
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้บรรยาย
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
ห้อง 517 ชั้น 5
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
โทรศัพท์ 02-6132519
E-mail : [email protected]
แนวสังเขปลักษณะวิชา
ศึกษาและอภิปรายแนวคิดการปกครองท้องถิ่น
 วิวัฒนาการของการปกครองท้องถิ่น
 รูปแบบการจัดองค์กรปกครองท้องถิ่นในประเทศและ
ต่างประเทศ
 การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบันและทิศทาง
แนวโน้มการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นในอนาคต

วัตถุประสงค์ของวิชา
1)
2)
3)
4)
มีความรู้ความเข้าใจ ความสาคัญ แนวคิด ทฤษฏี หลักกระจาย
อานาจ และการปกครองท้องถิ่น
เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหว่างรัฐ รัฐบาลกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงสร้างองค์กรปกครองท้องถิ่น
อานาจหน้าที่ในการบริหารจัดการ
วิเคราะห์เปรียบเทียบกับการปกครองท้องถิ่นไทยกับ
ต่างประเทศ
สามารถวิเคราะห์การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบันตาม
รัฐธรรมนูญและทิศทางแนวโน้มการปกครองท้องถิ่นไทยใน
อนาคต
หัวข้อ เนื้อหาวิชาโดยสังเขป





ความสาคัญและแนวคิดการกระจายอานาจและการปกครอง
ท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการ ส่วนกลาง หลักการ
รวมอานาจ หลักการแบ่งอานาจ และการกระจายอานาจ
การปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบ การจัดองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นไทยและต่างประทศ
วิเคราะห์เปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นไทยกับต่างประทศ
อภิปรายการปกครองท้องถิ่นไทยกับทิศทางการปกครองท้องถิ่น
ไทยในอนาคต
การเมืองการปกครอง
ท้องถิน
่
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวคิดการปกครองท้ องถิ่น
การปกครองท้ องถิ่นไทย
เปรียบเทียบการปกครองท้ องถิ่นไทยกับต่ างประเทศ
ความร่ วมมือระหว่ างท้ องถิ่นไทยและต่ างประเทศ
แนวคิดการปกครองท้องถิน่

รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวคิดการปกครองท้ องถิ่น
International Institute for Democracy
and Electoral Assistance
(IDEA,2001)
สถาบันการปกครองท้องถิ่น / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(Institution of Local Government)
 องค์กรภาคประชาสังคม
(Civil Society)


ประชาธิปไตยท้องถิ่น เป็ นการปกครองตนเองของประชาชน
(Self-government Democracy)
 ประชาธิปไตยท้องถิ่นจะต้องสร้างพลเมือง
(Citizen)
แนวคิดการปกครองท้ องถิ่น
David Mathews :
Politics of the People
 ประชาธิ ปไตยต้องมีการปกครอง
ของประชาชนมากที่สดุ
 รื้อฟื้ นความคิด อุดมการณ์
ปกครองตนเอง
แนวคิดประชาธิปไตยท้ องถิ่น
Robert Dahl /
Bookchin
ประชาธิ ปไตยที่แท้จริงเกิดได้ในเมืองเล็กๆ ขนาดย่อม
 อาศั ยหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา
 ร่วมทาประโยชน์ให้บ้านเมืองโดยประชาชนเอง

Plato : ประชาธิปไตยท้ องถิ่น
(1)Plato’s
Republic
(2)The Law : Citizen
การปกครองท้ องถิ่น
ภาคพลเมือง
(Civil Society)
อปท.
ผูบ้ ริหารท้องถิ่น
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น
และพนักงานท้องถิ่น
การตรวจสอบ/
กากับดูแล
การส่ วนร่ วม
การส่ วนร่ วม
สถาบัน
Institutio
n
สภาท้องถิ่น
ทาไมต้องมีการปกครองท้องถิ่น ?
การปกครองท้องถิ่นเป็นความจาเป็นในระบอบประชาธิปไตย
1
2
เป็นรากฐานประชาธิปไตย
เป็นการฝึกหัดความเป็นประชาธิปไตย
ความรับผิดชอบ
(Accountability)
3
การมีส่วนร่วมของ
ประชาชน
(Politics of The People)
การรู้จักสิทธิหน้าที่ และ
เคารพความคิดเห็น
เวทีสร้างการเมือง
ระดับชาติ
เป็นการแบ่งเบาภาระรัฐบาลกลาง
เราจะจัดการปกครองท้องถิ่นอย่างไร ?
 พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิน
่
 พิจารณารูปแบบของ
1)
2)
3)
4)
5)
6)
อปท.
แบบที่ประชุมเมือง : Town Meeting
แบบสภา-นายกเทศมนตรี : The Council – Manager Form
แบบนายกเทศมนตรีอ่อนแอ : Weak Mayor Form
แบบนายกเทศมนตรีเข้มแข็ง : The Strong Mayor Form
แบบคณะกรรมการ : Commission Form
แบบผู้จัดการเมือง : City Manager Form
พิจารณาระบบ Tier System การจัดชั้นของ
ท้องถิ่น
 พิจารณาการจัดโครงสร้างภายใน อปท.

การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติ
เป็ นกระบวนการ
(Process)
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติ
เป็ นการตัดสินใจ (Decision
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติ
ผูม้ ีส่วนได้เสีย (Stakeholder)
Making)
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็ นกระบวนการ
(Process)
Major kinds of Participation
(Cohen and Uphoff)
ดาเนินการตัดสินใจ
ดาเนินกิจกรรม
รับผลประโยชน์
ประเมินผล
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็ นกระบวนการ
(Process)
ไพรัตน์ เตชะรินทร์ / เจิมศักดิ์ ปิ่ นทอง
กระบวนการส่งเสริม และเปิ ดโอกาส
ร่ วมคิด ร่ วมวางแผน
ร่ วมปฏิบัติ ร่ วมลงทุน
ดาเนินโครงการ กิจกรรม
ควบคุม ตรวจสอบ
ติดตาม ประเมินผล
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็ นการตัดสินใจ
(Decision Making)
กระบวนการมีส่วนร่วม
(Process)
กำหนดควำม
ต้องกำร
กำหนดนโยบำย
กำรบริ หำร
Wertheim / Lisk
การเข้าไปมีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจทุกระดับ
อำนำจบุคคล กลุ่ม
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติผูม้ ีส่วนได้เสีย
(Stakeholder)
ร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกำรใช้
ร่วมรับผิดชอบร่ วม ทรัลงทุพนยำกร
และลง
ร่วมรับผลกระทบร่ วม แรง
การทาประชาพิจารณ์
สิ ทธิและ
หน้ำที่จะร่ วม
การแสดงประชามติ
แก้ไขปั ญหำ
ระดับการมีส่วนร่ วม (1)
สูง
ระดับการมีส่วนร่ วม
ร่ วมติดตามตรวจสอบ
การร่ วมปฏิบัติ
การวางแผน / การตัดสินใจร่ วมกัน
การปรึกษาหารือ
การเปิ ดรับฟั งความคิดเห็นจากประชาชน / ให้
ข้ อมูล
การรั บข้ อมูล
ต่า
จานวนประชาชนที่
เข้ าร่ วม
การควบคุมโดยประชาชน
ระดับการมีส่วนร่ วม (2)
มีโอกาสตัดสินใจด้วยตนเอง
มีโอกาสเสนอโครงการ
มีส่วนร่ วมสูงที่สุด
มีส่วนร่ วมสูง
มีโอกาสเสนอความเห็น
ถูกสัมภาษณ์ความต้องการ
มีส่วนร่ วมปานกลาง
ถูกชักชวน
มีส่วนร่ วมน้ อย
ถูกหลอก
ถูกบังคับ
ไม่ มีส่วนร่ วมเลย
ฐานะ
ผูต้ รวจสอบ
ฐานะ
ผูส้ ่งเสริม
ฐานะ
ผูร้ ับบริการ
วิธีการ
มีส่วนร่วม
ปั จจัย/เงื่อนไขการเข้ ามามีส่วนร่ วมของ
ประชาชน
•
•
•
•
Goals
Belief Orientation
Value Standards
Habits and
Custom
ปัจจัยที่ดึงดูดให้
เกิดการกระทา
ปัจจัยผลักให้เกิด
การกระทา
• Expectations
• Commitment
• Force
• Opportunity
• Ability
• Support
ปัจจัยสนับสนุน
สถานการณ์การมีสว่ นร่วมใน อปท.
ประชาชนมีส่วนร่ วมเพียงรูปแบบ
รูปแบบการออกระเบียบฯให้มีส่วน
ร่รูวปมแบบการถูกระดมให้มีส่วนร่วม
รูปแบบความเกรงใจ ขอไปที
ระเบียบการจั ดทาแผนพัฒนา อปท. ผูแ้ ทนประชาคม
แต่งตั้งเป็ น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
ระเบียบว่าด้ วยการพัสดุ ผูแ้ ทนประชาคม แต่งตั้ งเป็ น
คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา คณะกรรมการ
จัดซื้อ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ กรณี อปท.
หลักการตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญฯ
ค.ต.ง
คณะกรรมการตรวจ
เงินแผ่นดิน
ป.ป.ช.
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ
ศาล
ปกครอง
กากับดูแลเท่าที่จาเป็ น
กากับดูแลตามที่กฎหมายกาหนดไว้
กากับดูแลเพือ่ คุ้มครองประโยชน์ประชาชน
กากับดูแลโดยองค์การบริหาร
(การกากับดูแล
ทางการคลัง , การกากับดูแลงบประมาณ)
กากับดูแลโดยผู ม้ อี านาจเหนือ
ส่วนกลาง ผู ว้ ่าราชการจังหวัด นายอาเภอ
สัง่ ให้ อปท.
ชีแ้ จง
เรียกรายงาน
เอกสาร
เพิกถอนมติ
สภาท้องถิน่
กากับดูแลโดยประชาชน
 มาตรา 285 เข้าถอดถอน
 มำตรำ 284 ออกเสี ยงประชำมติ
ยุบสภา
ท้องถิน่
กรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชน
ประเทศเกาหลีใต้
กรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชน
DEMOCRACY
FOR PARTICIPATORY
SOLIDARITY
PEOPLE’S
ผลงาน
รณรงค์หำ
ต่ทุอนต้ำนกำร
ทุสร้จำริงตOpen
System
เผยแพร่ ขอ้ มูล
PSPD:
People’s Solidarity for Participatory Democracy
 Participation
of Citizens
 Solidarity of Citizens
 Civil Watch
 Alternative
การปกครองท้องถิน่ ไทย

รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การเมืองการปกครอง
ก่อนการเปลีย
่ นแปลง
พ.ศ.2475
ร ัชกาลที่ 5
ทรงริเริม
่ ให ้ประชาชนในท ้องถิน
่ ร่วมกับรัฐ ดูแลกิจการ
รักษาความสงบเรียบร ้อยของหมูบ
่ ้าน ตาบล
พ.ร.บ.ปกครองท ้องถิน
่ ร.ศ.116 (พ.ศ.2440) มีการเลือก
ผู ้นาตามธรรมชาติเป็ น “ผู ้ใหญ่บ ้าน” และให ้ผู ้ใหญ่บ ้าน
เลือก “กานัน” กันเอง
พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท ้องที่ พ.ศ.2457
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
ก่อนการเปลีย
่ นแปลง
พ.ศ.2475
ร ัชกาลที่ 5
พ.ศ. 2441 ร่วมจัดตัง้ สุขาภิบาลเขตเมือง “สุขาภิบาล
กรุงเทพฯ”
ร.ศ.124 (พ.ศ.2448) ทรงสนับสนุนให ้ราษฎรร่วมจัดตัง้
“สุขาภิบาลท่าฉลอม” ณ ตาบลท่าฉลอม จ.สมุทรสาคร
(หัวเมือง)
ร.ศ.127 (พ.ศ.2451) ทรงตรา พ.ร.บ.จัดการสุขาภิบาล
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
พ.ร.บ.จ ัดการสุขาภิบาล ร.ศ.127
โดยมีจด
ุ มุง่ หมาย
....ให ้ราษฎรในท ้องถิน
่ ชว่ ยกันบริหารดาเนินงานเกีย
่ วกับการรักษาความสะอาดของ
บ ้านเมือง ถนนหนทาง ตลาด และอืน
่ ๆในท ้องถิน
่ การป้ องกันและรักษาโรคภัยไข ้เจ็บ
ั จรไปมา การศกึ ษาขัน
แก่ราษฎร การดูแลรักษาทางสญ
้ ต ้นของราษฎร.....
แบ่งสุขาภิบาล เป็ น 2 ประเภท
สุขาภิบาลเมือง ในเขตเมือง ทีต
่ งั ้ ของศาลากลางจังหวัด
สุขาภิบาลท ้องที่ ในเขตตาบล
สรุป
ทรงวางรากฐานการปกครองตนเองของชุมชน
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
พ.ศ.2475
ร ัชกาลที่ 6
พ.ศ.2453 - 2468
ก่อนการเปลีย
่ นแปลง
จัดตัง้ สภาประชาธิปไตยระดับชาติเรียกว่า
ิ ธานี” และสร ้างขบวนการลูกเสอ
ื
“ดุสต
สภาพของสุขาภิบาล และการปกครอง
ท ้องถิน
่ นิง่ ไม่มก
ี ารเปลีย
่ นแปลงใดๆ
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
ก่อนการเปลีย
่ นแปลง
พ.ศ.2475
ร ัชกาลที่ 7
ิ ธิเลือกตัง้ ของประชาชน
....ข ้าพเจ ้าเห็นว่า สท
ควรจะเริม
่ ต ้นทีก
่ ารปกครองท ้องถิน
่ ในรู ปแบบ
ิ ธิมเี สยี งในกิจการ
เทศบาล ประชาชนควรมีสท
ท ้องถิน
่ ข ้าพเจ ้าเห็นว่า เป็ นการผิดพลาด ถ ้า
เราจะมี ก ารปกครองระบบรั ฐสภา ก่ อ นที่
ประชาชนจะมีโอกาสเรียนรู ้และมีประสบการณ์
ิ ธิเลือกตัง้ ในกิจการ
อย่างดีเกีย
่ วกับการใชส้ ท
ปกครองท ้องถิน
่ .....
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
ก่อนการเปลีย
่ นแปลง
พ.ศ.2475
ร ัชกาลที่ 7
ทรงสนพระทัยรูปแบบการปกครองตนเองแบบ “เทศบาล”
ให ้มีการยกร่างกฎหมายจัดตัง้ “เทศบาล”
ยกระดับสุขาภิบาลเป็ น “เทศบาล” ทงหมด
ั้
สรุป การเมืองการปกครองไทย หลังการเปลีย
่ นแปลงการปกครองเป็ น
แบบ “อามาตยาธิปไตย” (Bureaucratic Policy) ข ้าราชการประจามี
บทบาทมาทางการเมือง
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
หลังการเปลีย
่ นแปลง
การปกครอง
พ.ศ.2476
่ ้องถิน
คณะราษฎรมีนโยบายในการกระจายอานาจสูท
่
ผ่าน พ.ร.บ.จัดระเบียบเทศบาล
แบ่งเทศบาลออกเป็ น 3 แบบ
คือ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล
แบ่งเทศบาลออกเป็ น 2 องค์กร
คือ สภาเทศบาล และคณะเทศมนตรี
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
หลังการเปลีย
่ นแปลง
การปกครอง
พ.ศ.2495
จอมพล ป.พิบล
ู สงคราม นาเอารูปแบบสุขาภิบาลมาใช ้
อีกครัง้ ผ่าน พ.ร.บ. สุขาภิบาล พ.ศ.2495
กาหนดหลักเกณฑ์
• เป็ นทีต
่ งั ้ ของทีว่ า่ การอาเภอหรือกิง่ อาเภอ หรือ
• ชุมชนทีม
่ ต
ี ลาดการค ้า 100 ห ้อง มีราษฎรอย่างน ้อย 1,500 คน
กรรมการบริหารประกอบด ้วย
• กรรมการโดยตาแหน่ง
• กรรมการโดยการแต่งตัง้
ให ้นายอาเภอเป็ นประธานคณะกรรมการสุขาภิบาล
ให ้ปลัดอาเภอคนหนึง่ เป็ นปลัดสุขาภิบาล
• กรรมการโดยการเลือกตัง้
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
การปกครอง
หลังการเปลีย
่ นแปลง
พ.ศ.2498-2499
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการสว่ นจังหวัด (อบจ.)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการสว่ นตาบล (อบต.)
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
หลังการเปลีย
่ นแปลง
การปกครอง
พ.ศ.2509
รัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจร
ยุบ อบต. ตัง้ คณะกรรมการสภาตาบลขึน
้ แทน
กรรมการบริหารประกอบด ้วย
• กรรมการโดยตาแหน่ง คือ กานัน ผู ้ใหญ่บ ้าน และแพทย์ประจาตาบล
• กรรมการโดยการแต่งตัง้ คือ ครู ซงึ่ นายอาเภอแต่งตัง้
• กรรมการโดยการเลือกตัง้ คือ ราษฎรจากหมูบ
่ ้านละ 1 คน
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
หลังการเปลีย
่ นแปลง
การปกครอง
พ.ศ.2515
ประกาศคณะปฏิวต
ั ิ ฉบับที่ 335
รวมเทศบาลกรุงเทพกับเทศบาลธนบุรเี ข ้าด ้วยกัน
กลายเป็ น “กรุงเทพมหานคร”(กทม.)
ผู ้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมาจากการแต่งตัง้ มีวาระ 4 ปี
ผู ้ว่าราชการกรุงเทพฯ มาจากการเลือกตัง้ โดยตรงของ
ประชาชนในปี พ.ศ.2521
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
การปกครอง
หลังการเปลีย
่ นแปลง
พ.ศ.2521
กาเนิดองค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่ รูปแบบพิเศษครัง้ แรก
ตรา “พระราชบัญญัตเิ มืองพัทยา”
การบริหารเมืองพัทยา
แบ่งออกเป็ น 2 องค์กร
• สภาเมืองพัทยา
• ฝ่ ายบริหารสภาเมืองพัทยา
ิ 2 ประเภทได ้แก่
มีสมาชก
• ประเภทเลือกตัง้
• ประเภทแต่งตัง้
• “นายกเมืองพัทยา” มา
ิ
จากเลือกตัง้ ของสมาชก
• “ปลัดเมืองพัทยา” มา
จากการแต่งตัง้ โดยสภา
เมืองพัทยา
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
การปกครอง
หลังการเปลีย
่ นแปลง
พ.ศ.2535-2539
สงั คมไทยเริม
่ ตืน
่ ตัวในนโยบายการปรับปรุง
การปกครองท ้องถิน
่
โดยรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยได ้ดาเนินการสาคัญ 5 ประการได ้แก่
ิ สภาจังหวัด(สจ.)เลือกนายก อบจ.
1. ให ้สมาชก
