รูปแบบและแนวทางการขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์

Download Report

Transcript รูปแบบและแนวทางการขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์

การกระจายอานาจด้ านสาธารณสุ ข:
รู ปแบบและแนวทางการขับเคลือ่ นเชิงยุทธศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี
คณบดีคณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
[email protected]
080-7429991
เกีย่ วกับวิทยากร
• ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี
• คณบดีคณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม
•
•
•
•
•
• เคยดารงตาแหน่ ง ผู้ช่วยอธิการบดี รองคณบดี หัวหน้ า
สาขา ใน มมส
• ผู้ริเริ่มก่ อตั้ง คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มมส
สาธารณสุ ขศาสตรบัณฑิต มสธ.
• อาจารย์ วทิ ยาลัยการสาธารณสุ ขสิ รินธร จ. ขอนแก่ น
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุ ขศาสตร์ ) ม.มหิดล • ช่ วยราชการ กองสาธารณสุ ขภูมภิ าค, กองแผนงาน,
สภาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุ ข
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต M.B.A. ม. ขอนแก่ น
นิติศาสตรบัณฑิต ม. รามคาแหง
• [email protected],
Ph.D. Health Science, Swansea University, UK นักเรียน
• 080-7429991
ทุนรัฐบาลไทย (ก.พ.)
กรอบนาเสนอ
•
•
•
•
•
•
บทนา
การบริหารราชการและการกระจายอานาจ
การปกครองส่ วนท้ องถิน่ พัฒนาการและการปฏิรูป
รู ปแบบและแนวทางการกระจายอานาจด้ านสาธารณสุ ข
ยุทธศาสตร์ และแนวทางการกระจายอานาจด้ านสาธารณสุ ข
สรุป
การบริหารราชการและการกระจายอานาจ
แผนภาพแสดงระบบการบริหารราชการไทย
การบริ หารราชการไทย
ราชการบริ หาร
ส่ วนกลาง
ราชการบริ หาร
ส่ วนภูมิภาค
ราชการบริ หาร
ส่ วนท้องถิ่น
การบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหารราชการส่วนกลาง
สานักนายก กระทรวง
กรม
บริหารราชการส่วนภูมิภาค
บริหารราชการส่วนท้องถิ่น
จังหวัด
ส่วนราชการประจาจังหวัด
อบจ.
กทม.
เทศบาล
เมือง
พัทยา
อาเภอ
ส่วนราชการประจาอาเภอ
ภารกิจรัฐ
อบต.
ภารกิจท้องถิ่น
ความหมายการกระจายอานาจ
การกระจายอานาจ (Decentralization)
หมายถึง การกระจายหรือแจกจ่ายอานาจออกจากศูนย์กลาง ซึ่งมี
หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ การกระจายอานาจ การรวมอานาจไปไว้ในบาง
แห่ง หรือการจัดระดับความสามารถในการตัดสินใจ (Wolman: 1987)
ประเภทของการกระจายอานาจ
 การลดอานาจส่วนกลาง สูภ่ ูมิภาค
(Deconcentration) เพิ่มความคล่องตัวบริหารจัดการ
 การมอบหน้าที่ (Delegation) ให้แก่องค์กรรัฐ หรือองค์กรกึ่งรัฐที่เป็ น
อิสระ (Autonomous body) เพื่อประสิทธิภาพสูงสุด
 การกระจายอานาจการปกครองให้รฐั บาลส่วนท้องถิ่น
(Devolution) เพื่อให้ประชาชนมีสว่ นร่วม
 การมอบอานาจหน้าที่ให้แก่องค์กรหรือหน่วยงานเอกชน
(Privatization) โดยรัฐควบคุมตรวจสอบ
Deconcentration
• เป็ นการลดความเข้ มข้ นของอานาจส่ วนกลางไปสู่ ส่วนปลาย
• เป็ นการจัดสรรอานาจหน้ าที่บางประการไปให้ องค์ กรในส่ วนปลายทา
หน้ าที่แทน แต่ มักจะไม่ ได้ มีการให้ อานาจการตัดสิ นใจทั้งหมดไปให้
• มีข้อวิจารณ์ ว่าไม่ ใช่ การกระจายอานาจอย่ างแท้ จริง เพราะไม่ เปิ ดโอกาส
มากนักทีใ่ ห้ องค์ กรในส่ วนปลายมีอานาจที่แท้ จริง
• ตัวอย่ างเช่ น การจัดระบบการบริหารราชการส่ วนภูมิภาคของประเทศ
ไทย
Delegation
• เป็ นการมอบหมายอานาจในการบริหารและการตัดสิ นใจไปให้ หน่ วยงาน
หรือองค์ กรมีอานาจแทน เรียกอีกอย่ างว่ าการมอบหมายงาน
• มีท้งั การมอบอานาจไปที่หน่ วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคกึ่ง
ราชการ
• มีข้อวิจารณ์ ว่าอานาจหน้ าทีน่ ้ันๆ ยังอยู่ทสี่ ่ วนกลางเพียงได้ มอบหมาย
งานบางอย่ างออกไปเท่ านั้น
• มักจะมีปัญหาในการมอบอานาจระหว่ างผู้มอบและผู้รับมอบอยู่เสมอ
Devolution
• เป็ นการมอบหมายอานาจและหน้ าที่ไปให้ หน่ วยงานใหม่ โดยหน่ วยงาน
กลางไม่ เข้ าไปเกีย่ วข้ องอีก
• เป็ นการทีห่ น่ วยงานกลางละทิง้ อานาจหน้ าที่บางอย่ างไปให้ หน่ วยงาน
ใหม่ อย่ างสิ้นเชิง
• มีข้อวิจารณ์ ว่า รัฐกลางจะเสี ยอานาจควบคุม และส่ วนปลายจะไม่ เข้ าใจ
และไม่ สามารถดาเนินหน้ าที่และความรับผิดชอบทีไ่ ด้ รับมอบหมาย
ต่ อไปได้
• กรณีตวั อย่ าง ได้ แก่ การปกครองในรู ปแบบการบริหารราชการส่ วน
ท้ องถิ่นของไทย
Pivatisation
• เป็ นการโอนอานาจหน้ าที่ของรัฐกลางไปให้ หน่ วยงานใหม่ ที่ไม่ ใช่
หน่ วยงานภาครัฐทาหน้ าที่แทน
• องค์ การทีไ่ ด้ รับมอบอาจจะเป็ นหน่ วยงานภาคเอกชน หรือหน่ วยงานที่
จัดตั้งขึน้ ใหม่ ที่มิใช่ หน่ วยงานราชการ
• ข้ อวิจารณ์ คือเป็ นเรื่องใหม่ และหาหน่ วยงานที่มีความเชี่ ยวชาญเฉพาะ
เรื่องนั้นโดยตรงได้ ยาก
• กรณีตัวอย่ างได้ แก่ การตั้งองค์ กรมหาชน การตั้งหน่ วยบริหารจัดการ
พิเศษ SDU
การปกครองส่ วนท้ องถิ่นพัฒนาการและการปฏิรูป
พัฒนาการของการบริหารท้ องถิ่นไทย












ปี 2498
ปี 2499
ปี 2499
ปี 2515
ปี 2518
ปี 2521
ปี 2537
ปี 2540
ปี 2542
ปี 2544
ปี 2550
ปี 2557
จัดตั้งองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด
จัดตั้งองค์ การบริหารส่ วนตาบล (อบต.)
