ทิศทางการกระจายอำนาจการคลังสู่

Download Report

Transcript ทิศทางการกระจายอำนาจการคลังสู่

ทิศทางการกระจายอานาจการคลัง
สู่ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นของประเทศไทย
รศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา
คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
26 เมษายน2554
หัวข้อการนาเสนอ
 แนวคิดที่มาของการกระจายอานาจการคลังฯ
 การกระจายอานาจการคลังกรณีของประเทศไทย
 ปัญหาการกระจายอานาจฯ การคลัง ที่ผ่านมา
 แนวทางการพัฒนาการกระจายอานาจการคลังฯ ของไทย
2
การกระจายอานาจการคลังเป็ นปรากฎการณ์ของประเทศต่างๆ ทัว่ โลก
 ความหมายที่แท้ จริง
 การเพิ่มอานาจในการจัดการทางการคลัง และความรับผิดชอบตนเอง
ไปสู่ท้องถิ่นมากขึ้น จึงครอบคลุมทั้ง
 การวางแผน งบประมาณ ด้ านรายรับ- รายจ่าย
 การบริหารทางการเงิน การคลัง เช่นการจัดซื้อ จัดจ้ าง การบัญชี การเงิน ต่างๆ
 ทาให้ ภาครัฐมีความใกล้ ชิดกับประชาชนมากขึ้น
 โดยเฉพาการให้ บริการสาธารณะจะย้ ายจากรัฐบาลไปสู่ อปท. ที่มีความ
ใกล้ ชิดและรู้ความต้ องการของประชาชนในพื้นที่มากกว่า
 รูปแบบของการกระจายอานาจการคลังฯ ทาได้ หลายวิธขี ้ น
ึ อยู่กบั
วัตถุประสงค์ท่ตี ้ องการ
3
การกระจายอานาจฯ การคลังทาให้ อปท. ต้องมีฐานรายได้ และ
ความสามารถในการจัดการของตนเองมากขึ้น
 การค้ นหาเครื่องมือทางการคลังที่เป็ นของ อปท. เพื่อ
สนับสนุนการทาหน้ าที่ของ อปท. มากขึ้น
 การรักษาความเป็ นอิสระทางการคลังและฐานะรายได้
ของตนเอง เป็ นสิ่งสาคัญในการมีประสิทธิผลการทา
หน้ าที่ของ อปท.
4
ข้อสนับสนุนการกระจายอานาจการคลังฯ
Source: Joumard and Kongsrud, “Fiscal Relations Across Government Levels” ECO/WKP(2003)29
 ประสิทธิผลในการตอบสนองความต้ องการประชาชนได้ ดีกว่ารัฐบาล
 ช่วยส่งเสริมความรับผิดรับชอบระหว่างประชาชนกับผู้บริหาร อปท.
 ส่งเสริมการสร้ างนวัตกรรมใหม่ๆ ในการให้ บริการสาธารณะของ อปท.
ที่แตกต่างกันระหว่าง อปท.
 มีประสิทธิภาพ ลดต้ นทุนในการให้ บริการสาธารณะ
 กระตุ้นการสร้ างความมีส่วนร่วมของประชาชนในการทาหน้ าที่ของ
อปท. ที่ป็นรากฐานประชาธิปไตย
5
ข้อแย้งการกระจายอานาจฯ การคลัง
 เกิดความไม่เท่าเทียมในการพัฒนาพื้นที่ระหว่าง อปท. ด้ วยกันเอง
 เป็ นช่องทางให้ เกิดการทุจริตได้ ง่ายหากไม่มกี ารพัฒนาระบบ
ติดตาม ตรวจสอบที่ดี
 ความซา้ ซ้ อนกับการทาหน้ าที่ของหน่วยงานรัฐบาล
 เกิดการแข่งขันกันระหว่าง อปท. จนไม่สามารถทาหน้ าที่ได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ
 Economies of Scales การให้ บริการสาธารณะ
6
หัวข้อการนาเสนอ
 แนวคิดที่มาของการกระจายอานาจการคลังฯ
 การกระจายอานาจการคลังกรณีของประเทศไทย
 ปัญหาการกระจายอานาจฯ การคลัง ที่ผ่านมา
 แนวทางการพัฒนาการกระจายอานาจการคลังฯ ของไทย
7
เจตนารมณ์ของการกระจายอานาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
 เป็ นการช่วยแบ่งเบาภาระการให้บริ การสาธารณะของรัฐบาล
 องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมีความเป็ นอิสระและพึ่งตนเอง
ทางการคลังได้
 สร้างความรับผิด (Accountability) ระหว่างผูบ้ ริ หารและ
ประชาชนในท้องถิ่นมากขึ้น
 ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ดีข้ ึน
11
เจตนารมณ์ของการกระจายอานาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
 ยอมรับในความหลากหลายในศักยภาพเศรษฐกิจของ
อปท.
