ทิศทางการกระจายอำนาจการคลัง

Download Report

Transcript ทิศทางการกระจายอำนาจการคลัง

ทิศทางการกระจายอานาจการคลัง
่
สู อ
่ งค ์กรปกครองส่วนท้องถินของ
ประเทศไทย
รศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา
คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
26 เมษายน2554
หัวข ้อการนาเสนอ
 แนวคิดทีม
่ าของการกระจายอานาจการคลังฯ
 การกระจายอานาจการคลังกรณีของประเทศ
ไทย
 ปั ญหาการกระจายอานาจฯ การคลัง ทีผ
่ า่ นมา
 แนวทางการพัฒนาการกระจายอานาจการ
คลังฯ ของไทย
2
การกระจายอานาจการคลังเป็ นปรากฎการณ์ของ
่
ประเทศต่างๆ ทัวโลก
 ความหมายทีแ
่ ท ้จริง
 การเพิม
่ อานาจในการจัดการทางการคลัง และ
่ ้องถิน
ความรับผิดชอบตนเองไปสูท
่ มากขึน
้ จึง
ครอบคลุมทัง้
 การวางแผน งบประมาณ ด ้านรายรับ- รายจ่าย
่ การจัดซอ
ื้ จัดจ ้าง การบัญช ี การเงิน
 การบริหารทางการเงิน การคลัง เชน
ต่างๆ
ิ กับประชาชนมาก
 ทาให ้ภาครัฐมีความใกล ้ชด
ขึน
้
 โดยเฉพาการให ้บริการสาธารณะจะย ้ายจากรัฐบาล
3
ิ และรู ้ความต ้องการของ
ไปสู่ อปท. ทีม
่ ค
ี วามใกล ้ชด
ประชาชนในพืน
้ ทีม
่ ากกว่า
การกระจายอานาจฯ การคลังทาให ้ อปท. ต ้อง
มีฐานรายได ้ และความสามารถในการจัดการ
ของตนเองมากขึน้
 การค ้นหาเครือ
่ งมือทางการคลังที่
4
เป็ นของ อปท. เพือ
่ สนับสนุนการทา
หน ้าทีข
่ อง อปท. มากขึน
้
 การรักษาความเป็ นอิสระทางการ
คลังและฐานะรายได ้ของตนเอง เป็ น
ิ ธิผลการทา
สงิ่ สาคัญในการมีประสท
หน ้าทีข
่ อง อปท.
ข ้อสนับสนุ นการกระจายอานาจการคลัง
ฯ
Source: Joumard and Kongsrud, “Fiscal Relations Across Government Levels” ECO/WKP(2003)29
ิ ธิผลในการตอบสนองความต ้องการ
 ประสท
5
ประชาชนได ้ดีกว่ารัฐบาล
่ ยสง่ เสริมความรับผิดรับชอบระหว่างประชาชน
 ชว
กับผู ้บริหาร อปท.
่ เสริมการสร ้างนวัตกรรมใหม่ๆ ในการให ้บริการ
 สง
สาธารณะของ อปท. ทีแ
่ ตกต่างกันระหว่าง
อปท.
ิ ธิภาพ ลดต ้นทุนในการให ้บริการ
 มีประสท
สาธารณะ
่ นร่วมของประชาชนใน
 กระตุ ้นการสร ้างความมีสว
ข ้อแย ้งการกระจายอานาจฯ การคลัง
 เกิดความไม่เท่าเทียมในการพัฒนาพืน
้ ที่
ระหว่าง อปท. ด ้วยกันเอง
่ งทางให ้เกิดการทุจริตได ้ง่ายหากไม่ม ี
 เป็ นชอ
การพัฒนาระบบติดตาม ตรวจสอบทีด
่ ี
้
 ความซ้าซอนกั
บการทาหน ้าทีข
่ องหน่วยงาน
รัฐบาล
 เกิดการแข่งขันกันระหว่าง อปท. จนไม่
ิ ธิภาพ
สามารถทาหน ้าทีไ่ ด ้อย่างมีประสท
 Economies of Scales การให ้บริการสาธารณะ
6
หัวข ้อการนาเสนอ
 แนวคิดทีม
่ าของการกระจายอานาจการคลังฯ
 การกระจายอานาจการคลังกรณีของประเทศ
ไทย
 ปั ญหาการกระจายอานาจฯ การคลัง ทีผ
่ า่ นมา
 แนวทางการพัฒนาการกระจายอานาจการ
คลังฯ ของไทย
7
่ งค์กร
เจตนารมณ์ของการกระจายอานาจสูอ
ปกครองสว่ นท ้องถิน
่
 เป็ นการช่วยแบ่งเบาภาระการให ้บริการ
สาธารณะของร ัฐบาล
่ ความเป็ นอิสระ
 องค ์กรปกครองส่วนท ้องถินมี
่
และพึงตนเองทางการคลั
งได ้
 สร ้างความร ับผิด (Accountability) ระหว่าง
่
ผูบ้ ริหารและประชาชนในท ้องถินมากขึ
น้
 ตอบสนองความต ้องการของประชาชนได ้ดีขน
ึ้
11
่ งค์กร
เจตนารมณ์ของการกระจายอานาจสูอ
ปกครองสว่ นท ้องถิน
่
 ยอมร ับในความหลากหลายในศักยภาพ
เศรษฐกิจของ อปท.
 คากหวังช่วยเสริมสร ้างประสิทธิภาพในการ
ให ้บริการสาธารณะและแก ้ไขปัญหา
ประชาชน
่ ้องมีความชดั เจนใน
 เป็ นเหตุผลสาคัญทีต
่
การแบ่งหน้าทีและงบประมาณระหว่
าง
ร ัฐบาลกับ อปท.
12
เจตนารมย์การกระจายอานาจการคลังฯ
 เสริมความเข ้มแข็งระบบตัวแทนและการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย
่
 เพิมประสิ
ทธิภาพของภาคร ัฐในการให ้บริการ
สาธารณะและพัฒนาคุณภาพชีวต
ิ และสวัสดิการของ
ประชาชน
 สร ้างความร ับผิดร ับชอบและการตอบสนองของ