จัดตั้งสภาตาบล
ยุบเลิก อบต.
จัดตั้งกรุงเทพมหานครเป็ นการปกครองท้ องถิ่นรูปพิเศษ
จัดตั้งเมืองพัทยาเป็ นการปกครองท้ องถิ่นรู ปพิเศษ
รื้อฟื้ น อบต. เป็ นจุดเริ่มต้ นการกระจายอานาจสู่ ท้องถิ่น
รธน. ปี 2540 ให้ รัฐต้ องกระจายอานาจให้ ท้องถิ่น
เปลีย่ นแปลงฐานะสุ ขาภิบาลเป็ นเทศบาลตาบล
กระจายภารกิจ/รายได้ ให้ ท้องถิ่น
รธน. ปี 2550 ปรับปรุ งเรื่องกระจายอานาจให้ ท้องถิ่น
ธรรมนูญชั่วคราว มีบทบัญญัติให้ ปฏิรูปการปกครองท้ องถิ่น
ปัจจัยทีน่ าไปสู่ การกระจายอานาจใน ปี 2537
• แนวคิดผู้นามาจากการเลือกตั้งของประชาชน
• การหดตัวของอานาจทหารและข้ าราชประจาภายหลังเหตุการณ์ พฤษภา
35
• นักการเมืองแข่ งขันเชิงนโยบายในการหาเสี ยง
• ข้ อเรียกร้ องให้ มีการเลือกผู้ว่าราชการจังหวัดโดยตรง
การปกครองท้องถิ่นไทย
ยุคการกระจายอานาจตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540
การปฏิรปู ที่หนึ่ ง : การแก้ไขกฎหมายให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
1. ออก พ.ร.บ. เปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็ นเทศบาล พ.ศ. 2542
2. แก้ไข พ.ร.บ. สภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 (ฉบับที่ 3)
โดยเฉพาะโครงสร้างสมาชิกสภา อบต. ให้มาจากการเลือกตัง้ ทัง้ หมด
3. แก้ไข พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
4. แก้ไข พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496
5. ออก พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 ให้มีนายกเมืองพัทยา
มาจากการเลือกตัง้ โดยตรงของประชาชน
การปกครองท้องถิ่นไทย
ยุคการกระจายอานาจตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540
การปฏิรปู ที่สอง: กฎหมายตามรัฐธรรมนูญ
1. พ.ร.บ. กาหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
2. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
3. พ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2542
4. พ.ร.บ.ว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและ
ผูบ้ ริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2542
5. พ.ร.บ. การเลือกตัง้ สมาชิกสภาท้องถิ่นและผูบ้ ริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545
ทิศทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
1. หลักความเป็ นอิสระแก่ทอ้ งถิ่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่าเป็ นหน่ วยงานหลักในการจัดทาบริการ
สาธารณะโดยรัฐมีหน้าที่ส่งเสริมการดาเนิ นการให้มีความอิสระ
2. การกากับดูแลท้องถิ่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องกาหนดมาตรฐานกลาง
3. มีการกาหนดการส่งเสริมและช่วยเหลือให้ อปท. มีความเข้มแข็งในการ
บริหารงาน
ทิศทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
4. โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- การจัดตัง้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษมีโครงสร้างการบริหารที่แตกต่างไป
จากองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นแบบปกติ
5. ได้กาหนดการเข้าชื่ อถอดถอนสมาชิ กสภาท้องถิ่นและผูบ้ ริหารท้องถิ่น
6. ประชาชนในท้องถิ่นมีสิทธิมีส่วนร่วมในการบริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยประชาชนสามารถมีส่วนร่วมในการบริหาร การแสดงความคิดเห็น การออกเสียง
ประชามติ และการตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงาน
7. การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พนักงานส่วนท้องถิ่นเป็ นข้าราชการส่วนท้องถิ่น
ประเภทของ อปท. ในปั จจุบนั
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รูปแบบทัว่ ไป
รูปแบบพิเศษ
อบจ.
เทศบาล
กทม.
อบต.
พัทยา
จานวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท
รูปแบบ
จานวน (แห่ง)
6,617
1,161
อบต.