2. สตรีสามารถดารงตาแหน่งปลัดอาเภอคนแรกได ้ในปี พ.ศ.2536
3. สตรีสามารถดารงตาแหน่งผู ้ว่าราชการได ้คนแรกในปี พ.ศ.2537
4. รัฐบาลเสนอร่าง พ.ร.บ.สภาตาบลและองค์การบริหารสว่ นตาบล
5. สตรีสามารถดารงตาแหน่งนายอาเภอคนแรกในปี พ.ศ.2539
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
พ.ศ.2540
หลังรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2540-2542
• ออก พ.ร.บ. องค์การบริหารสว่ นจังหวัด พ.ศ.2540
• ออก พ.ร.บ. ยกเลิก พ.ร.บ. สุขาภิบาล พ.ศ.2495
• ออก พ.ร.บ.เปลีย
่ นแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็ นเทศบาล พ.ศ.2542
• แก ้ไขเพิม
่ เติม พ.ร.บ.สภาตาบลและองค์การบริหารสว่ นตาบล พ.ศ.2537 ด ้านโครงสร ้าง
ิ และการบริหาร
สมาชก
• แก ้ไขเพิม
่ เติม พ.ร.บ.องค์การบริหารสว่ นจังหวัด พ.ศ.2540 ในการเพิม
่ อานาจหน ้าที่ อบจ.
• แก ้ไขเพิม
่ เติม พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2536 กาหนดการเลือกตัง้ และวาระของนายกเทศมนตรี
• ออก พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
พ.ศ.2540
หลังรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2543-2546
กฎหมายทีก
่ าหนดทิศทางของ อปท.ตามรัฐธรรมนูญ 2540
• พ.ร.บ.กาหนดแผนและขัน
้ ตอนการกระจายอานาจให ้แก่องค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่ พ.ศ.2542
• พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสว่ นท ้องถิน
่ พ.ศ.2542
ื่ เสนอข ้อบัญญัตท
• พ.ร.บ.ว่าด ้วยการเข ้าชอ
ิ ้องถิน
่ พ.ศ.2542
ี งเพือ
ิ สภาท ้องถิน
• พ.ร.บ.ว่าด ้วยการลงคะแนนเสย
่ ถอดถอนสมาชก
่ หรือผู ้บริหารท ้องถิน
่ พ.ศ. 2542
ิ สภาท ้องถิน
• พ.ร.บ.การเลือกตัง้ สมาชก
่ และผู ้บริหารท ้องถิน
่ พ.ศ.2545
• ปรับปรุงแก ้ไข พ.ร.บ.ต่างๆ ให ้ผู ้บริหารท ้องถิน
่ มาจากการเลือกตัง้ โดยตรงของประชาชนและไม่เกิน 2
สมัย
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
ตามรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2550
1. ประเด็นหล ักความเป็นอิสระแก่ทอ
้ งถิน
่
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน
่ ว่าเป็นหน่วยงานหล ักในการจ ัดทา
่ เสริมการดาเนินการให้มค
บริการสาธารณะโดยร ัฐมีหน้าทีส
่ ง
ี วาม
อิสระ
2. ประเด็นการกาก ับดูแลท้องถิน
่ (มาตรา 282)
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน
่ ต้องกาหนดมาตรฐานกลาง
่ เสริมและชว
่ ยเหลือให้ อปท. มีความเข้มแข็ง
3. ประเด็นการกาหนดการสง
ในการบริหารงาน
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
ตามรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2550
4. ประเด็นโครงสร้าง อปท.(มาตรา 284)
5. ประเด็นอานาจหน้าทีข
่ อง อปท. (มาตรา 283)และตาม
พ.ร.บ. กาหนดแผนฯ
6. ประเด็นการจ ัดเก็บภาษีและรายได้ (มาตรา 283)
7. ประเด็นเรือ
่ งการบริหารงานบุคคลของ อปท. (มาตรา 288)
่ นร่วมของประชาชน (มาตรา 285 8. ประเด็นเรือ
่ งการมีสว
286)
ื่ ถอดถอนสมาชก
ิ สภาท ้องถิน
การเข ้าชอ
่ และผู ้บริหารท ้องถิน
่
 การเสนอข ้อบัญญัตท
ิ ้องถิน
่
 มีสว่ นร่วมในการบริหาร อปท.
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
ตามรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2550
่ นท้องถิน
องค์กรปกครองสว
่
สภา ท้องถิน
่
 ส. อบจ.
 ส. อบต.
 ส. เทศบาล
มาจากการเลือกตงั้
ผูบ
้ ริหารท้องถิน
่
 นายก อบจ.
 นายก อบต.
 นายกเทศมนตรี
มาจากการเลือกตงของ
ั้
ประชาชนโดยตรง
พน ักงานและข้าราชการสว่ นท้องถิน
่
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การกระจายอานาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีคณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน่ วยราชการ
ท้องถิ่น
ผูท้ รงคุณวุฒิ
12 คน
12 คน
12 คน
มีการจัดทาแผนการกระจายอานาจสู่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีการกาหนดอานาจหน้าที่ในการจัดระบบ
การบริการสาธารณะ
มีการจัดสรรสัดส่วนภาษี อากร ระหว่างรัฐ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การเมืองการปกครอง
ตามรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2550
กฎหมายทีก
่ าหนดทิศทางของ อปท.ตามรัฐธรรมนูญ 2550
หมวด 14 ว่าด้วยองค์กรท้องถิน
่
่ อ
ทิศทางการกระจายอานาจสูท
้ งถิน
่
่ นท้องถิน
- กฎหมายข้าราชการสว
่
- กฎหมายรายได้ทอ
้ งถิน
่
- กฎหมายจ ัดตงองค์
ั้
กรท้องถิน
่
- กฎหมายกาหนดแผนกระจายอานาจ
- ประมวลกฎหมายท้องถิน
่
ิ , ผูบ
- กฎหมายถอดถอนสมาชก
้ ริหารท้องถิน
่
่ นร่วมของประชาชน
- กฎหมายว่าด้วยการมีสว
- กฎหมายว่าด้วยการร ับฟังความเห็น และประชามติ ฯลฯ
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
แนวคิดการปกครองท้องถิน
่
ค ัดค้าน
การปกครองท้องถิน
่
กล ัวอานาจไปอยูก
่ ับ
ึ ษา
คนไร้การศก
ไร้คณ
ุ ธรรม เจ้าพ่อ
ไม่ค ัดค้าน
แต่ควบคุมโดยร ัฐบาล
ร ัฐบาล
ไม่คอ
่ ยไว้วางใจ
ต้องมี
การปกครองท้องถิน
่
- รากฐานประชาธิปไตย
่ เสริมว ัฒนธรรม
- สง
ประชาธิปไตย
- แบ่งเบาภารกิจร ัฐ
กาเนิดและทีม
่ า
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน
่
• ฐานคิดชุมชนเข้มแข็ง
ั
• สงคมจารี
ต
• ความเป็นชุมชน
• ออกกฎหมายของร ัฐจ ัดตงั้
• บ ัญญ ัติไว้ในร ัฐธรรมนูญ
่ นท้องถิน
องค์กรปกครองสว
่
การกระจายอานาจสู่ทอ้ งถิ่นตาม
รัฐธรรมนูญฯ 2540
การเปลี่ ยนแปลงที่สาคัญ ๆ ดังนี้
• โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ม. 285)
• การเพิ่มอานาจท้องถิ่น (ภารกิจอานาจหน้าที่)(ม. 284)
• การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่น (ม. 284)
• การมีส่วนร่วมของประชาชนในองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น (ม. 286, ม. 287
• การจัดให้มีคณะกรรมการบริหารบุคคลส่วนท้องถิ่น
(ม. 288)
ความสัมพันธ์ระหว่างภารกิจ
ภารกิจท้องถิ่น
ภารกิจรัฐ