 คากหวังช่วยเสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพในการให้บริ การ
สาธารณะและแก้ไขปั ญหาประชาชน
 เป็ นเหตุผลสาคัญที่ตอ้ งมีความชัดเจนในการแบ่งหน้าที่
และงบประมาณระหว่างรัฐบาลกับ อปท.
12
เจตนารมย์การกระจายอานาจการคลังฯ
14
1.
เสริมความเข้ มแข็งระบบตัวแทนและการปกครองระบอบประชาธิปไตย
2.
เพิ่มประสิทธิภาพของภาครัฐในการให้ บริการสาธารณะและพัฒนา
คุณภาพชีวิตและสวัสดิการของประชาชน
3.
สร้ างความรับผิดรับชอบและการตอบสนองของผู้บริหารท้ องถิ่นกับความ
ต้ องการของประชาชนในพื้นที่ท่มี ีมากกว่ารัฐบาล
4.
ช่วยแก้ ไขความล้ มเหลวของภาครัฐในการให้ บริการสาธารณะแก่ประชาชน
แนวทางการกระจายอานาจด้ านการคลังฯ ของประเทศไทย
 มีกฎหมายระบุอานาจหน้ าที่ และขนาดรายรับที่เป็ นเป้ าหมายชัดเจน
 มีแผนปฏิบัติการที่ระบุวิธกี ารอย่างละเอียด
ภายใต้ แผนต่างๆ ที่กาหนดนั้นทาให้ เกิดผลทางการคลังของ อปท.
1.การแบ่งอานาจหน้ าที่ระหว่างรัฐบาลกับ อปท.
• รัฐบาลทาประโยชน์สาธารณะระดับชาติ เช่น ด้ านเศรษฐกิจมหภาค
ด้ านการต่างประเทศ ฯลฯ
2.การเพิ่มอานาจทางการคลังของ อปท.
• ความเป็ นเจ้ าของรายได้ ของ อปท. ที่ชัดเจนขึ้น
15
หลักการกาหนดรายจ่ าย Expenditure Assignment
Responsibility assignment หลักการพื้นฐานที่ต้องราลึกเสมอคือ
“เงินตามงาน” “finance follows function” ที่ใช้เป็ นหลักในการ
แบ่งภารกิจหน้าที่ระหว่างรัฐบาลและ อปท. รวมทั้งระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง
Allocation efficiency คือการทาให้ การทาหน้ าที่ของ อปท. มี
ประสิทธิภาพมากที่สดุ และตรงความต้ องการของประชาชนมากที่สดุ
16
หลักเกณฑ์ การจัดสรรที่มปี ระสิ ทธิภาพ
 Subsidiarity: การจัดแบ่งหน้ าที่ท่มี ุ่งให้ แก่ อปท. ที่เล็กที่สดุ และมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการกทาหน้ าที่มากที่สดุ ก่อน เพราะมี
ความใกล้ ชิดประชาชนมากที่สดุ
 หน้ าที่ท่ถี ่ายโอนควรสามารถจากัดผลประโยชน์อยู่ในเขตพื้นที่ของ
อปท. นั้น มากที่สดุ
 หน้ าที่ท่ถี ่ายโอนควรมีขนาดของการจัดการที่ดีท่สี ดุ (economies of
Scale) ในเขตพื้นที่ของ อปท. นั้นๆ มากที่สดุ
 หน้ าที่ท่ถี ่ายโอนควรให้ อปท. ควรมีความสามารถทางการคลังที่
สามารถทาให้ การให้ บริการสาธารณะสามารถทาได้ อย่างเท่าเทียม