เทศบาล
- เทศบาลนคร
- เทศบาลเมือง
- เทศบาลตาบล
อบจ.
กทม.
เมืองพัทยา
รวม
22
119
1020
76
1
1
7,854
ความสัมพันธ์ระหว่างภารกิจ
ภารกิจรัฐ









รักษาความสงบเรียบร้อย
ป้องกันประเทศ
การต่างประเทศ
การอานวยความยุติธรรม
การอุตสาหกรรม
การไฟฟ้า การประปา การขนส่ง
การศึกษา
การสาธารณสุข
ศิลปวัฒนธรรม
ภารกิจท้องถิ่น







กาจัดขยะมูลฝอย
รักษาความสะอาด
ให้มีน้าสะอาดหรือการประปา
การตลาด
โรงฆ่าสัตว์
ให้มีและบารุงทางบก ทางน้า
ดูแลรักษาที่สาธารณะ
การกระจายอานาจสู่ทอ้ งถิ่น
ตามรัฐธรรมนูญ2540
•
•
•
•
โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ม. 285)
การเพิ่มอานาจท้องถิ่น (ภารกิจอานาจหน้าที่ (ม. 284)
การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่น (ม. 284)
การมีส่วนร่วมของประชาชนในองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (ม. 286, ม. 287)
• การจัดให้มีคณะกรรมการบริหารบุคคลส่วนท้องถิ่น
(ม. 288)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สภา ท้องถิ่น
 ส. อบจ.
 ส. อบต.
 ส. เทศบาล
มาจากการเลือกตัง้
ผูบ้ ริหารท้องถิ่น
 นายก อบจ.
 นายก อบต.
 นายกเทศมนตรี
มาจากการเลือกตัง้ ของ
ประชาชนโดยตรง
พนักงานและข้าราชการส่วนท้องถิ่น
การกระจายอานาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน่ วยราชการ
ท้องถิ่น
ผูท้ รงคุณวุฒิ
12 คน
12 คน
12 คน
การจัดทาแผนการกระจายอานาจสู่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กาหนดอานาจหน้าที่ในการจัดระบบ
การบริการสาธารณะ
การจัดสรรสัดส่วนภาษี อากร ระหว่างรัฐ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลาง
ข้าราชการองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด
คณะกรรมการกลาง
พนักงานเทศบาล
คณะกรรมการกลาง
พนักงานส่วนตาบล
คณะกรรมการ
ข้าราชการองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด
คณะกรรมการ
พนักงานเทศบาล
คณะกรรมการ
พนักงานส่วนตาบล
คณะกรรมการ
พนักงานเมืองพัทยา
คณะกรรมการ
ข้าราชการ กทม.
ภารกิจของรัฐ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การป้องกันประเทศ
การรักษาความสงบเรียบร้อย
การต่างประเทศ
การอานวยความยุติธรรม
การพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม
การเงินการคลัง
การพัฒนาอุตสาหกรรม
มิติใหม่การกระจายอานาจ
ความเป็นอิสระ/
การกาหนด
นโยบาย/
การบริ หารจัดการ/
บริ การสาธารณะ
การเพิ่มอานาจ
หน้าที่องค์กร
ปกครองส่วน
ท้องถิ่น
การเงิน
งบประมาณ
ท้องถิ่น
ประสิทธิภาพ
ในการบริ หาร
ท้องถิ่น
ปรับบทบาท
ส่วนราชการ
รายได้
ท้องถิ่น
การมีสว่ นร่วม
ยุทธศาสตร์การบริ หาร อปท.
เพิ่มประสิทธิภาพ
องค์กร อปท.
พัฒนาบุคลากร
การจัดหารายได้
และแสวงหา
ทุน/ทรัพยากร
สมาชิกสภา
ประสิทธิภาพ
การเงิน การคลัง
ผูบ้ ริ หารท้องถิ่น
ภาษี
การประสานงาน
ทางานงานแบบ
สหการ
ความร่วมมือ
จัดบริ การ
ภายใน-ภายนอก
กิจการพาณิชย์
ภายใน อปท.
ปั จจัยความสาเร็จการบริ หาร
ภายนอก อปท.
ผูบ้ ริ หารและสมาชิก
ข้อมูลข่าวสาร
บุคลากร
ศูนย์ทางวิชาการ
ทุน/ทรัพยากร
การประสานความร่วมมือ
รายได้
เครื อข่าย
การมีสว่ นร่วม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2 ชัน้ (Two Tier)
ระดับบน
Upper Tier
1. รับผิดชอบภารกิจภาพรวม ครอบคลุมทัง้ จังหวัด
2. ภารกิจที่ระดับล่างทาไม่ได้
3. ประสานและสนับสนุนระดับล่างให้เกิดการบูรณาการ
ระดับล่าง
Lower Tier
1. ภารกิจเฉพาะพื้นที่ในเขตของตนเอง
2. จัดทาภารกิจตามกฎหมายกาหนด
3. ร้องขอสนับสนุนจากระดับบน
ระดับบน
Upper Tier
อบจ.