รักษาความสงบเรียบร้อย
ป้องกันประเทศ
การต่างประเทศ
ความยุติธรรม
การอุตสาหกรรม
การพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม
การศึกษา
การสาธารณสุข






การกาจัดขยะมูลฝอย
การตลาด
โรงฆ่าสัตย์
ให้มีน้าสะอาด หรือประปา
การบารุงทางบก ทางน้า
การดูแลสวนสาธารณะ
อานาจหน้าทีข
่ อง อปท.
ภายหล ังมีร ัฐธรรมนูญฯ 40
ึ ษา
การจ ัดการศก
 การสาธารณสุข
 การร ักษาพยาบาล
 การผ ังเมือง
 การควบคุมอาคาร
 การบรรเทาสาธารณภ ัย
 การจ ัดการทร ัพยากรธรรมชาติ
ั
 การสงคมสงเคราะห์
 การพ ัฒนาคุณภาพชวี ต
ิ เด็ก สตรี
คนชรา และผูด
้ อ
้ ยโอกาส
ิ ปะ ว ัฒนธรรม
 ศล
่ เสริมประชาธิปไตย
 การสง
 การท่องเทีย
่ ว
ร ัฐธรรมนูญฯ 50
• อปท. เป็นหน่วยงานหล ักในการจ ัดบริการสาธารณะ
• การจ ัดบริการสาธารณะทีไ่ ด้มาตรฐาน
ิ ธิภาพต้องดีกว่าสว
่ นราชการ
• คุณภาพและประสท
• ธรรมาภิบาลท้องถิน
่
การเปลีย
่ นแปลงท้องถิน
่ ไทย
ตามร ัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
1. ประเด็นหล ักความเป็นอิสระแก่ทอ
้ งถิน
่
่ นท้องถิน
องค์กรปกครองสว
่ ว่าเป็นหน่วยงาน
หล ักในการจ ัดทาบริการสาธารณะโดยร ัฐมี
่ เสริมการดาเนินการให้มค
หน้าทีส
่ ง
ี วามอิสระ
2. ประเด็นการกาก ับดูแลท้องถิน
่ (มาตรา 282)
่ นท้องถิน
องค์กรปกครองสว
่ ต้องกาหนด
มาตรฐานกลาง
่ เสริมและชว
่ ยเหลือให้
3. ประเด็นการกาหนดการสง
อปท. มีความเข้มแข็งในการบริหารงาน
การเปลีย
่ นแปลงท้องถิน
่ ไทย
ตามร ัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
4. ประเด็นโครงสร้าง อปท.(มาตรา 284)
5. ประเด็นอานาจหน้าที่ของ อปท. (มาตรา 283)และตาม พ.ร.บ. กาหนดแผนฯ
6. ประเด็นการจัดเก็บภาษีและรายได้ (มาตรา 283)
7. ประเด็นเรื่องการบริหารงานบุคคลของ อปท. (มาตรา 288)
8. ประเด็นเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน (มาตรา 285 - 286)
การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผูบ้ ริ หารท้องถิ่น
 การเสนอข้อบัญญัติทอ้ งถิ่น
 มีสว่ นร่วมในการบริ หาร อปท.
กรอบร ัฐธรรมนูญฯ 50
หมวด 14 ว่าด ้วยองค์กรท ้องถิน
่
่ ้องถิน
ทิศทางการกระจายอานาจสูท
่
่ นท้องถิน
- กฎหมายข้าราชการสว
่
- กฎหมายรายได้ทอ
้ งถิน
่
- กฎหมายจ ัดตงองค์
ั้
กรท้องถิน
่
- กฎหมายกาหนดแผนกระจายอานาจ
- ประมวลกฎหมายท้องถิน
่
ิ , ผูบ
- กฎหมายถอดถอนสมาชก
้ ริหารท้องถิน
่
่ นร่วมของประชาชน
- กฎหมายว่าด้วยการมีสว
- กฎหมายว่าด้วยการร ับฟังความเห็น และประชามติ
ฯลฯ
ประมวลกฎหมาย อปท.