17
หลักเกณฑ์ การจัดสรรที่มปี ระสิ ทธิภาพ (ต่ อ)
 เก็บรักษาหน้าที่ดา้ นการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจโดยรวม และการ
ส่งเสริมการขยายตัวเศรษฐกิจให้แก่รฐั บาล
 มุ่งการสร้าง Performance orientation: ที่ทาให้ การทาหน้ าที่
ของ อปท. ต้ องรับการประเมินตามเป้ าหมายของมาตรฐานการให้ บริการที่ดี
 ส่งเสริมให้เกิดการความยืดหยุ่นในทาหน้าที่ร่วมกันของ อปท. ที่จะช่วยลด
ความขัดแย้งระหว่าง อปท. ในการทาหน้าที่ Intergovernmental
flexibility:
18
หลักเกณฑ์ การจัดสรรที่มปี ระสิ ทธิภาพ (ต่ อ)
 มุ่งให้เกิดความรับผิดชอบต่อการลงทุนและดู แลรักษาในโครงสร้างพื้ นฐาน
ของ อปท. Responsibilities for capital.
 ต้องมีความเท่าเทียมในการให้บริการสาธารณะระหว่าง อปท. ในทุกๆ พื้ นที่
The equitable provision of the public services to
the citizens
19
แนวทางการกระจายอานาจทางการคลังฯ ที่คาดหวัง (1)
1. มุ่งปรับปรุงพัฒนารายได้ ของ อปท. ที่จัดเก็บเองเป็ นสาคัญ ที่ให้
ความสาคัญกับการขยายฐานภาษีหรือผู้เสียภาษี การกาหนดอัตราภาษี
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีท่เี หมาะสมกับแต่ละประเภท อปท.
มีความโปร่งใสในการจัดเก็บภาษี การเพิ่มภาษีหรือรายได้ ประเภทใหม่ท่ี
สอดคล้ องกับเศรษฐกิจ อปท. และเพิ่มรายได้ รูปแบบอื่นๆ ที่กว้ างขวาง
ขึ้น
2. การจัดสรรรายได้ ให้ แก่ อปท. ต้ องพิจารณาปริมาณรายได้ ท่สี อดคล้ อง
กับการประมาณการค่าใช้ จ่ายของภารกิจที่ อปท. ได้ กาหนดตาม
กฎหมาย
3. การจัดสรรรายได้ ให้ แก่ อปท. ต้ องพิจารณาภาพรวมของรายได้ ทุก
ประเภทของ อปท. ประกอบด้ วย เพื่อให้ เห็นภาพฐานะรายได้ ท้งั หมด
22
ของ อปท. ว่ามาจากรายได้ ประเภทใดเป็ นสาคัญ
แนวทางการกระจายอานาจทางการคลังฯ ทีค่ าดหวัง (2)
4. การจัดสรรภาษีอากรที่รัฐจัดสรรหรือจัดเก็บเพิ่มให้ อปท. ต้ องคานึงถึง
 แหล่งกาเนิดของภาษี

ภารกิจที่รับผิดชอบ (เพิ่มขึ้น) ของ อปท.
 กระตุ้นให้ อปท. พัฒนาศักยภาพการหารายได้ ของตนเองมากขึ้น
5.
การจัดสรรเงินอุดหนุนให้ แก่ อปท. ต้ องคานึงถึงวัตถุประสงค์ในการจัดสรร
เป็ นสาคัญ มากกว่าการคิดเพียงแค่จานวนที่จัดสรร
 เสริมสร้ างศักยภาพทางรายได้ ให้ แก่ อปท. ให้ พ่ึงตนเองได้ ในระยะยาว
 ความเท่าเทียมทางการคลังระหว่างประเภท อปท.