ระดับล่าง
Lower Tier
เทศบาลต่าง ๆ
ในจังหวัด
อบต. ต่าง ๆ
ในจังหวัด
โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงสร้างการปกครองท้องถิ่นแบบชัน้ เดียว One
Tier
โครงสร้างการปกครองท้องถิ่นแบบหลายชัน้
Two Tier
Three Tier
ระบบชัน้
3
2
โครงสร้างระบบบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหาร
ส่วนกลาง
Centralization
การบริหาร
ส่วนภูมิภาค
Decontralization
การบริหารราชการ
ส่วนกลาง
การบริหาร
ส่วนท้องถิ่น
Decentralization
การบริหารราชการ
ส่วนท้องถิ่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• พื้นที่บริการสาธารณะ (มีเขตปกครองชัดเจน)
• ประชากรที่เหมาะสมในการให้บริการ
• งบประมาณรายได้ของตนเองอย่างเพียงพอ
• มีอานาจหน้าที่เหมาะสมต่อการให้บริการ
• ฐานะองค์กรเป็ นนิ ติบุคคล (โดยกฎหมาย)
• โครงสร้างรูปแบบการปกครองท้องถิ่น
• การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ (ส่วนกลาง) กับองค์กร
ท้องถิ่น
ปั ญหาอุปสรรค
ในการปกครองท้องถิ่น
ระบบรวมศูนย์อานาจ
การขยายตัวของระบบราชการ
การพึ่งพิงรัฐ
ความสนใจของรัฐบาล
ทิศทาง นโยบายรัฐ
ความรูค้ วามเข้าใจของพลเมืองใน
การปกครองท้องถิ่น
อปท. กับบริบทสิ่งแวดล้อมภายนอก
สิ่ งแวดล้อม
นโยบาย
รัฐ
รัฐบาล
องค์กร
สถาบัน
ชุมชน
การมีส่วนร่วม
สถาบัน
อปท.
ประชาชน
ส่วนราชการ
กลุ่ม
ชุมชน
องค์กร
สิ่งแวดล้อม
ภายนอกและ
โลกาภิวฒ
ั น์
ผูป้ กครอง
ผูถ้ กู ปกครอง
ผูม้ ีอานาจ
ผูไ้ ม่มีอานาจ
ผูก้ าหนดชะตากรรม
พลเมือง (Citizen) VS
ผูร้ อรับชะตากรรม
ประชาชน(People)
ประชาชน
People
•
•
•
•
•
มองสถานะตา่ – สูง
ผูด้ อ้ ย – ผูน้ อ้ ย
คอยรับความช่วยเหลือ
ยอมรับใช้
แสวงหาอุปถัมภ์
พลเมือง
VS
Citizenship
•
•
•
•
•
•
มีศกั ดิ์ศรี
ฐานะเท่าเทียม
ไม่ยอมให้ครอบงา
ไม่ใช่ไพร่
มีส่วนร่วม
รูจ้ กั สิทธิหน้าที่
กาหนดให้ มีการปฏิรูป ในทุกด้ าน
เกิดคาถามว่ าจะเอาอย่ างไรกับการบริหารราชส่ วนท้องถิ่น
รูปแบบและแนวทางการกระจายอานาจด้ านสาธารณสุ ข
ลาดับเหตุการณ์ การกระจายอานาจด้ านสุ ขภาพของไทย
พรบ.กำหนดแผนและ
พรบ.กำหนดแผนและ
ขัน้ ตอนกระจำยอำนำจฯ ฉบับ
ขั
น
้
ตอนกระจำยอ
ำนำจฯ
นโยบายหล
ักประก
ัน
รธน
สุขภาพถ้วนหน้า
๒
แผนกำรกระจำยอำนำจ
ฉบับ ๑
แผนการกระจายอานาจ
ฉบับ ๒
๒๕๕๓
๒๕๔๐
๒๕๔๒
๒๕๔๓
๒๕๔๔
่ งที่ ๑: ๒๕๔๓-๒๕๔๗
ชว
๒๕๔๙
๒๕๕๑
่ งที่ ๒: ๒๕๔๘-๒๕๕๓
ชว
รูปแบบการกระจายอานาจด้านสุขภาพ
 ก่อนมีกฎหมายว่ าการกระจายอานาจ
 เป็ นการกระจายเป็ นเรื่องๆ ตามความสนใจและการแก้ปัญหาเฉพาะหน้ า
 หลังมีกฎหมายว่ าการกระจายอานาจ
 มีกฎหมายกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้ แก่ อปท.
 การถ่ ายโอนภารกิจ
การโอนหน่ วยงาน
การจัดระบบและรู ปแบบการจัดการแบบใหม่
ก่ อนมีกฎหมายว่ าด้ วยการกาหนดแผนฯ
ตัวอย่ างการกระจายอานาจก่ อนมีกฎหมายว่ าด้ วยการกาหนดแผนฯ
• การจัดโครงสร้างส่วนภูมิภาค โดยกระจายอานาจให้ นายแพทย์
สาธารณสุขจังหวัด ในปี 2518
• การจัดสรรงบประมาณหมวด 300 ให้ สสจ.
• การจัดสรรงบประมาณให้องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรชุมชนท้องถิ่น
• การตั้งสถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) พ.ศ. 2535
• การจัดตั้งกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พ.ศ. 2543
• การมอบอานาจให้ผอู ้ ื่นปฏิบตั หิ น้าที่ดา้ นเวชกรรมของแพทย์
่ อ
การกระจายอานาจด้านสุขภาพสูท
้ งถิน
่ ….
 การกระจายอานาจโดยการให้ บทบาทแก่ ราชการส่ วนท้ องถิน่ มีบทบาทในการ
จัดการด้ านอนามัยและการสาธารณสุ ข ตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุ ข พ.ศ. 2535
 นับว่ าเป็ นรู ปแบบการกระจายอานาจทีเ่ ป็ น แบบ Devolution มากทีส่ ุ ด
ภายหลังมีกฎหมายกาหนดแผนฯ
Model 1
การถ่ ายโอนภารกิจให้ อปท.