่ บความต ้องการของประชาชนใน
ผูบ้ ริหารท ้องถินกั
้ ที
่ มี
่ มากกว่าร ัฐบาล
พืนที
 ช่วยแก ้ไขความล ้มเหลวของภาคร ัฐในการให ้บริการ
14
สาธารณะแก่ประชาชน
แนวทางการกระจายอานาจด ้านการ
คลังฯ ของประเทศไทย
 มีกฎหมายระบุอานาจหน ้าที่ และขนาดรายรับที่
ั เจน
เป็ นเป้ าหมายชด
 มีแผนปฏิบต
ั ก
ิ ารทีร่ ะบุวธิ ก
ี ารอย่างละเอียด
ภายใต ้แผนต่างๆ ทีก
่ าหนดนัน
้ ทาให ้เกิดผลทางการคลัง
1.การแบ่งอานาจหน ้าทีร่ ะหว่างรัฐบาลกับ อปท.
่ ด ้าน
• รัฐบาลทาประโยชน์สาธารณะระดับชาติ เชน
ด ้านการต่างประเทศ ฯลฯ
2.การเพิม
่ อานาจทางการคลังของ อปท.
ั เจนขึน
• ความเป็ นเจ ้าของรายได ้ของ อปท. ทีช
่ ด
้
15
หลักการกาหนดรายจ่าย Expenditure
Assignment
Responsibility assignment หลักการพืน
้ ฐานทีต
่ ้องราลึก
เสมอคือ
่
“เงินตามงาน” “finance follows function” ทีใช้
่
เป็ นหลักในการแบ่งภารกิจหน้าทีระหว่
างร ัฐบาลและ
้
อปท. รวมทังระหว่
าง อปท. ด้วยกันเอง
Allocation efficiency คือการทาให ้การทาหน ้าทีข
่ อง
ิ ธิภาพมากทีส
อปท. มีประสท
่ ด
ุ และตรงความต ้องการ
ของประชาชนมากทีส
่ ด
ุ
16
่
หลักเกณฑ ์การจัดสรรทีมี
ประสิทธิภาพ
 Subsidiary: การจัดแบ่งหน ้าทีท
่ ม
ี่ งุ่ ให ้แก่ อปท. ที่
ิ ธิภาพ ประสท
ิ ธิผลใน
เล็กทีส
่ ด
ุ และมีประสท
การกทาหน ้าทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ก่อน เพราะมีความ
ิ ประชาชนมากทีส
ใกล ้ชด
่ ด
ุ
 หน ้าทีท
่ ถ
ี่ า่ ยโอนควรสามารถจากัดผลประโยชน์
อยูใ่ นเขตพืน
้ ทีข
่ อง อปท. นัน
้ มากทีส
่ ด
ุ
 หน ้าทีท
่ ถ
ี่ า่ ยโอนควรมีขนาดของการจัดการทีด
่ ี
ทีส
่ ด
ุ (Economies of Scale) ในเขตพืน
้ ทีข
่ อง
อปท. นัน
้ ๆ มากทีส
่ ด
ุ
 หน ้าทีท
่ ถ
ี่ า่ ยโอนควรให ้อปท. ควรมี
ความสามารถทางการคลังทีส
่ ามารถทาให ้การ
ให ้บริการสาธารณะสามารถทาได ้อย่างเท่า
17
เทียม
่
หลักเกณฑ ์การจัดสรรทีมี
ประสิทธิภาพ (ต่อ)
่ านการร ักษาเสถียรภาพ
 เก็บร ักษาหน้าทีด้
เศรษฐกิจโดยรวม และการส่งเสริมการ
ขยายตัวเศรษฐกิจให้แก่ร ัฐบาล
 มุ่งการสร ้าง Performance Orientation: ที่
ทาให ้การทาหน ้าทีข
่ อง อปท. ต ้องรับการ
ประเมินตามเป้ าหมายของมาตรฐานการ
ให ้บริการทีด
่ ี
 ส่งเสริมให้เกิดการความยืดหยุ่นในทาหน้าที่
่
ร่วมกันของ อปท. ทีจะช่
วยลดความขัดแย้ง
ระหว่าง อปท. ในการทาหน้าที่
Intergovernmental Flexibility:
18
่
หลักเกณฑ ์การจัดสรรทีมี
ประสิทธิภาพ (ต่อ)
 มุ่งให้เกิดความร ับผิดชอบต่อการลงทุนและดู แล
้
ร ักษาในโครงสร ้างพืนฐานของ
อปท.
Responsibilities for capital.
 ต้องมีความเท่าเทียมในการให้บริการสาธารณะ
้ ่ The equitable
ระหว่าง อปท. ในทุกๆ พืนที
provision of the public services to the citizens
19
แนวทางการกระจายอานาจทางการคลังฯ ที่
คาดหวัง (1)
1. มุง
่ ปรับปรุงพัฒนารายได ้ของ อปท. ทีจ
่ ัดเก็บเอง
เป็ นสาคัญ ทีใ่ ห ้ความสาคัญกับการขยายฐาน
ี ภาษี การกาหนดอัตราภาษี การ
ภาษี หรือผู ้เสย
ิ ธิภาพการจัดเก็บภาษี ทเี่ หมาะสมกับ
เพิม
่ ประสท
แต่ละประเภท อปท. มีความโปร่งใสในการ
จัดเก็บภาษี การเพิม
่ ภาษี หรือรายได ้ประเภทใหม่
ทีส
่ อดคล ้องกับเศรษฐกิจ อปท. และเพิม
่ รายได ้
รูปแบบอืน
่ ๆ ทีก
่ ว ้างขวางขึน
้
2. การจัดสรรรายได ้ให ้แก่ อปท. ต ้องพิจารณา
ปริมาณรายได ้ทีส
่ อดคล ้องกับการประมาณการ
ค่าใชจ่้ ายของภารกิจที่ อปท. ได ้กาหนดตาม
22
กฎหมาย
แนวทางการกระจายอานาจทางการคลัง
ฯ ทีค
่ าดหวัง (2)
4. การจัดสรรภาษี อากรทีร่ ัฐจัดสรรหรือจัดเก็บเพิม
่ ให ้
อปท. ต ้องคานึงถึง
 แหล่งกาเนิดของภาษี
ภารกิจทีร่ ับผิดชอบ (เพิม
่ ขึน
้ ) ของ อปท.
ั ยภาพการหารายได ้ของตนเอง
 กระตุ ้นให ้ อปท. พัฒนาศก
มากขึน
้