 ความเท่าเทียมทางการคลังระหว่าง อปท. ประเภทเดียวกัน
 การทาหน้ าที่อย่างมีมาตรฐาน
 การทาหน้ าที่ตามนโยบายของรัฐหรือที่เกินขีดความสามารถของ อปท. ที่จะดาเนินการ
23
ได้ เอง
 แก้ ไขปัญหาผลกระทบการทาหน้ าที่ท่เี กิดกับ อปท. หรือส่วนราชการอื่นๆ
แนวทางการกระจายอานาจทางการคลังฯ ทีค่ าดหวัง (3)
6. ต้ องมีการทบทวนการจัดสรรรายได้ ท่ใี ห้ แก่ อปท. อยู่อย่างสม่าเสมอ
เพื่อให้ ท่มี าของรายได้ ปรับตัวได้ ตามภาระรายจ่ายที่เปลี่ยนแปลง
7. ต้ องมีการเสริมสร้ างหลักเกณฑ์วินัยและประสิทธิภาพในการจัดการ
การบริหารการเงินการคลัง ของ อปท. อาทิ การพัฒนาระบบบัญชี
การเงิน การงบประมาณ ให้ ทนั สมัย
24
รู ปแบบการกระจายอานาจการคลังฯ
 รู ปแบบการแบ่งรายรับ (Revenue Sharing) เป็ นรู ปการกระจายอานาจการคลังฯ แบบเล็กน้ อย
เท่านั้น
 การแบ่งรายได้ Shared taxes
 เงินอุดหนุน Grants
 จัดเก็บเองที่มีเพียงเล็กน้อย “minor “ local taxes
 รู ปแบบการกาหนดรายรับ เป็ นรู ปการกระจายอานาจการคลังฯ แบบที่เข้ มข้ น
 รายได้จากการจัดเก็บเองมากเพียงพอ (autonomy)
 การแบ่งรายได้ Shared taxes
 เงินอุดหนุน Grants
 ค่าธรรมเนี ยม User charges
 อานาจในการกูย้ มื Borrowing Autonomy
25
การกาหนดรายรับให้แก่ อปท. (Re) Assignment of
Local Revenue
29
รายได้ของ อปท.
1.
2.
3.
4.
5.
30
ทาไมจึงต้องการรายได้ของ อปท. เอง?
การแบ่งรายได้ระหว่างรัฐบาลกับ อปท. ทาอย่างไร
รู ปแบบการแบ่งรายได้ของรัฐบาลที่ให้แก่ อปท.
หลักเกณฑ์การการประเมินการเป็ นรายได้ของ อปท.
ประเภทรายได้ที่เหมาะสมของ อปท.
1. ทาไมจึงต้องการรายได้ของ อปท. เอง?
 เป็ นเครื่ องมือในการทางเลือกของการเมืองระดับท้องถิ่นในการบริ หารทรัพยากร
ท้องถิ่น
 ประสิ ทธิ ภาพในการจัดสรร Allocative efficiency:
 การเลือกที่สะท้อนความต้องการของพื้นที่
 สะท้อนต้นทุนที่แท้จริ งในการให้บริ การสาธารณะ
 ‘Fiscal Federalism’, subsidiarity
 ทฤษฎีการเลือกสาธารณะ Public Choice theory
 สร้างความรับผิดรับชอบของท้องถิ่นLocal accountability
 สามารถใช้ภาษีทอ้ งถิ่นในการดึงดูดการลงทุนสู่ พ้น
ื ที่ (แม้ไม่ใช่ปัจจัยทั้งหมด)?