การกระจายอานาจด้านสุขภาพ
่ นท้องถิน
ให้แก่องค์กรปกครองสว
่
การลงนามระหว่ าง กสธ และ มท. ในการถ่ ายโอนสถานีอนามัย
ข้ อสั งเกต
• เป็ นแนวคิดทีล่ ดบทบาทส่ วนกลาง ให้ ส่วนปลายคือท้ องถิ่น ทาแทน เป็ นแนวคิดทีด่ ตี ามหลัก
ทฤษฎี แต่ บริบทสั งคมไทยยังไม่ เข้ าใจ
• กสธ ในฐานะเจ้ าของงานเดิม เชื่อว่ าท้ องถิ่นยังไม่ พร้ อมทีจ่ ะรับการถ่ ายโอน
• ระบบการจ้ างงาน แบบข้ าราชการ ยังไม่ เอือ้ ให้ การถ่ ายโอนเกิดขึน้ จริง
• การพัฒนาเพือ่ เตรียมความพร้ อมยังไม่ เพียงพอ ทั้งด้ านวิชาการ และระบริหารจัดการ
• การเชื่อมต่ อระบบใหม่ กบั ระบบเดิม ระบบสาธารณสุ ขแบบปัจจุบัน และ ระบบสาธารณสุ ข
ของท้ องถิ่น
แนวทางการพัฒนาต่ อไป
• จะโอนต่ อไปหรือไม่
• หากโอน ระบบสนับสนุนการโอน เป็ นอย่ างไร
• หากไม่ โอน บทบาทของ สอ ต่ อไปเป็ นอย่ างไร
• หากไม่ โอน ท้ องถิ่นจะจัดการงานในบทบาทตนเองอย่ างไร
คณะอนุ
กรรมการเฉพาะกิจเพือ่ จัดทายุทธศาสตร์ การกระจายอานาจให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
LOGO
และจัดระบบความสั มพันธ์ ด้านการมีส่วนร่ วมของประชาชนกับส่ วนราชการ
และระบบการติดตามประเมินผล
สรุปโครงสร้ างของ (ร่ าง) แผนยุทธศาสตร์
การกระจายอานาจให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. ....
บทนา
1
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
2
พระราชบัญญัตกิ าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจฯ พ.ศ. 2542
3
การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ การกระจายอานาจในช่ วงระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา
4
ปัญหาอุปสรรค
5
(ร่ าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
26
การประเมินสถานการณ์ การเปลีย่ นแปลงที่มีผลกระทบต่ อการกระจายอานาจ
รูปแบบการกระจายอานาจ
1
2
3
4
ภารกิจทีส
่ ามารถถายโอนได
ทั
่
้ นที
ภารกิจทีถ
่ ายโอนโดยมี
เงือ
่ นไข
่
ภารกิจในลักษณะรัฐทารวมกั
บ อปท. (Share
่
Function)
ภารกิจที่ อปท. ริเริม
่ ดวยตนเอง
้
ระยะเวลาการกระจายอานาจ
ระยะที่ 1ระยะที่ 2 ปี งบประมาณ พ.ศ.2555-2559
ปี งบประมาณ
พ.ศ. 2555
ภารกิจที่
สามารถถาย
่
โอนให้แก่
อปท. ไดทั
้ นที
โดยไมต
่ ้อง
แก้ไข
กฎหมาย
ระยะแรก
ภารกิจทีต
่ ้อง
แก้ไขกฎหมาย
(ปี งบประมาณ
พ.ศ. 25552556)
ระยะทีส
่ อง
กรณีแกไข
้
กฎหมายแลว
้
(ปี งบประมาณ
พ.ศ. 25572559) เตรียม
ส่วนราชการ ความพรอม
้
เรงแก
ไข
ให้แก่ อปท.
่
้
กฎหมายให้
เพือ
่ รองรับการ
อปท. มีอานาจ ถายโอน
่
มต
ั /ิ2555-2559
อนุ ญาต
ปี งบประมาณ อนุ
พ.ศ.
อปท. ต้องผาน
ภารกิจทีต
่ อง
้
่
ประเมินความ การประเมิน
การพิจารณาการถายโอนภารกิ
จ
่
ดานโครงสร
างพื
น
้ ฐาน
้
้
ดานสั
งคม
้
ดานเศรษฐกิ
จและ
้
สิ่ งแวดลอม
้
กลไกการบริหารแผนการกระจายอานาจฯ ฉบับที่ 3
(พ.ศ. 2555-2559) ไปสู่การปฏิบต
ั ิ
-ก.พ.ร.
การปฏิบต
ั ิ
กลไกระดับ
กลไก
-ก.พ.
จังหวัด
สนั
บ
สนุ
น
-สงป.
กลไกของ
กลไกกากับดูแล และ
คณะอนุ กรรม
ส่วนราชการ
การ
กากับการดาเนินงาน
ทีถ
่ ายโอน
อานวยการ
่
- สตง.
- สถ. - สกถ.
การกระจาย
- คณะอนุ กรรมการฯ คณะ
อานาจให้แก่
ตางๆ
อปท. ระดับ
่
ร่ าง แผนกระจายอานาจด้ านสุ ขภาพ ฉบับที่ ๓
อ้ างอิงจาก ข้ อมูลของ
สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจ
ให้ แก่องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ยุทธศาสตร์ การกระจายอานาจ
ตามร่ างแผนการกระจายอานาจ ฉบับที่ ๓
• ส่ งเสริมให้ อปท. มีอสิ ระและเป็ นหน่ วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะ
ที่มีประสิ ทธิภาพ
• การเสริมสร้ างความเข้ มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท.
• การถ่ ายโอนบุ คลากรจากภาครั ฐให้ แก่ อปท. และการพัฒนาการบริ หาร
ทรัพยากรบุคลากรของ อปท. เพือ่ รองรับการกระจายอานาจ
• ส่ งเสริ ม ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า ง อปท. ด้ ว ยกั น เอง อปท. กั บ ภาครั ฐ
รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
ยุทธศาสตร์ การกระจายอานาจ
ตามร่ างแผนการกระจายอานาจ ฉบับที่ ๓ (ต่ อ)
• เสริ มสร้าง และสนับสนุ นการมีส่วนร่ วมของประชาชน ภาคประชาสังคม
ชุมชน และภาคเอกชน
• ระบบติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการกระจายอานาจให้แก่ อปท.