เป็ นองค์กรหลักในการจัดบริการสาธารณะ
รัฐส่งเสริม อปท. ให้เข้มแข็ง
ส่งเสริมความเป็ นอิสระของ อปท.
มีองค์กรทาหน้าที่ตรวจสอบการใช้อานาจของ อปท.
การยุบ อปท. และ การรวม อปท.
สมาชิกสภาท้องถิ่น ขึ้นกับจานวนประชากร
ให้มีสานักงานกิจการสภาท้องถิ่น
ไม่กาหนดสมัยการดารงตาแหน่ ง
ประมวลกฎหมาย อปท. (ต่อ)








ผูบ้ ริหารท้องถิ่นต้องเป็ นผูไ้ ม่มีส่วนได้เสียที่ อปท. เป็ นคู่สญ
ั ญา
ผูร้ กั ษาราชการแทนผูบ้ ริหารท้องถิ่น
อานาจหน้าที่ อบจ.
ให้ อปท. มีการจัดตัง้ สหการ
คณะกรรมการกลางกากับดูแล อปท. จากผูท้ รงคุณวุฒิ
ให้ อปท. รวมตัวจัดตัง้ เป็ นสมาคม
ให้มีกฎหมายการมีส่วนร่วมในการบริหาร อปท.
ให้มี พ.ร.บ. จัดตัง้ อปท. รูปแบบพิเศษ
กฎหมายข ้าราชการสว่ นท ้องถิน
่
ประเด็น
สาระสาค ัญ
1. คณะกรรมการ ก.ถ.
นายกร ัฐมนตรี หรือรองนายกร ัฐมนตรี
2. เลขาธิการ ก.ถ.
เลขาธิการสาน ักงาน ก.ถ.
3. สาน ักงาน ก.ถ.
้ ต่อสาน ักนายก
มีฐานะเทียบเท่ากรม ขึน
ฯ
4. คณะอนุกรรมการฯ
ค ัดเลือกจากกรรมการผูท
้ รงคุณวุฒเิ ป็น
ประธาน
5. คณะกรรมการพิท ักษ์คณ
ุ ธรรม
(ก.พ.ถ.)
เลขาธิการ ก.ถ.
6. กรรมการผูท
้ รงคุณวุฒใิ น ก.ถ.
ไม่กาหนด
7. การบรรจุ การแต่งตงั้ การย้าย
การโอน การเลือ
่ นระด ับ
ไม่กาหนด
ิ ธิประชาชนในคณะกรรมการสภาท้องถิน
สท
่
 สภาท้องถิ่ นต้องเปิ ดโอกาสให้ร่วมฟั งการประชุมสภา
 สภาท้องถิ่ นต้องเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร โดยการถ่ายทอด
เสียงช่องทางใดช่องทางหนึ่ ง
 สภาต้องเปิ ดโอกาสให้เสนอข้อบัญญัติทอ้ งถิ่ น
 สภาท้องถิ่ นต้องจัดให้มีคณะกรรมการกิจการสภา
 สภาท้องถิ่ นต้องเปิ ดโอกาสให้เสนอข้อบัญญัติทอ้ งถิ่ น
การมีสว่ นร่วมของประชาชนในคณะกรรมการ
ื้ จัดจ ้าง
การดาเนินการจัดซอ
 คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
 คณะกรรมการรับและเปิ ดซองประกวดราคา
 คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
 คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
 คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
 คณะกรรมการตรวจการจ้าง
มิติใหม่การกระจายอานาจ
ความเป็นอิสระ/
การกาหนด
นโยบาย/
การบริ หารจัดการ/
บริ การสาธารณะ
การเพิ่มอานาจ
หน้าที่องค์กร
ปกครองส่วน
ท้องถิ่น
การเงิน
งบประมาณ
ท้องถิ่น
ประสิทธิภาพ
ในการบริ หาร
ท้องถิ่น
ปรับบทบาท
ส่วนราชการ
รายได้
ท้องถิ่น
การมีสว่ นร่วม
ยุทธศาสตร์การบริ หาร อปท.
เพิ่มประสิทธิภาพ
องค์กร อปท.
พัฒนาบุคลากร
การจัดหารายได้
และแสวงหา
ทุน/ทรัพยากร
สมาชิกสภา
ประสิทธิภาพ
การเงิน การคลัง
ผูบ้ ริ หารท้องถิ่น
ภาษี
การประสานงาน
ทางานงานแบบ
สหการ
ความร่วมมือ
จัดบริ การ
ภายใน-ภายนอก
กิจการพาณิชย์
ภายใน อปท.
ปั จจัยความสาเร็จการบริ หาร
ภายนอก อปท.
ผูบ้ ริ หารและสมาชิก
ข้อมูลข่าวสาร
บุคลากร
ศูนย์ทางวิชาการ
ทุน/ทรัพยากร
การประสานความร่วมมือ
รายได้
เครื อข่าย
การมีสว่ นร่วม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2 ชัน้ (Two Tier)
ระดับบน
Upper Tier
1. รับผิดชอบภารกิจภาพรวม ครอบคลุมทัง้ จังหวัด
2. ภารกิจที่ระดับล่างทาไม่ได้
3. ประสานและสนับสนุนระดับล่างให้เกิดการบูรณาการ
ระดับล่าง
Lower Tier
1. ภารกิจเฉพาะพื้นที่ในเขตของตนเอง
2. จัดทาภารกิจตามกฎหมายกาหนด
3. ร้องขอสนับสนุนจากระดับบน
ระดับบน
Upper Tier
อบจ.
ระดับล่าง
Lower Tier
เทศบาลต่าง ๆ
ในจังหวัด
อบต. ต่าง ๆ
ในจังหวัด
โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงสร้างการปกครองท้องถิ่นแบบชัน้ เดียว
One Tier
โครงสร้างการปกครองท้องถิ่นแบบหลายชัน้
Two Tier
Three Tier
ระบบชัน้
3
2
โครงสร้างระบบบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหาร
ส่วนกลาง
Centralization
การบริหาร
การบริหาร
ส่วนภูมิภาค
ส่วนท้องถิ่น
Decontralization Decentralization
การบริหารราชการ
ส่วนกลาง
การบริหาร
ราชการ
ส่วนท้องถิ่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• พื้นที่บริการสาธารณะ (มีเขตปกครองชัดเจน)
• ประชากรที่เหมาะสมในการให้บริการ
• งบประมาณรายได้ของตนเองอย่างเพียงพอ
• มีอานาจหน้าที่เหมาะสมต่อการให้บริการ
• ฐานะองค์กรเป็ นนิ ติบุคคล (โดยกฎหมาย)
• โครงสร้างรูปแบบการปกครองท้องถิ่น
• การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ (ส่วนกลาง) กับองค์กร
ท้องถิ่น
ปั ญหาอุปสรรค
ในการปกครองท้องถิ่น
ระบบรวมศูนย์อานาจ
การขยายตัวของระบบราชการ
การพึ่งพิงรัฐ
ความสนใจของรัฐบาล
ทิศทาง นโยบายรัฐ
ความรูค้ วามเข้าใจของพลเมืองใน
การปกครองท้องถิ่น
อปท. กับบริบทสิ่งแวดล้อมภายนอก
สิ่ งแวดล้อม
นโยบาย
รัฐ
รัฐบาล
องค์กร
สถาบัน
ชุมชน
อปท.
การมีส่วนร่วม ประชาชน
กลุ่ม
ส่วนราชการ
สถาบัน
ชุมชน
องค์กร
สิ่งแวดล้อม
ภายนอก
และ
โลกาภิวฒ
ั น์
ผูป้ กครอง
ผูถ้ กู ปกครอง
ผูม้ ีอานาจ
ผูไ้ ม่มีอานาจ
ผูก้ าหนดชะตากรรม
ผูร้ อรับชะตากรรม
พลเมือง (Citizen) VS ประชาชน(People)
ประชาชน
People
 มองสถานะตา่ – สูง
 ผูด
้ อ้ ย – ผูน้ อ้ ย
 คอยรับความช่วยเหลื อ
 ยอมรับใช้
 แสวงหาอุปถัมภ์
VS
พลเมือง
Citizenship
 มีศก
ั ดิ์ศรี
 ฐานะเท่าเทียม
 ไม่ยอมให้ครอบงา
 ไม่ใช่ ไพร่
 มีส่วนร่วม
 รูจ
้ ักสิทธิหน้าที่
โสเตรติส-เพลโต-อริสโตเติล-มาเคลเวลลี
1.ให้ความสนใจเรื่องของการใช้อานาจ การรวมอานาจ และการรักษา
อานาจมากกว่าการกระจายอานาจ
2.การกระจายอานาจไปสู่ประชาชนที่ไม่มีความรู ้ ไม่มีคณ
ุ ธรรมจนทา
ให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดี
พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั
ข้าพเจ้าเห็นว่าสิทธิเลือกตัง้ ของประชาชนควรที่จะเริ่มต้นที่การ
ปกครองท้องถิ่ น ในรูปแบบของเทศบาล ข้าพเจ้าเชื่ อว่าประชาชน
ควรจะมี สิ ท ธิ มี เ สี ย งในกิ จ การของท้อ งถิ่ น เราก าลัง พยายามให้
การศึ กษาเรื่องนี้ แก่เขา ข้าพเจ้าเห็ นว่าเป็ นการผิ ดพลาดถ้าเราจะมี
การปกครองระบบรัฐสภาก่อนที่ ประชาชนจะมี โอกาสเรี ยนรู ้ และมี
ประสบการณ์อย่างดี เกี่ ยวกับการใช้สิทธิเลื อกตัง้ ในกิจการปกครอง
ท้องถิ่น
เปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นไทย
กับต่างประเทศ
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การปกครองท้องถิ่นของประเทศฝรัง่ เศส
โครงสร้างการบริหารของ อปท.
ภาค Region
จานวน 22 แห่ง
อีก 4 แห่งในจังหวัดโพ้นทะเล
และ
จังหวัด Department
จานวน 96 แห่ง
อีก 4 แห่งในจังหวัดโพ้นทะเล
และ
เทศบาล Commune
จานวน 36,580 แห่ง
และอีก 183 แห่งในจังหวัดโพ้นทะเล
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การปกครองท้องถิ่นของประเทศฝรัง่ เศส
โครงสร้างการบริหารของ อปท.
สภาภาค
องค์กรฝ่ายบริหาร
คณะกรรมการ
เศรษฐกิจและสังคม
ภาค Region
มาจากการเลือกตัง้ โดยตรงของประชาชนที่อยูใ่ นเขต
จังหวัดในภาคนัน้ ๆ อยู่ในวาระ 6 ปี
มาจากการเลือกตัง้ จากสมาชิกสภาภาค อยู่ในวาระ 6 ปี
มีสมาชิก 40-110 คน มีวาระในการดารงตาแหน่ง 6 ปี สมาชิกมี 4
ประเภท ได้แก่ ตัวแทนของวิสาหกิจ ตัวแทนสหภาพแรงงาน ตัวแทน
องค์กรที่มีสว่ นร่วมการดาเนินกิจการของภาค ผูท้ รงคุณวุฒิดา้ น
ต่างๆที่กาหนดกฎหมาย
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การปกครองท้องถิ่นของประเทศฝรัง่ เศส
โครงสร้างการบริหารของ อปท.
จังหวัด Department
ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ
ฝ่ายบริหาร
ได้แก่ สมาชิกสภาจังหวัด
มาจากการเลือกตัง้ ตาม
เขตที่เรียกว่า “กังต๊อง”
(1กังต๊อง/1คน) อยูใ่ น
วาระ 6 ปี
ได้แก่ ประธานสภา มาจาก
การเลือกตัง้ ของสมาชิก
สภาจังหวัด อยูใ่ นวาระ 3 ปี
คณะกรรมาธิการ
จังหวัด
มีสมาชิก 10-15 คน
ประกอบด้วย (1)
ประธานสภาจังหวัด (2)
รองประธานสภาจังหวัด
4-10 คน (3) สมาชิกสภา
จังหวัดอีกจานวนหนึ่ง
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การปกครองท้องถิ่นของประเทศฝรัง่ เศส
โครงสร้างการบริหารของ อปท.
1
เทศบาล Commune
เทศบาลสภา
2
นายกเทศมนตรี
• มาจากการเลือกตัง้ โดยตรง
• มาจากการเลือกตัง้ ทางอ้อม
• มีวาระในการดารงตาแหน่ง 6 ปี
• ดารงตาแหน่ง 2 อย่างคือ (1) เป็น
ผูบ้ ริหาร (2) เป็นตัวแทนของรัฐส่วนกลาง
• มีจานวนสมาชิกต่าส ุด 9 คน สูงส ุด
69 คน
• ไม่ถ ูกเพิกถอนจากสมาชิกสภาเทศบาลได้
• มีเทศมนตรีเป็นผูช้ ่วยอย่างน้อย 1 คน และ
อาจมีเทศมนตรีพิเศษได้
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การปกครองท้องถิ่นของประเทศฝรัง่ เศส
โครงสร้างการบริหารของ อปท.
รูปแบบพิเศษ
เทศบาลนครปารีส
จังหวัดปารีส
เขต
เมืองใหญ่
Lyo
n
Marseill
e
เขต
เขต
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การกาเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไทย
เกาหลีใต้
ฝรัง่ เศส
จัดตัง้ โดยกฎหมาย
จัดตัง้ โดยกฎหมาย
จัดตัง้ โดยกฎหมายจัดตัง้
โดยชุมชนเรียกร้องและ
ความเป็ นชุมชน
(Commune)
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน
ไทย
ฝรัง่ เศส
เกาหลีใต้
แบ่งออกเป็ น 3 ชัน้ คือ
แบ่งออกเป็ น 3 ชัน้ คือ
การบริหารราชการ
ส่วนกลาง การบริหาร
ราชการส่วนภูมภิ าค และ
การบริหารราชการส่วน
ท้องถิ่น
แบ่งออกเป็ น 2 ชัน้ คือ
รัฐบาลกลางและรัฐบาล
ระดับท้องถิ่น
การบริหารราชการ
ส่วนกลาง การบริหาร
ราชการส่วนภูมภิ าค และ
การบริหารราชการส่วน
ท้องถิ่น
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
โครงสร้างของการปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ
ชัน้ ของการปกครองส่วนท้องถิ่น
ไทย
ฝรัง่ เศส
เกาหลีใต้
แบ่งออกเป็ น 2 ชัน้ คือ แบ่งออกเป็ น 3 ชัน้ คือ ภาค แบ่งออกเป็ น 2 ชัน้ คือ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด
จังหวัด และเทศบาล
จังหวัดหรือ Do กับมหา
(อบจ.)เป็ นท้องถิ่นระดับบน
ตามลาดับ
นครเป็ นท้องถิ่นระดับบน
และเทศบาลกับองค์การ
ส่วนเมืองและ Kunเป็ น
บริหารส่วนตาบล (อบต.)
ท้องถิ่นระดับล่าง
เป็ นท้องถิ่นระดับล่าง
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
รูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไทย
ฝรัง่ เศส
เกาหลีใต้
แบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบ คือรูปแบบ
ทัว่ ไป ได้แก่ อบจ. อบต. เทศบาล และ
รูปแบบพิเศษ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร
และเมืองพัทยา
แบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบ คือ รูปแบบ
ทัว่ ไป ได้แก่ เทศบาล จังหวัดและภาค
และรูปแบบพิเศษ ได้แก่ นครปารีสและ
เขตเมืองใหญ่ (Lyon และ
Marseille) กับการปกครองนอก
แผ่นดินใหญ่ซึ่งประกอบด้วย เกาะ
(Cosica) จังหวัดโพ้นทะเล
(DOM) และดินแดนโพ้นทะเล
(TOM)
แบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบ คือ รูปแบบ
ทัว่ ไป ได้แก่ จังหวัด หรือ Do, มหา
นคร,เมือง,และ Kun ส่วนรู ปแบบ
พิเศษ ได้แก่ กรุงโซล
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
ที่มาของผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไทย
ฝรัง่ เศส
เกาหลีใต้
เลือกตัง้ โดยตรงจาก
ประชาชน
มาจากการเลือกตัง้
ทางอ้อม โดยให้ฝ่ายสมาชิก
สภาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นเป็ นผูเ้ ลือก
ผูบ้ ริหารท้องถิ่น
เลือกตัง้ โดยตรงจาก
ประชาชน
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
แหล่งรายได้สว่ นใหญ่ของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไทย
ฝรัง่ เศส
เกาหลีใต้
แหล่งรายได้หลักมา แหล่งรายได้หลักมา แหล่งรายได้หลักมา
จากภาษีทอ้ งถิ่น และ จากภาษีทอ้ งถิ่น
จากภาษีทอ้ งถิ่น
เงินอุดหนุนจาก
(รัฐจัดเก็บให้)
(จัดเก็บเอง)
รัฐบาล
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
อานาจการบริหารงานบ ุคคล
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไทย
ฝรัง่ เศส
เกาหลีใต้
อานาจการบริหารงาน อานาจการบริหารงาน อานาจการบริหารงาน
บุคคลเป็ นของ
บุคคลเป็ นของท้องถิ่น บุคคลเป็ นของท้องถิ่น
คณะกรรมการกลาง
ร่วมกับรัฐบาล
ร่วมกับคณะกรรมการ
ท้องถิ่น
กลาง
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
ภารกิจและอานาจหน้าที่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไทย
ถู กจากัดโดยกฎหมาย คือรัฐบาลจะเป็ นผู ต้ รากฎหมาย กาหนดขอบเขต
ภารกิจและอานาจหน้าที่ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติตาม
ซึ่ งท้องถิ่นจะทาหน้าที่ ใดๆ ได้ก็ต่อเมื่ อกฎหมายกาหนดหลั กไว้เท่านั้น
กฎหมายที่กาหนดอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย ได้แก่
1.พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด (ฉ.3) พ.ศ.2546
2.พ.ร.บ.เทศบาล (ฉ.12) พ.ศ.2546
การบริหารส่วนตาบล (ฉ.5) พ.ศ.2546
3.พ.ร.บ.องค์
4.พ.ร.บ.ระเบียบบริหารเมืองพัทยา พ.ศ.2542
ดระเบียบบริหารราชการกร ุงเทพมหานคร พ.ศ.2528
5.พ.ร.บ.จั
6.พ.ร.บ.กาหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
การบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยในปัจจุบัน
โครงสร้างการจัดระเบียบราชการแผ่นดิน
ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
สานักนายกรัฐมนตรี
ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมภ
ิ าค
จังหวัด
ส่วนราชการประจาจังหวัด
กระทรวง
ทบวง
ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิน
่
องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
เทศบาล
อาเภอ
ส่วนราชการประจาอาเภอ
ตาบล
องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.)
กรุงเทพมหานคร
เมืองพัทยา
หมู่บ้าน
ภารกิจและอานาจหน้าที่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ฝรัง่ เศส
ขอบข่ายของอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นเป็ นระบบใช้ความสามารถทั่วไป ซึ่ งอานาจหน้าที่ และ
ภารกิจทั่วไปของท้องถิ่นจะผันแปรไปตามรายได้ของท้องถิ่น และ
ผันแปรไปตามแนวความคิดสร้างสรรค์ของท้องถิ่นเป็ นหลัก
มากกว่าที่ จะอยู ่ภายในขอบเขตของกฎหมายอย่างเข้มงวด
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
ภารกิจและอานาจหน้าที่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เกาหลีใต้
ขอบข่ายของอานาจหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นเป็ นระบบ ใช้หลักความสามารถทัว่ ไป เช่นเดียวกับ
ฝรั่งเศส แต่มีกฎหมายในการกาหนดอานาจหน้าที่ ไว้ดว้ ย
คือ พ.ร.บ.Local Autonomy แก้ไขเพิ่มเติม
ค.ศ.1995
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam
Thammasat University
โครงสร้างของการปกครองส่วนท้องถิ่นเกาหลีใต้
ส่วนกลาง
รัฐบาลกลาง
กรุงโซล(1)
เขตปกครอง
(Ku - 25)
มหานคร (6)
เขตปกครอง
(44)
ส่วนท้องถิ่น/
ระดับบน
จังหวัด (9)
Kun
(86)
City
(72)
Kun
(86)
เขต (Ku-21)
Dong
(530)
Dong
(745)
Eup/Myon
(8/38)
Dong
(1,018)
Eup/Myon
(187/1,192)
หมายเหตุ : ตัวเลขภายใน ( ) แสดงถึงจานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนท้องถิ่น/
ระดับล่าง
หน่วยงาน
สาขาท้องถิน
่
ระดับล่าง
ประเภทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นญีป
่ ุ่น
หน่วยปกครองท้องถิน
่ รูปแบบทัว
่ ไป
ประเภท / รูปแบบ
จังหวัด (Prefectures)
• โทะ (To)
• โด (Do)
• ฟุ (Fu)
• เคง (Ken)
เทศบาล (Municipalities)
• เทศบาลนคร (Cities / Shi)
 เทศบาลมหานคร (Designated
Cities/Shitei Toshi)
 เทศบาลนครศูนย์กลาง (Core
Cities/Chukaku shi)
 เทศบาลนครทั่วไป (Ordinary
Cities)
• เทศบาลเมือง (Towns / Cho or
Machi)
• เทศบาลหมู่บ้าน (Villages / Son or
Mura)
จานวนองค์กร
47
1
1
2
43
3,218
675
12
30
633
1,981
562
ประเภทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นญีป
่ ุ่น
หน่วยปกครองท้องถิน
่ รูปแบบพิเศษ
ประเภท / รูปแบบ
จานวนองค์กร
เขตพิเศษ (Special Wards/Ku)
สหภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(Cooperatives of Local
Authorities/ Jimu-kumiai)
• สหภาพธุรการทัว
่ ไป (Partial
Cooperative Ichibu
Jimukumiai)
• สหภาพเขตกว้าง (Wide Area
Union/ Koikirengo)
• สหภาพธุรการรวม (Full
Cooperative)
• สหภาพธุรการราชการ (JoinOffice Cooperative)
เขตทรัพย์สิน (Property Wards)
องค์กรพัฒนาท้องถิ่น (Local
Development Corporations)
47
2,696
2,630
66
0
0
4,140
6
การปกครองท้องถิน
่ ประเทศอินโดนีเซีย : กรณีจังหวัดบาหลี
Province Bali
Region
Region
Region
8 Region
GLANYAR
JEMBRANA
BUIELENG
TABANAN
BANDUNG
KLUNGKUNG
KARANG ASSEM
District
District
District
Village
Village
Village
Banja
Banja
Hous
ehold
Hous
ehold
Hous
ehold
Hous
ehold
BANGLI
Banja
Hous
ehold
Hous
ehold
Group
House
hold
รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม
เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดบริการสาธารณะ
ความคุ้มค่ าและประหยัดทรั พยากร
ลดข้ อจากัดขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
สร้ างสานึกความรั บผิดชอบต่ อท้ องถิ่นร่ วมกัน
ช่ วยเหลือกันด้ วยความสมัครใจ (voluntary
assistance)
 แลกเปลี่ยนบริ การ (trading services)
 การให้ เช่ าอุปกรณ์
 หลักการจ้ าง (contracting)
 หลักการใช้ บุคลากรร่ วมกัน (sharing staff)
 หลักการรวมบริ การ (consolidation services)
 หลักการจัดตัง้ เขตบริ การพิเศษ (special purpose
districts)