5.
การจัดสรรเงินอุดหนุนให ้แก่ อปท. ต ้องคานึงถึง
วัตถุประสงค์ในการจัดสรรเป็ นสาคัญ มากกว่าการคิด
เพียงแค่จานวนทีจ
่ ัดสรร
ั ยภาพทางรายได ้ให ้แก่ อปท. ให ้พึง่ ตนเอง
 เสริมสร ้างศก
23
ได ้ในระยะยาว
 ความเท่าเทียมทางการคลังระหว่างประเภท อปท.
 ความเท่าเทียมทางการคลังระหว่าง อปท. ประเภท
แนวทางการกระจายอานาจทางการคลัง
ฯ ทีค
่ าดหวัง (3)
6. ต ้องมีการทบทวนการจัดสรรรายได ้ทีใ่ ห ้แก่
อปท. อยูอ
่ ย่างสมา่ เสมอ เพือ
่ ให ้ทีม
่ าของรายได ้
ปรับตัวได ้ตามภาระรายจ่ายทีเ่ ปลีย
่ นแปลง
7. ต ้องมีการเสริมสร ้างหลักเกณฑ์วน
ิ ัยและ
ิ ธิภาพในการจัดการ การบริหารการเงิน
ประสท
การคลัง ของ อปท. อาทิ การพัฒนาระบบบัญช ี
การเงิน การงบประมาณ ให ้ทันสมัย
24
รูปแบบการกระจายอานาจการคลังฯ
 รูปแบบการแบ่งรายร ับ (Revenue Sharing) เป็ นรูปการกระจายอานาจ
การคลังฯ แบบเล็กน้อยเท่านั้น
 การแบ่งรายได ้ Shared taxes
 เงินอุดหนุ น Grants
่ เพียงเล็กน้อย “minor “ local taxes
 จัดเก็บเองทีมี
 รูปแบบการกาหนดรายร ับ เป็ นรูปการกระจายอานาจการคลังฯ แบบที ่
เข้มข้น
 รายได ้จากการจัดเก็บเองมากเพียงพอ (autonomy)
 การแบ่งรายได ้ Shared taxes
 เงินอุดหนุ น Grants
 ค่าธรรมเนี ยม User charges
 อานาจในการกู ้ยืม Borrowing Autonomy
25
การกาหนดรายร ับให ้แก่ อปท.
(Re) Assignment of Local Revenue
29
รายได ้ของ อปท.
1.
2.
3.
4.
5.
30
ทาไมจึงต ้องการรายได ้ของ อปท. เอง?
การแบ่งรายได ้ระหว่างร ัฐบาลกับ อปท. ทา
อย่างไร
่ ้แก่ อปท.
รูปแบบการแบ่งรายได ้ของร ัฐบาลทีให
หลักเกณฑ ์การการประเมินการเป็ นรายได ้ของ
อปท.
่
ประเภทรายได ้ทีเหมาะสมของ
อปท.
1. ทาไมจึงต ้องการรายได ้ของ อปท. เอง?
่ อในการทางเลือกของการเมืองระดับท ้องถินในการ
่
 เป็ นเครืองมื
่
บริหารทร ัพยากรท ้องถิน
 ประสิทธิภาพในการจัดสรร Allocative efficiency:
่
้ ่
 การเลือกทีสะท
้อนความต ้องการของพืนที
่ ้จริงในการให ้บริการสาธารณะ
 สะท ้อนต ้นทุนทีแท
 ‘Fiscal Federalism’, subsidiary
 ทฤษฎีการเลือกสาธารณะ Public Choice theory
่
 สร ้างความร ับผิดร ับชอบของท ้องถินLocal
accountability
่
 สามารถใช ้ภาษีท ้องถินในการดึ
งดูดการลงทุนสูพ
่ นที
ื ้ ่ (แมไ้ ม่ใช่
31
้
ปัจจัยทังหมด)?
แต่ปัญหา:
 ฐานะภาษีทดี
ี่ และความสามารถจ่ายภาษีสว่ นใหญ่
เป็ นของร ัฐบาล:
 สะดวกในการจัดการ administrative convenience
 เท่าเทียมระหว่างผูเ้ สียภาษี equity between
taxpayers
 มีความเป็ นกลาง neutrality
 อปท. มีเพียงฐานภาษีทแคบ
ี่
และไม่คอ
่ ยมี
32
้ ่ บางพืนที
้ ่
ประสิทธิภาพ ไม่เท่าเทียมระหว่างพืนที
ไม่มศ
ี ก
ั ยภาพทางภาษี
 การใช ้รายได ้ภาษีแบ่ง/ และเงินอุดหนุ นหรือเงินโอน
จึงจาเป็ น
ดังนัน
้ :
 ต ้องมีการกาหนดแบ่งประเภทรายได ้ทีเ่ หมาะสม
ระหว่าง รัฐบาล กับ อปท.
ั ยภาพการบริหารจัดการภาษี
 ต ้องมีการพัฒนาเพิม
่ ศก
ของ อปท.
 จาเป็ นต ้องคานึงถึง ความคุ ้มค่าในการจัดเก็บภาษี
ิ ธิภาพ และสร ้าง
จากประชาชนทีอ
่ าจไม่มป
ี ระสท
ความไม่เท่าเทียมมากขึน
้
 ต ้องยอมรับว่าภายใต ้การกระจายอานาจการคลังจะ
ปรากฏว่าบางพืน
้ ทีจ
่ ะมีความจาเป็ นทีต
่ ้องขึน
้ กับการ
สนับสนุนการอุดหนุนทางการคลังจากรัฐบาล
33
 จึงทาให ้การออกแบบระบบเงินอุดหนุนของรัฐบาล
2. การกาหนดแบ่งรายร ับระหว่างร ัฐบาล
กับ อปท.
 รายรับต ้อง match กับหน้าที่
 ขนาดรายร ับ
 ประเภทของรายร ับ
 ไม่มส
ี ต
ู รสาเร็จในการจัดแบ่งประเภทรายร ับในแต่ละประเทศ
่ ้ายคลึงกัน
แต่มก
ี รอบวิธก
ี ารทีคล
่ ดเก็บแทน อปท. เพราะมี
 ร ัฐบาลอาจทาหน้าทีจั
ความสามารถและประหยัดในการจัดการมากกว่า แต่ไม่ได ้
่ ดเก็บได ้ควรเป็ นของรฐั บาลทังหมด
้
หมายความว่ารายได ้ทีจั
เพราะฐานรายได ้ที่ อปท. มีอยูน
่ ้ันไม่มากนัก
34
3. รายได ้เก็บเองกับรายได ้จัดสรร
a) รายได ้เก็บเอง Own sources:
ั ยภาพทางเศรษฐกิจ และมีความรับผิดชอบ
 ตรงตามศก
ร่วมกับ ประชาชนในท ้องถิน
่
 มักถูกจากัดโดยรัฐบาลในการกาหนดฐานรายได ้ของ
อปท. เป็ นผลให ้รายได ้เก็บเองมีจากัด
b) รายได ้ภาษี ทรี่ ัฐบาลแบ่งให ้ หรือจัดสรรให ้ Tax-Base
Sharing (Surcharging):
 ฐานการจัดสรรกาหนดโดยรัฐบาล
 รัฐบาลอาจเก็บเองหรือให ้ อปท.ร่วมในการจัดเก็บ
่ น
 อปท. อาจสามารถกาหนดอัตราภาษี ได ้บางสว
 นารายได ้ไปใชจ่้ ายได ้เองอย่างอิสระ
35
รายได ้เก็บเองกับรายได ้จัดสรร
c) รายได ้ทีแ
่ บ่งให ้ Revenue sharing
 รัฐบาลกาหนดฐานและการจัดเก็บทัง้ หมด
 รัฐบาลกาหนดการจัดสรรเองตามทีต
่ ้องการ
 อปท. กาหนดประเภทรายการใชจ่้ ายได ้เอง
d) อุดหนุนเป็ นก ้อน Block grants
 รัฐบาลกาหนดจานวนและวิธก
ี ารจัดสรร
 อปท. กาหนดประเภทรายการใชจ่้ ายได ้เอง (แต่อาจมี
ขอบเขต)
e) อุดหนุนแบบมีเงือ
่ นไข Specific grants
 รัฐบาลกาหนดจานวนและวิธก
ี ารจัดสรร
 รัฐบาลกาหนดแบบแผนการใชจ่้ ายได ้
 อาจมีอส
ิ ระการใชจ่้ ายตามอิสระของ อปท.ได ้บ ้างในบางกรณี
36
4. หลักเกณฑ ์การเป็ นรายร ับของ อปท.
ก) ขนาดรายได ้ (Yield)