• การแก้ไขปรับปรุ งกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการให้บริ การสาธารณะ
ของ อปท.
ร่ างแผนปฏิบัติการฯ (ฉบับที่ ๓)
การถ่ ายโอนภารกิจของกระทรวงสาธารณสุ ข
ให้ แก่องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่
วงจรสุ ขภาพ
ระบบการสร้ างเสริมสุ ขภาพ
การรักษาพยาบาล
การป้ องกันโรค
การฟื้ นฟูสภาพ
วงจรสุ ขภาพ (ต่ อ)
• วงจรสุ ขภาพด้ านปฐมภูมิให้ อปท. รับถ่ ายโอนไปทั้งหมด
• วงจรสุ ข ภาพด้ า นทุ ติ ย ภู มิ ใ ห้ อปท. รั บ ถ่ า ยโอนตามความเหมาะสม
ความจาเป็ น และความพร้ อม
• ให้ มีคณะอนุกรรมการคณะหนึ่งทาหน้ าที่ศึกษารายละเอียดวงจรสุ ขภาพ
และสมควรถ่ ายโอนกิจกรรมใดให้ กบั อปท. ให้ แล้ วเสร็จภายใน ๖ เดือน
รูปแบบการถ่ ายโอน
ถ่ า ยโอน รพ.สต. หรื อ รพช. หรื อ รพท.
แบบแยกส่ วน
รู ปแบบ
การถ่ ายโอน
ร่ วมกลุ่ม รพ.สต. ถ่ายโอนให้ อบจ.
ถ่ า ยโอน รพ.สต. และ รพช. หรื อ รพท.
เป็ นพวงบริ การ
รู ปแบบอื่ น ๆ ที่ ส อดคล้อ งกับ หลัก การ
กระจายอานาจ
กลไกการถ่ ายโอน
คณะกรรมการส่ งเสริมการกระจายอานาจด้ านสุ ขภาพ
ประธาน
(ผู้ทรงคุณวุฒิที่ กกถ. แต่ งตั้ง)
กรรมการ
จากหน่ วยงาน
ที่เกีย่ วข้ อง
ผู้แทน สธ.
เลขานุการ
ผู้แทน สกถ.
ร่ างแผนปฏิบัตกิ ารกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจฯ (ฉบับที่ ๓) ด้ านการ
ถ่ ายโอนบุคลากรและการพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์ กรปกครอง
ส่ วนท้ องถิ่น
แนวทางการถ่ ายโอนบุคลากร
๑. ยึดหลัก “งานไป เงินไป ตาแหน่ งไป บุคลากรสมัครใจ”
๒. ให้ ข้าราชการทีไ่ ม่ สมัครใจถ่ ายโอนอยู่ช่วยราชการได้ ไม่ เกิน ๒ ปี
๓. สร้ างหลักประกันความก้าวหน้ าและสิ ทธิประโยชน์ ของบุคลากรทีถ่ ่ ายโอน
๔. ส่ วนราชการที่ ถ่ า ยโอนภารกิ จ ต้ อ งมี ส่ วนร่ วมในการฝึ กอบรมเพื่ อ เสริ ม สร้ าง
สมรรถนะให้ แก่บุคลากรของ อปท. ทีถ่ ่ ายโอน
๕. จัดตั้งศูนย์ ประสานการถ่ ายโอนบุคลากรขึน้ ใน สกถ.
การถ่ ายโอนบุคลากรหรืออัตรากาลังให้ อปท.
๑. การวิเคราะห์ อัตรากาลังและตาแหน่ งของหน่ วยงานที่จะต้ องถ่ ายโอน
ให้ แก่ อปท. ตามภารกิจที่ถ่ายโอน
วิธีการและขั้นตอน
๑. ศึกษาแผนปฏิบัตกิ ารด้ านการถ่ ายโอนภารกิจ
๒ วิเคราะห์ กรอบอัตรากาลังและตาแหน่ งของบุคลากรของหน่ วยงานซึ่ ง
ปฏิบัติหน้ าที่ตามภารกิจต้ องถ่ ายโอน
การถ่ ายโอนบุคลากรหรืออัตรากาลังให้ อปท. (ต่ อ)
๒. การสอบถามความสมัครใจของบุคลากรซึ่งปฏิบัติหน้ าที่อยู่ ในตาแหน่ ง
ทีจ่ ะต้ องถ่ ายโอนและบุคลากรในสั งกัดทีป่ ระสงค์ จะถ่ ายโอน
วิธีการและขั้นตอน
๑. จัดประชุมชี้แจง ภายใน ๖๐ วัน นับแต่ ได้ วเิ คราะห์ อตั รากาลัง แ ล ะ
ตาแหน่ งที่จะต้ องถ่ ายโอน
๒. สอบถามความสมัครใจ ภายใน ๓๐ วัน หลังจากประชุมชี้แจง
การถ่ ายโอนบุคลากรหรืออัตรากาลังให้ อปท. (ต่ อ)
๓. การเปรี ยบเทียบตาแหน่ งและระดับของบุคลากรที่สมัครใจโอนไปสั งกัด
อปท. เพือ่ ปฏิบัตหิ น้ าที่ตามภารกิจที่ถ่ายโอน
วิธีการและขั้นตอน
ให้ ดาเนินการเปรียบเทียบตาแหน่ ง ระดับและอัตราเงินเดือน ของบุคลากร
ที่จะถ่ ายโอนให้ สอดคล้ องกับระบบบริ หารงานบุคคลของ อปท. ในสายงาน
เดียวกันหรือสายงานใกล้ เคียงกัน
การถ่ ายโอนบุคลากรหรืออัตรากาลังให้ อปท. (ต่ อ)
๔. การจัดทาบัญชีอตั ราและตาแหน่ งที่จะถ่ ายโอนให้ แก่ อปท.