ประเทศเกาหลีใต้


Local Association หรื อ นิติบคุ คลที่เกิดขึ ้นเพื่อความร่วมมือกันระหว่างองค์กร
ปกครองท้ องถิ่น เป็ นองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นชนิดหนึง่ ที่ได้ รับการรับรองโดยกฎหมาย
Local Pubic Enterprise Association หรื อวิสาหกิจที่เกิดจากความ
ร่วมมือกันขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น วิสาหกิจนี ้ ถือเป็ นรูปแบบของการปกครองส่วน
ท้ องถิ่น ประเภทหนึง่ ได้ รับการรับรองโดยกฎหมาย Local Pubic Enterprise
Association Act มีลกั ษณะเป็ นนิติบคุ คล
ประเทศฝรั่ งเศส
รู ปแบบของสหการมี 2 รู ปแบบ ได้ แก่


สหการที่จดั ตั ้งขึ ้นมาเพื่อจัดทาบริการสาธารณะเพียงอย่างเดียว (syndicats
intercommunaux a vocation unique หรื อ SIVU)
สหการที่จดั ตั ้งขึ ้นมาเพื่อจัดทาบริการสาธารณะหลายอย่าง
(syndicats intercommunaux a vocation multiple หรื อ SIVM)
ลักษณะของสหการมี 2 ลักษณะ ได้ แก่


สหการเฉพาะเทศบาล (syndicats intercommunues)
สหการผสม (syndicats mixte)
ประเทศญี่ปุ่น
รู ปแบบความร่ วมมือ
 สภาร่ วม
 มอบหมายภารกิจ
 สหการ
สหการภาค
ข
ก
ค
ง
จ
• เทศบาล ก. กับ ข. ร่ วมมือกันจัดบริการขยะ กาจัดขยะร่ วม
• เทศบาล ข. ง. และ จ. ร่ วมมือกันจัดบริการโรงพยาบาลร่ วม
• เทศบาล ก. ง. และ จ. ร่ วมมือกันจัดบริการดับเพลิงร่ วม
• ทั ง้ เทศบาล ก. ข. ค. ง. จ. ร่ วมมื อ กั น จั ด บริ ก ารร่ วมทั ง้ เรื่ องขยะ เรื่ องโรงพยาบาล
รื่ องดับเพลิง และอาจจะจัดบริ การเรื่ องศูนย์ บริ การคนชรา ซึ่งความร่ วมมือในข้ อ 4 อาจจะ
เรียกว่ า “สหการภาค” หรือ ทัง้ 5 องค์ กรท้ องถิ่นจัดบริการหลายภารกิจร่ วมกัน
ความร่ วมมือระหว่ าง อปท. อย่ างเป็ นทางการ (ระบุตามกฎหมาย)
• พระรำชบัญญัติเทศบำล พ.ศ.2496 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2546)
• พระรำชบัญญัติระเบียบบริ หำรรำชกำรกรุ งเทพมหำนคร พ.ศ.2528
• พระรำชบัญญัติระเบียบบริ หำรรำชกำรเมืองพัทยำ พ.ศ.2542
ความร่ วมมือระหว่ าง อปท. อย่ างไม่ เป็ นทางการ
• สมำคมองค์กำรบริ หำรส่ วนตำบลแห่งประเทศไทย
• สมำคมสันติบำตเทศบำลแห่งประเทศไทย
• สมำคมพนังงำนเทศบำลแห่งประเทศไทย
• เว็บไซต์กลุ่มเพื่อนพนักงำนส่ วนตำบล
• ควำมร่ วมมือในลักษณะพึ่งพำอำศัยกัน เช่น กำรทำกิจกรรมร่ วม
ตัวอย่ างที่ 1
ลักษณะ : ศูนย์ประสานงานและบริ หารจัดการร่ วมกันด้ านการจัดการขยะ จ.ลาปาง
หน่ วยร่ วม : เทศบาลตาบลเกาะคา อบต.ท่าผา อบต.ศาลา และ อบต.เกาะคา
รูปแบบ : รูปแบบไม่เป็ นทางการ โดยมีการลงนามบันทึกข้ อตกลง (MOU)
มีการใช้ ทรัพยากร งบประมาณ บุคลากรร่วมกัน เพื่อดาเนินงานด้ านการ
จัดการขยะและรวมถึงจัดให้ มีการฝึ กอบรมคนคุ้ยขยะและคนเก็บขยะ
ประโยชน์ :
• ความร่วมมือในการจัดการปั ญหาขยะ
• ใช้ ทรัพยากรและงบประมาณร่วมกันทาให้ ท้องถิ่นประหยัดงบประมาณ
• สร้ างความเข้ าใจการทางานร่วมกันของท้ องถิ่น
• สถานที่กาจัดขยะได้ รับการพัฒนาที่ดีขึ ้น
• เกิดรายได้ กบั ประชาชนในชุมชน เช่น ขยะรี ไซเคิล และนาขยะอินทรี ย์มาหมักทาปุ๋ย
ลักษณะ : ศูนย์ประสานงานและบริ หารจัดการร่ วมกันด้ านโครงสร้ างพื ้นฐาน อ.ปลวกแดง
จ.ระยอง
หน่ วยร่ วม : องค์การบริ หารส่วนท้ องถิ่นในเขต อ.ปลวกแดง จานวน 8 แห่ง
รู ปแบบ : รูปแบบไม่เป็ นทางการ โดยมีการลงนามบันทึกข้ อตกลง (MOU) ใช้ ทรัพยากร
งบประมาณ บุคลากรร่วมกัน ดาเนินงาน เช่น การซ่อมบารุงพื ้นผิวถนนลาดยาง
และลูกรัง การซ่อมแซมคอสะพาน การซ่อมบารุงไฟฟ้ าสาธารณะ เพื่อให้ เกิดการ
บริ การที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และมีมาตรฐาน
ประโยชน์ :
• การใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพลดต้ นทุนในการดาเนินงาน และมีการลงทุนอย่างคุ้มค่า
• “รวดเร็ว ทัว่ ถึง และเป็ นธรรม”
• มีมาตรฐานกรปฏิบตั ิงาน
• พัฒนาองค์กรและบุคลากร เกิดพลังและศักยภาพในการปฏิบตั ิงาน
ตัวอย่ างที่ 2
ตัวอย่ างที่ 3
ลักษณะ :
โครงการความร่วมมือในการจัดตังศู
้ นย์บรรเทาสาธารณภัย
หน่ วยร่ วม : เทศบาลเมืองกาญจนบุรี, อบต.ปากแพรก,อบต.เกาะสาโรง และ อบต.ท่ามะขาม
รูปแบบ :
รูปแบบไม่เป็ นทางการ โดยมีการลงนามบันทึกข้ อตกลง (MOU) มีการใช้
ทรัพยากร งบประมาณ บุคลากรร่วมกัน เพื่อดาเนินงาน ให้ มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ ้น
ประโยชน์ :
• มีขอบเขตภารกิจของศูนย์ที่ชดั เจน
• มีนโยบายและแผนปฏิบตั ิงานร่วมกัน
• มีการสนธิทรัพยากร
• มีการบริ หารงบประมาณร่วมกัน
• การดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ ้น








ลักษณะเป็ นการโน้ มน้ าว รณรงค์ และจูงใจ
ลักษณะการทางานแบบสั่งการ
วัฒนธรรมองค์ กรยึดตัวบุคคล และองค์ กรตัวเองเป็ นหลัก
กระแสการทาบันทึกข้ อตกลง (MOU)
วัฒนธรรมสร้ างภาพ
ข้ อพิจารณามาตรฐาน และคุณภาพการให้ บริการของ อปท.
ความร่ วมมือที่เป็ นจริงต้ องมาจากกระบวนการความร่ วมมือ
สร้ างระบบและกลไกเพื่อให้ อานาจ อปท. โดยเฉพาะกลไกกฎหมายความ
ร่ วมมือ (สหการ)