มากเพียงพอ substantial
มีความเสถียร และคาดเดาได ้ stable, predictable
ยืดหยุ่นกับฐานเศรษฐกิจ และสังคมของ อปท. เช่น
้ ่
ประชากร เงินเฟ้ อในพืนที
ต ้นทุนในการจัดการต่า
ข) มีความเท่าเทียม (Equity)



37
มีความชัดเจนในภาระภาษี liability clear not arbitrary
้
้
มีความเสมอภาคทังแนวตั
งและแนวนอน
ยึดหลักผลประโยชน์ benefit principle of equity
หลักเกณฑ ์การเป็ นรายร ับของ อปท.
ค) มีความเป็ นกลาง Neutrality
้ ่ เช่นราคาขายปลีก
 ไม่บด
ิ เบือนราคาระหว่างพืนที
สินค ้าระหว่าง จังหวัด
่ ดๆ
 ไม่สร ้างแรงจูงใจทีผิ
ง) สามารถปฏิบต
ั ไิ ด ้
 ความสามารถในการระบุและประเมินการจัดเก็บ
รายได ้เองได ้
่ ความสามารถได ้เอง
 บุคลากรทีมี
่
่
จ) เป็ นทียอมร
ับทางการเมืองระดับท ้องถิน
38
่ ดเก็บเห็นได ้ช ัดเจนและ
 ภาระภาษีหรือรายได ้ทีจั
หลักเกณฑ ์การเป็ นรายร ับของ อปท. (ต่อ)
ฉ) ความเหมาะสมการเป็ นภาษี อปท.
 สามารถจาแนกประเภทภาษีออกได ้ระหว่างร ัฐบาลกับ อปท. และตาม