วิธีการและขั้นตอน
๑. รวบรวมรายชื่อบุคลากรที่สมัครใจถ่ ายโอนส่ งมอบให้ แก่
อปท. ที่จะ
รับการการถ่ ายโอนและส่ งให้ หน่ วยงานที่เกีย่ วข้ อง ประกอบด้ วย
๑.๑ ตาแหน่ งและจานวนอัตราของบุคลากร ซึ่ง อปท. ที่รับโอนควรต้ องมีไว้
เพือ่ ปฏิบัตภิ ารกิจถ่ ายโอน
(ต่ อ)
๑.๒ จานวนรายชื่อ และตาแหน่ ง อัตราเงินเดือนของบุคลากรที่สมัครใจ
ตาแหน่ ง และระดับเปรี ยบเทียบกับตาแหน่ งในสายงานของ อปท. และ
สถานภาพการเป็ นสมาชิก กบข.
๑.๓ จ านวนรายชื่ อ ของบุ ค ลากรที่ ห น่ ว ยงานส่ งมาช่ วยราชการใน
ระหว่ างที่ อปท. กาลังสรรหาอัตรากาลังมาทดแทน
๑.๔ จานวนรายชื่อของบุคลากรทีป่ ระสงค์ จะมาช่ วยราชการเพือ่ รอการ
ตัดสิ นใจ
๑.๕ จานวนและตาแหน่ งของบุคลากรที่ อปท. จะต้ องจัดหาเพิม่ เติม
๑.๖ อืน่ ๆ
ระยะเวลา ภายใน ๒ สั ป ดาห์ นั บ แต่ วั น ที่ ถ ามความสมั ค รใจและ
๔. การจัดทาบัญชีอตั ราและตาแหน่ งที่จะถ่ ายโอนให้ แก่ อปท. (ต่ อ)
๒. ส่ งสาเนาบัญชีอตั รากาลังดังข้ างต้ น ให้ กพ . สงป . สถถ และ
ดาเนินการในส่ วนที่เกีย่ วข้ อง
ระยะเวลา ภายใน ๑ สั ปดาห์ นับแต่ ทาบัญชีอตั รากาลังเสร็จ
ส ถ เ พื่ อ
การถ่ ายโอนบุคลากรหรืออัตรากาลังให้ อปท. (ต่ อ)
๕.
๖.
การตัดโอนตาแหน่ งและอัตราเงินเดือนให้ แก่ อปท.
ระยะเวลา ระยะเวลา ภายใน ๒ สั ปดาห์ นับแต่ วันที่หน่ วยงานที่ถ่ายโอนกับ อปท. ที่รับโอนได้
ทาความตกลงกัน
จัดหาอัตรากาลังให้ แก่ อปท. ที่จาเป็ นต้ องมีบุคลากรสาหรั บการปฏิบัติหน้ าที่ตามภารกิจที่ถ่าย
โอนหรือเพือ่ ทดแทนบุคลากรทีไ่ ม่ ถ่ายโอน
วิธีการและขั้นตอน
๑. ศึกษาปริมาณงานที่ อปท. ได้ รับการถ่ ายโอนและวิเคราะห์ กรอบอัตรากาลัง
๒. รวบรวมข้ อมูลเกีย่ วกับจานวนและตาแหน่ งของบุคลากรของ อปท. ที่
จ ะ ต้ อ ง
ปฏิบัติหน้ าที่ แต่ ไม่ ได้ รับการถ่ ายโอน
๓ ขอรับการจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลผ่ าน กกถ.
๔. จัดสรรเงินอุดหนุนให้ แก่ อปท. ตามมติ กกถ.
Model 2
การสร้ างการมีส่วนร่ วมระหว่ างหน่ วยงานในพืน้ ที่
กำรบริหำรจัดกำรระบบสุขภำพในระดับท้องถิ่น
กองทุนหลักประกันสุขภำพ
ระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่
(กองทุน อบต./เทศบำล)
มาตรา ๔๗ ( พรบ.หลักประกันสุขภาพฯ)
“เพื่อสร้ำงหลักประกันสุขภำพให้กบั บุคคลในพื้นที่ โดย
ส่งเสริมกระบวนกำรมีส่วนร่วมตำมควำมพร้อม ควำม
เหมำะสม และควำมต้องกำรของประชำชนในท้องถิ่น ให้
คณะกรรมกำรสนับสนุนและประสำนกับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อให้องค์กรดังกล่ำวเป็ นผู้
ดำเนินงำน และบริหำรจัดกำรระบบหลักประกันสุขภำพใน
ระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่โดยให้ได้รบั ค่ำใช้จ่ำยจำก กองทุน”
สรุปขั้นตอนการทางานของ...กองทุน


ประชุม
กรรมการ


รายงานผล
(กิจกรรม/บัญชี)
จัดทาแผนงาน
โครงการ
จัดทาระเบียบ
กองทุน
ติดตาม
การดาเนินงาน


แม่ และเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พกิ าร ผู้ประกอบอาชีพเสี่ ยง โรคเรื้อรัง
ดาเนินงาน
ตามแผน
ภาพรวมของ กองทุนหลักประกันสุ ขภาพ
• เป็ นแนวคิดการทางานร่ วมกันโดยไม่ ได้ คานึงถึงโครงสร้ างตามระบบ
ปกติของหน่ วยงาน
• มีความหลากหลายในการดาเนินงานที่หลากหลายตามบริบทพืน้ ที่
• มีผลสาเร็จที่แตกต่ างกันไปในพืน้ ที่
• มีบทเรียนในความไม่ สาเร็จที่หลากหลาย
• เป็ นการทดลองของ สปสช. เพือ่ ก้ าวต่ อไปสู่ ระบบการจัดซื้อบริการแบบ
เต็มรู ปแบบ มากกว่ าภารกิจ การสร้ างเสริมสุ ขภาพและป้องกันโรค
การส่ งเสริมสุ ขภาพและป้องกันโรคในชุมชน
สธ.