39
ประเภท อปท. ได ้ชัดเจน (ตัวอย่างภาษีทร ัพย ์สิน vs. ภาษีเงินได ้)
่ ยภาษีได ้ชัดเจนหรือไม่ (ตัวอย่างภาษี
การจัดเก็บภาษีแสดงภาระทีเสี
่
ทร ัพย ์สิน vs. ภาษีมูลค่าเพิม)
้ ่ อปท. หรือไม่ (ภาษีนิตบ
ภาระภาษีจากัดอยู่ในพืนที
ิ ค
ุ คล)
มีความเป็ นได ้ที่ อปท. กาหนดอัตราและการจัดเก็บได ้เองหรือไม่
การบิดเบือนจากการมีอต
ั ราภาษีทแตกต่
ี่
างกันระหว่าง อปท.
หลักเกณฑ ์การเป็ นรายร ับของ อปท. (ต่อ)
สรุป:
 ภาษี ของ อปท. หลายประเภทไม่มค
ี วาม
สมบูรณ์ในการเป็ นภาษี ทเี่ หมาะสม เพราะมี
จุดอ่อนในบางหลักเกณฑ์ แต่เป็ นเครือ
่ งมือที่
จาเป็ นสาหรับ อปท. ในการบริหารจัดการ
ี น ้อยทีส
 จึงจาเป็ นต ้องออกแบบภาษี ทม
ี่ ผ
ี ลเสย
่ ด
ุ
 ฐานภาษี ของ อปท. จึงอาจไม่ต ้องมีมาก แต่ควร
ไม่น ้อยกว่าหนึง่ รายการ เพือ
่ ให ้เกิดการกระจาย
ี่ งและไม่เกิดความซ้าซอนของภาระ
้
ความเสย
40 ภาษี
่
่
5. ภาษีท ้องถินโดยทั
วไป
ประกอบด ้วย
 ฐานทร ัพย ์สิน Property (land, buildings)
 ฐานเงินได ้ Personal incomes
 กิจกรรม/ธุรกิจทางเศรษฐกิจ (businesses,
sales)
่
้ น Motor vehicles /
ามั
 ยานยนต ์/ล ้อเลือน/น
fuel
41
ภาษีทร ัพย ์สิน Property Taxation
่ ยมโดยทัวไปในทุ
่
 เป็ นทีนิ
กๆ ประเทศ
 ขนาดมากพอ มีความเสถียร และคาดการณ์ได ้
42
ง่าย
่ ้ายได ้ และปิ ดบังยาก ทา
 เพราะไม่สามารถเครืองย
ให ้สะท ้อนความสามารถในการจ่ายได ้ดี
 มีความเท่าเทียมในการจัดเก็บ Relatively
equitable
 เป็ นกลางระหว่างผูจ้ า
่ ยภาษี Reasonably
neutral
แต่:
 ต ้นทุนในการจัดการสูง
 รายได ้ค่อนข ้างคงที่ นอกจากมีการปร ับอัตราภาษีเป็ น
ระยะๆ
 อ่อนไหวทางการเมืองในการนามาใช ้ เพราะสามารถเห็น
่ ดเจน
ภาระทีชั
่
ควรพิจารณาจัดเก็บจากการเพิมของมู
ลค่าทร ัพย ์สินด ้วย เพราะ
่
 เก็บเกียวผลประโยชน์
ทได
ี่ ้เปล่า windfall gains
้
 สนับสนุ นการลงทุนโครงสร ้างพืนฐานของร
ฐั
่ ง
 แต่มค
ี วามยุง่ ยาก และต ้นทุนจัดการทีสู
 ประเด็นความเท่าเทียมของผูจ้ า
่ ยภาษี (หรือการกระจาย
่
รายได ้) ทีอาจเกิ
ดขึน้
43
ภาษีเงินได ้ของ อปท.
่ ฒนาแล ้ว
่
พั
 มีการจัดเก็บทัวไปในประเทศที
 แต่ในประเทศกาลังพัฒนา
 ข ้อจากัดการจ ้างงานจากภาคเศรษฐกิจในระบบ
่ อยู่จากัด
ทีมี
 มักกระจุกเฉพาะในเขตเมือง
 ระบบการแบ่งสรรรายได ้ revenue sharing
่ กว่า
อาจเป็ นทางเลือกทีดี
44
ภาษี อปท. จากธุรกรรมเศรษฐกิจ
่
 ภาษีมูลค่าเพิม
่
 มีใช ้ทัวไปในประเทศพั
ฒนา
 ต ้นทุนจัดการสูง
 ภาษีการขาย Local sales / turnover
taxes
้ ้อนกับภาษี VAT
 ซาซ
 ปัญหาการประเมินและการจัดเก็บ
45
ภาษี จากธุรกรรมเศรษฐกิจ (ต่อ)
 ใบอนุ ญาตธุรกิจต่างๆ Business licences
 เสริมสร ้างอานาจการตัดสินใจบริหารของ อปท.
่ ตอ
้ ่
ทีมี
่ การพัฒนาในพืนที
 ปัญหาการประเมินและจัดเก็บสูง
 ลดแรงจูงใจการประกอบธุรกิจของเอกชน
 ภาษี/ค่าธรรมเนี ยมจากการใช ้ประโยชน์จาก
่
ทร ัพยากรธรรมชาติในท ้องถิน
่
 ชดเชยการสูญเสียของทร ัพยากรทีหมดไป
 ปัญหาการประเมินและจัดเก็บสูง
46
ภาษี อปท. จากธุรกรรมเศรษฐกิจ
 ภาษี /ค่าธรรมเนียมจากการท่องเทีย
่ ว
และสถานบันเทิง
 มีโอกาสสูงในเขตเมืองและแหล่งท่องเทีย
่ ว
47
 ค่าธรรมเนียมจากบริการสาธารณูปโภค
 ง่ายในการจัดการ ประเมิน และจัดเก็บ โดย
อาจให ้ผู ้ให ้บริการสาธารณูปโภคเป็ น
ผู ้ดาเนินการให ้
 เป็ นธรรม
 แต่ต ้องระวังอัตราจัดเก็บไม่ให ้สูงมากเกินไป
เพราะอาจก่อให ้เกิดการบิดเบือนระหว่าง
้ น
ภาษี/ค่าธรรมเนี ยมยานยนต ์/นามั
 ค่าธรรมเนี ยมประจาปี ใบอนุ ญาตยานยนต ์ต่างๆ
 เป็ นธรรม
้ น Fuel tax
 ภาษีนามั
้ น
 ส่งเสริมกากับการใช ้นามั
 อาจมอบหมายผูอ
้ น
ื่ ทาหน้าจัดเก็บให ้ เช่นหน่ วยงาน
จัดเก็บ บริษท
ั ผูข
้ าย เป็ นต ้น
่
 ค่าธรรมเนี ยมทีจอดรถ
 ค่าธรรมเนี ยมต่างๆ
48
่
รายได ้ภาษี อปท. อืนๆ
 ภาษีจากป้ ายโฆษณา
่ อกากับ
 นอกจากการเป็ นรายได ้ ยังใช ้เป็ นเครืองมื
้ ท
่ ้องถิน
่
ความเรียบร ้อยของพืนที
 ภาษี/ค่าธรรมเนี ยมจากสัตว ์
้
 ปัญหาการบังคับใช ้และการประเมิน รวมทังการ
่
่งยาก
จัดเก็บทีอาจยุ
49
หลักในการคิดค่าธรรมเนี ยม
่ นประโยชน์สว่ นตน
 ใช ้สาหร ับบริการทีเป็
 คิดอัตราจากต ้นทุนเต็ม Full cost recovery (หรือ
50
marginal cost pricing)
 อาจมีปัญหาต ้นทุนในการจัดเก็บตามสภาพการใช ้
จริง (Measurement)
 อาจอุดหนุ นค่าธรรมเนี ยมแก่ผูใ้ ช ้ในกรณี ทมี
ี่
ผลประโยชน์ตอ
่ สาธารณะ เช่น ไฟฟ้ าริมทาง
่
 การอุดหนุ นไขว ้ Cross-subsidies อาจทาได ้เพือ
ประโยชน์แก่ผย
ู ้ ากจนหรือรายได ้น้อย เช่นการใช ้
้
ไฟฟ้ า นาประปา
่
่ กประสบจากการกระจาย
ปัญหาทีมั
อานาจการคลังฯ
 ความช ัดเจนการกาหนดประเภท
่ จะถ่
่
ภาระหน้าทีที
ายโอน
่
 แหล่งเงินทีจะน
ามาใช้สนับสนุ นการ
ดาเนิ นการตามภารกิจหน้าที่
การกาหนดรายร ับเปรียบเสมือนกับคาถามว่า:
แหล่งรายร ับไหนควรเป็ นของร ัฐบาลหรือ อปท.
่
และควรจัดการให ้เป็ นอานาจหน้าทีของ
อปท.
อย่างไร
51
โครงสร ้างรายได ้จัดเก็บเองของ
อปท. ประเทศไทยปั จจุบน
ั
 เทศบาล อบต. กทม. และเมืองพัทยา
่ น ภาษีบารุงท ้องที่
 ภาษีโรงเรือนและทีดิ
 ภาษีป้าย
 อากรฆ่าสัตว ์
 อากรร ังนก
 อบจ.
้ นและโรงแรม
 ภาษีนามั
 ภาษียาสูบ
52
โครงสร ้างรายได้ อปท.
ประเภทรายได้
่ น
ภาษีโรงเรือนทีดิ
ภาษีบารุงท้องที่
ภาษีป้าย
อากรฆ่าสัตว ์
อากรร ังนก
ยาสู บ น้ ามัน
โรงแรม
53
อบจ. เทศบ อบต เมือง กทม
าล
.
พัทยา
.




















ปัญหารายได ้เก็บเองของ อปท.
 ไม่มก
ี ารพัฒนามานานตามการพัฒนา อปท.
 รายได ้ใหม่ๆ มีผลการเมืองแทรกแซงมาก
้
่
 โครงสร ้างทับซอนกั
นเองระหว่าง อปท. เชน
เทศบาลและ อบต. (VAT)
 รายได ้ไม่เหมาะสมกับความรับผิดชอบ โดยฉพาะ
กรณี กทม. พัทยา อบจ.
54
ของรัฐบาล
2.
•
•
•
•
•
•
55
•
หน่ วยงานของร ัฐเป็ นผู จ
้ ัดเก็บให้และจัดสรรให้
ิ ธิและนิตก
ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสท
ิ รรม
เกีย
่ วกับอสงั หาริมทรัพย์
ภาษี และค่าธรรมเนียมรถยนต์และล ้อเลือ
่ น
ภาษี สรุ า
ภาษี สรรพสามิต
ภาษี ธรุ กิจเฉพาะ
ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่ ตาม พ.ร.บ.จัดสรรรายได ้ประเภท
ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่ และภาษี ธรุ กิจเฉพาะให ้แก่
ราชการสว่ นท ้องถิน
่ พ.ศ. 2534
ค่าภาคหลวงแร่และค่าภาคหลวงปิ โตรเลียม
โครงสร ้างรายได้ อปท.
ประเภทรายได้
อบ เทศบ อบต เมือง กทม
จ.
าล
.
พัทยา
.




ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่ (1 ใน
9)





ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่ ตาม
กฎหมายแผน ฯ




ภาษี ธรุ กิจเฉพาะ




ภาษี สรุ าสรรพสามิต


ภาษี รถยนต์ล ้อเลือ
่ น
ิ ธินต




ค่าจดทะเบียนสท
ิ ิ
กรรม
56
่ ้แก่ อปท.
การออกแบบเงินอุดหนุ นทีให
เงินโอน/เงินอุดหนุ น
่
 ต ้องคานึ งถึงความไม่เท่าเทียมระหว่างหน้าทีและ
่ ละ อปท. มีอยู่
ทร ัพยากรทีแต่
้ อปท.
 ‘vertical imbalance’ ไม่เท่าเทียมระหว่างชัน
 ‘horizontal imbalance’ ไม่เท่าเทียมระหว่าง อปท.
ประเภทเดียวกัน
่ ่งให ้เกิดความเป็ น
 กาหนดฐานรายได ้ (ภาษี) ทีมุ
เจ ้าของและกระจายฐานออกระหว่างร ัฐบาลกับ
อปท.
 Tax-base sharing (surcharging)
 Revenue sharing
58
 การอุดหนุ นในรูปแบบเป็ นก ้อน Block (general)
grants
เป้ าหมายของการให ้เงินโอน/อุดหนุ นแก่
อปท.
1. แก ้ไขความไม่เท่าเทียมแนวตัง้ Vertical
Balance เกิดขึน
้ จากความแตกต่างของ
การรับผิดชอบภารกิจของ อปท. กับ
ความสามารถการหารายได ้ทีม
่ อ
ี ยูข
่ อง
ตนเอง
้
 สมควรแก ้ไขโดยการอุดหนุนหรือการใชวธี
กาหนดรายได ้ภาษี ให ้แก่ อปท.?
 ความเป็ นอิสระของ อปท. และระดับการพัฒนาของพืน
้ ที่
้ นอุดหนุนจึงต ้องคานึงเป้ าหมายที่
 การใชเงิ
้ นอุดหนุนเพือ
ต ้องการ โดยทั่วไปการใชเงิ
่
่ ยวข
่
ประเด็นทีเกี
้องกับความเท่าเทียม
แนวตัง้
 วิธก
ี ารวัดขนาด Measurement
 ต ้องวัดจากความแตกต่างระหว่างความ
ต ้องการใชจ่้ ายกับรายได ้ของ อปท.
 คาถามหลักคือ: ความต ้องการใชจ่้ าย
(expenditure needs) วัดจากอะไร?
 ทางแก ้ไขอาจทาโดยการกาหนดรายรับทัง
้
จากภีหรือค่าธรรมเนียมเพิม
่ เติมแทนการใช ้
ิ ธิภาพในการทา
เงินอุดหนุน เพราะมีประสท
หน ้าทีข
่ อง อปท. มากกว่าจากเงินอุดหนุน
เพราะชว่ ยสะท ้อนประโยชน์ทเี่ กิดกับ
เป้ าหมายของการให ้เงินโอน/อุดหนุ นแก่ อปท.
2. ความเท่าเทียม Equalization
้ ้ไขปั ญหาความแตกต่างด ้านความสามารถ
 ใชแก
ทางการคลังระหว่างพืน
้ ที่
 โดยเฉพาะระหว่างเมืองและชนบท
 หากใชวิ้ ธก
ี ารเพิม
่ อานาจทางการคลัง (อานาจใน
การจัดเก็บรายได ้ของตนเองเพิม
่ เติม) อาจไม่
สามารถแก ้ไขปั ญหาเพราะไม่มฐ
ี านเศรษฐกิจที่
จะดาเนินการได ้
 พืน
้ ทีร่ ่ารวยอาจได ้รับประโยชน์เพราะประชาชน
ั มากขึน
ย ้ายเข ้ามาอาศย
้
้ นอุดหนุนจะเหมาะสมกว่า
 ทาให ้ต ้องใชเงิ
เป้ าหมายของการให ้เงินโอน/อุดหนุ นแก่
อปท.
3. ปั ญหาผลประโยชน์สว่ นเกิน
Externalities
 เกิดจากการทาหน ้าทีข
่ อง อปท. ทีส
่ ง่ ผลดี
ั นอกพืน
ต่อ อปท. หรือประชาชนทีอ
่ าศย
้ ที่
ของตนเองทีด
่ าเนินการ จึงควรสง่ เสริมการ
ทาดีของ อปท. นัน
้ ๆ ให ้มากขึน
้ ตัวอย่าง
ึ ษา การสาธารณสุข เป็ นต ้น
สาคัญคือการศก
หากไม่ชว่ ยสนับสนุนการทาหน ้าทีด
่ งั ลก่าว
อาจน ้อยกว่าทีค
่ วร ทาให ้เกิดการแย่งชงิ ใน
การรับบริการ
่ ดจากการให ้เงินอุดหนุ น
จุดอ่อนทีเกิ
 ความเป็ นอิสระในอานาจของ อปท.ถูก
ลิดรอน
่ เสริมให ้เกิดนวัตกรรมในการทาหน ้าที่
 ไม่สง
ของ อปท. และความแตกต่างในการ
ให ้บริการของ อปท.
 เกิดความสูญเปล่าจากการที่ อปท.ไม่
ระมัดระวังในการดูแลการใชจ่้ าย เพราะไม่
คิดว่าเป็ นทรัพยากรของตนเอง
 รัฐบาลต ้องรับภาระทางการคลังแทน อปท.
และสร ้างความไม่มั่นใจแก่ อปท.
การออกแบบเงินโอน/อุดหนุ น
ั เจนทีใ่ ชใน
้
 ต ้องการข ้อมูลขนาดเงินทีช
่ ด
การอุดหนุน
ั เจน
 ต ้องมีสต
ู รวิธก
ี ารจัดสรรทีแ
่ น่นอนชด
รูปแบบการจัดสรรทีห
่ ลากหลาย
การออกแบบสูตรเงินโอน/เงินอุดหนุ น
 ต ้องกระจายเงินออกเพือ
่ สะท ้อนความรับผิดชอบภาระ
ค่าใชจ่้ ายในการทาหน ้าทีร่ ะหว่าง อปท. ปั ญหาคือ
การวัดความแตกต่างในความต ้องการใชจ่้ ายทา
อย่างไร? และจะยุง่ ยากมากขึน
้ หากมี อปท.หลาย
ระดับ อย่างในประเทศไทย
 คานึงความเท่าเทียมระหว่าง อปท.
 ความจาเป็ นในความต ้องการใชจ่้ าย (Expenditure Needs)โดย
เปรียบเทียบ
 ความแตกต่างในความสามารถทางการคลัง (Fiscal Capacity)
โดยเปรียบเทียบ
 ต ้องระวังในการรักษาความเป็ นอิสระของ อปทง กับ
การควบคุมของรัฐบาล
ิ่ สาคัญคือการมีความเสถียรภาพ คาดการณ์ได ้
 สง
65
โปร่งใสในการจัดสรร
ความก้าวหน้าในการจัดสรรสัดส่วนภาษี
และอากร
66
ปี พ.ศ.
รายได ้ท ้องถิน
่
(หน่วย:ล ้านบาท)
ั สว่ นต่อรายได ้
สด
รัฐ
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
293,750.00
327,113.00
357,424.15
376,740.00
400,338.75
340,995.18
23.50 %
24.05 %
25.17 %
25.20 %
25.82 %
25.26 %
26.14 %
431,255.00
ทีม
่ า: สกถ การทีร่ ายได ้ปี 2553 ลดลงนัน้ เป็ นผลจากการทีป่ ระเทศไทยประสบ
ปั ญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ทาให ้รายได ้ของรัฐบาลลดน ้อยลง การจัดสรร
เปรียบเทียบรายได ้ของ อปท.
2550-2554
ปีงบประมาณ(ล้านบาท)
ประเภทรายได้
2550 % 2551 % 2552 % 2553 %
29,283.7 8.26 32,211.8 8.62 38,746.0 9.35 29,110.4 8.54
1. รายได้ทีท้องถิ
่ นจัดเ
่ ก็บเอง
2. รายได้จากภาษีทีรัฐบาลจัดเ
่ ก็บให้ 120,728.7 34.04 128,676.4 34.43 140,679.3 33.95 126,589.6 37.12
65,300.0 18.41 65,000.0 17.39 71,900.0 17.35 45,400.0 13.31
3. รายได้รัฐบาลแบ่งให้
139,374.0 39.29 147,840.0 39.56 163,057.0 39.35 139,895.2 41.03
5. เง ินอุดหนุน
357,236.4 100.00 376,279.2 100.00 416,934.2 100.00 343,548.2 100.00
รวม
67
2554
38,400.0
134,650.0
70,500.0
173,900.0
420,004.0
%
9.20
32.26
16.89
41.66
100.00
หัวข ้อการนาเสนอ
 แนวคิดทีม
่ าของการกระจายอานาจการคลังฯ
 การกระจายอานาจการคลังกรณีของประเทศ
ไทย
 ปั ญหาการกระจายอานาจฯ การคลัง ทีผ
่ า่ นมา
 แนวทางการพัฒนาการกระจายอานาจการ
คลังฯ ของไทย
68
ปั ญหาการกระจายอานาจคลังฯ ของประเทศ
ไทย
 อปท. แต่ละรูปแบบถูกจัดตัง
้ แบบตัดตอนแยกสว่ นจากกัน
อย่างเด็ดขาด
 โครงสร ้างรายได ้ของ อปท.มีความล ้าสมัย ไม่ได ้รับการ
้
พัฒนามาชานาน
 การจัดตัง้ แต่ละประเภทของ อปท. ไม่คานึงความ
เหมาะสมของทีม
่ าของแหล่งรายได ้ และภารกิจที่
เหมาะสม
้
 โครงสร ้างรายได ้ทีม
่ อ
ี ยูม
่ ค
ี วามทับซอนกั
นระหว่างแต่ละ
ประเภทของ อปท. และไม่สอดคล ้องกับสภาพเศรษฐกิจ
และสงั คมทีแ
่ ท ้จริง
 ความไม่มเี สถียรภาพของการจัดสรรรายได ้จากรัฐบาล
ทัง้ ทีเ่ ป็ นเงินรายได ้ภาษี และเงินอุดหนุนต่างๆ ทีย
่ งั มี
69
ความไม่แน่นอนในวิธก
ี ารและเป้ าประสงค์ โดยเป็ นปั ญหา
ปั จจัยทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการปฏิรป
ู การกระจายอานาจการ
คลังฯ ทีค
่ วรพิจารณา
 การพัฒนาระบบราชการภูมภ
ิ าค งบประมาณจังหวัด
่
 การมอบอานาจและการเพิมความสามารถด
้านการคลังที่
แท ้จริงให ้แก่ อปท.
่
- การปร ับปรุงแหล่งรายได ้เดิม การขยายฐานรายได ้ทีมี
อยู่เดิม
- ประเภทรายได ้ใหม่
 การสร ้างความสมดุลระหว่าง รายจ่ายของ อปท. กับ
Fiscal Capacity เพราะไม่มก
ี ารวิเคราะห ์ภาระต ้นทุน
่ ้จริงและความสามารถหารายได ้ของ
หรือค่าใช ้จ่ายทีแท
่ ัดเจน
อปท.ทีช
่ ้างความเท่า
 การพัฒนาสูตรวิธก
ี ารจัดสรรรายได ้ทีสร
่
70
เทียม (Equality) ระหว่างองค ์กรปกครองส่วนท ้องถิน
่
ปั จจัยทีเ่ กีย
่ วข ้องการปฏิรป
ู การกระจายอานาจการ
คลังทีต
่ ้องพิจารณา (2)
่ นสมัย
 การพัฒนาระเบียบการบริหารการเงินการคลังทีทั
และเป็ นมาตรฐานสากล
 การพัฒนาขีดความสามารถการบริหาร การจัดการ
่
ด ้านการคลังขององค ์กรปกครองส่วนท ้องถิน
่ ทีเกี
่ ยวข
่
 การพัฒนาปัจจัยสถาบันอืนๆ
้อง เช่น สถาบัน
่ าหน้าทีขั
่ บเคลือนกลไกการกระจายอ
่
ทีท
านาจการคลัง
ฯ ยังมีความแตกต่างในแนวทางของหน่ วยงานที่
่
เกียวข
้อง การสร ้างระบบติดตามและประเมินผล การ
สร ้างกลไกส่งเสริมการมีสว่ นร่วม และร่วมร ับผิด
(Accountability) ในระบบการเงิน การคลังของ อปท.
่
และการส่งเสริมการทาหน้าทีของ
อปท. อย่างแท ้จริง
 การปรับปรุงด ้านการจัดสรรเงินอุดหนุน ต ้องมี
ความยืดหยุน
่ ในประเภทให ้มากกว่าทีเ่ ป็ นอยูใ่ น
ปั จจุบน
ั มีรป
ู แบบสูตรวิธก
ี ารจัดสรรทีต
่ ้องมีความ
71
ั เจน
ชด
หัวข ้อการนาเสนอ
 แนวคิดทีม
่ าของการกระจายอานาจการคลังฯ
 การกระจายอานาจการคลังกรณีของประเทศ
ไทย
 ปั ญหาการกระจายอานาจฯ การคลัง ทีผ
่ า่ นมา
 แนวทางการพัฒนาการกระจายอานาจการ
คลังฯ ของไทย
72
ด
้านการถ่
า
ยโอนภารกิ
จ
่ น
ยืนย ันในหล ักการตามร ัฐธรรมนูญทีว่ า
่ องค์กรปกครองสว
่ น
ท้องถิน
่ เป็นหน่วยงานหล ักในการให้บริการสาธารณะและมีสว
ิ ใจแก้ไขปัญหาในพืน
ิ ธิภาพ (ม.
้ ทีอ
ร่วมในการต ัดสน
่ ย่างมีประสท
่ ยลดปัญหาความเหลือ
281) ทีจ
่ ะชว
่ มลา้ การให้บริการสาธารณะ
การเดินหน ้าการถ่ายโอนภารกิจหน ้าทีท
่ ย
ี่ ังคงค ้างอยูต
่ าม
แผนปฏิบต
ั ก
ิ ารการถ่ายโอน
ให ้เป็ นไปตามทีก
่ าหนดไว ้
• การแก ้ไข กฎหมาย ระเบียบ รวมทัง้ การยกเลิก การอนุมัต ิ
การอนุญาต หรือการขอ
ความเห็นชอบจากสว่ นราชการ เพือ
่ ให ้องค์กรปกครองสว่ น
ท ้องถิน
่ มีอส
ิ ระในการ
ิ ใจในการให ้บริการสาธารณะของตนเองได ้
ตัดสน
•
73
ด ้านการถ่ายโอนภารกิจ
 การจัดทาแผนปฏิบต
ั ก
ิ ารการถ่ายโอนทีแ
่ สดงการแบ่ง
ั เจนให ้มากทีส
อานาจหน ้าทีท
่ ช
ี่ ด
่ ด
ุ ระหว่างหน่วยงานที่
ต ้องถ่ายโอนหน ้าทีใ่ ห ้แก่ องค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่
 เร่งกาหนดมาตรฐานกลางของคุณภาพงานทีถ
่ า่ ยโอน
เพือ
่ ให ้องค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่ มีเป้ าหมายในการ
้ นมาตรฐานในการกากับการ
ให ้บริการสาธารณะ และใชเป็
ทาหน ้าที่
่ ารทาหน ้าทีเ่ ป็ นผู ้
 การปรับบทบาทของหน่วยงานไปสูก
กากับ และตรวจสอบเชงิ คุณภาพในการทาหน ้าทีข
่ อง
องค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่ และชว่ ยสนั บสนุนและพัฒนา
ความพร ้อมขององค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่ ให ้ทาหน ้าที่
นัน
้ ๆ ได ้
74
 พัฒนากลไกหรือเครือ
่ งมือทีช
่ ว่ ยสง่ เสริมจูงใจให ้องค์กร
ด ้านการเสริมสร ้างความเข ้มแข็ง
ทางการคลัง
การเสริมสร ้างความเข้มแข็งทางการคลังให้แก่ อปท. ให้
้ ท้
่ องถินมาก
่
มีอส
ิ ระและส่วนร่วมของประชาชนในพืนที
้ โดยรายได้ทได้
่
้
ขึน
ี่ ร ับทีประกอบทั
งรายได้
ทจั
ี่ ดเก็บโดย
่ เอง และทีสนั
่ บสนุ นโดย
องค ์กรปกครองส่วนท้องถิน
ร ัฐบาล
่ เสริมการสร ้างประสท
ิ ธิภาพการจัดเก็บรายได ้ตาม
 เร่งสง
โครงสร ้างรายได ้ปั จจุบน
ั ให ้เพิม
่ มากขึน
้ โดยการนาระบบ
้ บสนุนการจัดเก็บรายได ้
ข ้อมูลสารสนเทศมาใชสนั
้
 ปรับปรุงการนาเทคโนโลยีทท
ี่ ันสมัยมาใชประโยชน์
ใน
้
ิ และทีด
การจาแนกการใชประโยชน์
จากทรัพย์สน
่ น
ิ ใน
พื
น
้
ที
ท
่
้องถิ
น
่
75
 การปรับปรุงด ้านการจัดสรรรายได ้ให ้แก่ องค์กรปกครอง
ด ้านการเสริมสร ้างความเข ้มแข็งทางการคลัง
 การปรับปรุงด ้านการจัดสรรเงินอุดหนุน ต ้องมีความยืดหยุน
่ ใน