ท้ องถิน่
ระยะส่ งไม้ ผลัด
การส่ งเสริมสุ ขภาพและป้องกันโรคในชุมชน
สธ.
ท้ องถิน่
ระยะวิง่ คู่กนั ไป
การส่ งเสริมสุ ขภาพและป้องกันโรคในชุมชน
สธ.
ท้ องถิน่
ระยะปล่อยไม้
Model 3
การจัดระบบการจัดการในระดับพืน้ ทีร่ ู ปแบบใหม่
การปฏิรป
ู ระบบบริการสุขภาพ
ก่อน-UC ก่อน 2544
integrated model
หล ัง-UC 2544-2554
Purchaser-provider split
สธ
ผู้จัดบริการ
ผู้รับบริการ
ผู้ซื้อบริการ
ผู้จัดบริการ
Next step
Area health
2555
Board
ผู้รับบริการ
ผู้จัดบริการ
ผู้ซื้อบริการ
ผู้รับบริการ
Seamless health service network
ื่ มโยงบริการ 3 ระด ับ
• เชอ
(ปฐมภูม ิ ทุตย
ิ ภูม ิ ตติยภูม)ิ ตามสภาพ
ภูมศ
ิ าสตร์ และคมนาคม
• 12 พวงบริการ โดยแต่ละพวงบริการ
ครอบคลุม 4-8 จ ังหว ัด ปชก 4-6 ล้าน
คน มีกรรมการบริหารเครือข่าย 1 ชุด
ภาคกลาง 3 เครือข่าย
ภาคใต้ 2 เครือข่าย
นครชัยบุรินทร์
ภาคอีสาน 4 เครือข่าย
ภาคเหนือ 3 เครือข่าย
ระดับประเทศ
National Health
Authority
Regulator
Provider
Purchaser
ระดับเขต
Regional level
Regulator
Provider
คปสข
Purchaser
อปสข
ระดับจังหวัด
Provincial Level
สสจ.
เขตสุ ขภาพ
• Service Plan
– Share recourses: Human Resources, Financing, Investment
• Area Health Board
– Decentralisation
– Delegation
– Participation
– Area Health Responsibility
Literature Review
Canada Health System
Canadian Health Sector
Public sector
Federal Gov.
Provincial/Territorial
Gov.
Local/Municipal
Gov.
Regional Agencies
Canadian Health Sector
Private sector
For-Profit Entities
(Corporate and Small
Business)
Non-Profit Entities
Individual/Family
(Charity/Community and
Voluntary)
ภายหลังการยึดอานาจของ คสช.
แนวคิดเขตสุ ขภาพ ๒๕๕๗
ยุทธศาสตร์ และแนวทางกระจายอานาจด้ านสุ ขภาพ
Theory: A window of opportunity
Kingdon (1984) Therory of policy window
• Problem stream – What the problem is
• Policy stream – How to solve the problem
• Political stream – Action to address problem
•The three streams converging create the
window
•Unless all three streams come together
at the same time then the window
remains closed!
Windows of opportunity
Problem
Policy
Politic
stream
stream
stream
• ปัญหา
• เห็นข้อขัดข้อง
• นโยบาย
• กาหนดทางแก้ไข
• การเมือง
• สร้างความเป็ นไปได้
ปัญหาอุปสรรคในการกระจายอานาจด้ านสุ ขภาพ
•
•
•
•
•
•
ความไม่ ชัดเจนของทิศทางการปฏิรูประบบสุ ขภาพ
ทิศทางของหลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า และ อนาคต
ระบบบริการสุ ขภาพกับการเชื่อมต่ อ
บทบาทของ อปท ด้ านการสาธารณสุ ข
การยอมรับของคนในระบบสาธารณสุ ข
ความเข้ าใจของประชาชนในระบบสาธารณสุ ข
บริบทสิ่งแวดล้อมภายนอก
สิ่ งแวดล้อม
นโยบาย
รัฐ
รัฐบาล
องค์กร
สถาบัน
ชุมชน
การมีส่วนร่วม
สถาบัน
อปท.
ประชาชน
ส่วนราชการ
กลุ่ม
ชุมชน
องค์กร
สิ่งแวดล้อม
ภายนอกและ
โลกาภิวฒ
ั น์
การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดจาก อินเทอร์ เน็ต
ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
• การกระจายอานาจด้ านสาธารณสุ ขจาเป็ นต้ องสอดคล้ องกับการกระจาย
อานาจของการปกครองท้ องถิ่น
• ระบบบริการสาธารณสุ ขมีหลากหลายระดับ บริการในภารกิจกลาง
อาจจะจาเป็ นต้ องรวมศูนย์ บริการระดับพืน้ ทีม่ ีความจาเป็ นต้ องกระจาย
• การสาธารณสุ ขและการอนามัย จาเป็ นต้ องกระจายให้ พืน้ ทีร่ ับผิดชอบ
และสร้ างความเข้ มแข็งใน อปท ดาเนินการเอง
สรุป
• การกระจายอานาจด้ านสุ ขภาพ ต้ องเกิดขึน้ จริง และไม่ ควรรีรอ และ
ควรเสริมพลังอานาจให้ อปท ได้ เข้ ามามีบทบาทในการจัดการบริการ
สุ ขภาพขั้นพืน้ ฐานอย่ างเต็มตัวและ กสธ. ควรลดบทบาทมาทาหน้ าที่ที่
จาเป็ นเท่ านั้น
• ควรใช้ รูปแบบการเสริมพลังอานาจ แทนการกระจายอานาจ