76

ประเภทให ้มากกว่าทีเ่ ป็ นอยูใ่ นปั จจุบน
ั มีรป
ู แบบสูตรวิธก
ี าร
ั เจนในการจัดสรร
จัดสรรทีต
่ ้องมีความชด
รัฐบาลทีค
่ วรเร่งพัฒนาการจัดสรรเงินอุดหนุนทีต
่ ้องสร ้างความ
่ งว่างของศก
ั ยภาพ
เท่าเทียมทางการคลัง เพือ
่ ทีจ
่ ะชว่ ยลดชอ
ทางการคลังระหว่างองค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่ ด ้วยกันเอง
่ าษี
รัฐบาลต ้องพัฒนาฐานรายได ้ทัง้ ทีเ่ ป็ นภาษี และไม่ใชภ
ใหม่ๆ ทีม
่ ค
ี วามเหมาะสมกับขนาดและความรับผิดชอบในการ
ให ้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่ แต่ละ
รูปแบบมากขึน
้
เร่งปรับปรุงวิธก
ี ารงบประมาณขององค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่
ให ้ทันสมัยและสอดคล ้องกับระบบงบประมาณของรัฐบาล โดย
นาระบบงบประมาณแบบมุง่ เน ้นผลงาน (Results Based
้
้ ใ่ นปั จจุบน
Budgeting) มาใชแทนระบบที
ใ่ ชอยู
ั
ั ยภาพการบริหารการเงินการคลังของ เจ ้าหน ้าที่
พัฒนาศก