31
แต่ปัญหา:
 ฐานะภาษีที่ดี และความสามารถจ่ายภาษีส่วนใหญ่เป็ นของรัฐบาล:
 สะดวกในการจัดการ administrative convenience
 เท่าเทียมระหว่างผูเ้ สี ยภาษี equity between taxpayers
 มีความเป็ นกลาง neutrality
 อปท. มีเพียงฐานภาษีที่แคบ และไม่ค่อยมีประสิ ทธิ ภาพ ไม่เท่าเทียม
ระหว่างพื้นที่ บางพื้นที่ไม่มีศกั ยภาพทางภาษี
 การใช้รายได้ภาษีแบ่ง/ และเงินอุดหนุนหรื อเงินโอนจึงจาเป็ น
32
ดังนัน้ :
 ต้ องมีการกาหนดแบ่งประเภทรายได้ ท่เี หมาะสมระหว่าง รัฐบาล กับ อปท.
 ต้ องมีการพัฒนาเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการภาษีของ อปท.
 จาเป็ นต้ องคานึงถึง ความคุ้มค่าในการจัดเก็บภาษีจากประชาชนที่อาจไม่มี
ประสิทธิภาพ และสร้ างความไม่เท่าเทียมมากขึ้น
 ต้ องยอมรับว่าภายใต้ การกระจายอานาจการคลังจะปรากฏว่าบางพื้นที่จะมี
ความจาเป็ นที่ต้องขึ้นกับการสนับสนุนการอุดหนุนทางการคลังจากรัฐบาล
 จึงทาให้ การออกแบบระบบเงินอุดหนุนของรัฐบาลต้ องทาด้ วยความ
ระมัดระวังที่ต้องพิจารณาถึงความเป็ นอิสระ และความรับผิดชอบของ
ท้ องถิ่นต่อประชาชนและรัฐบาล
33
2. การกาหนดแบ่งรายรับระหว่างรัฐบาลกับ อปท.
 รายรับต้อง match กับหน้าที่
 ขนาดรายรับ
 ประเภทของรายรับ
 ไม่มีสูตรสาเร็ จในการจัดแบ่งประเภทรายรับในแต่ละประเทศ แต่มีกรอบวิธีการที่
คล้ายคลึงกัน
 รัฐบาลอาจทาหน้าที่จดั เก็บแทน อปท. เพราะมีความสามารถและประหยัดในการ
จัดการมากกว่า แต่ไม่ได้หมายความว่ารายได้ที่จดั เก็บได้ควรเป็ นของรัฐบาล
ทั้งหมด เพราะฐานรายได้ที่ อปท. มีอยูน่ ้ นั ไม่มากนัก
34
3. รายได้เก็บเองกับรายได้จดั สรร
a) รายได้ เก็บเอง Own sources:
 ตรงตามศักยภาพทางเศรษฐกิจ และมีความรับผิดชอบร่วมกับ ประชาชนใน
ท้ องถิ่น
 มักถูกจากัดโดยรัฐบาลในการกาหนดฐานรายได้ ของ อปท. เป็ นผลให้ รายได้ เก็บ
เองมีจากัด
b) รายได้ ภาษีท่รี ัฐบาลแบ่งให้ หรือจัดสรรให้ Tax-Base Sharing
(Surcharging):
 ฐานการจัดสรรกาหนดโดยรัฐบาล
 รัฐบาลอาจเก็บเองหรือให้ อปท.ร่วมในการจัดเก็บ
 อปท. อาจสามารถกาหนดอัตราภาษีได้ บางส่วน
 นารายได้ ไปใช้ จ่ายได้ เองอย่างอิสระ
35
รายได้เก็บเองกับรายได้จดั สรร
c) รายได้ ท่แี บ่งให้ Revenue sharing
 รัฐบาลกาหนดฐานและการจัดเก็บทั้งหมด
 รัฐบาลกาหนดการจัดสรรเองตามที่ต้องการ
 อปท. กาหนดประเภทรายการใช้ จ่ายได้ เอง
d) อุดหนุนเป็ นก้ อน Block grants
 รัฐบาลกาหนดจานวนและวิธกี ารจัดสรร
 อปท. กาหนดประเภทรายการใช้ จ่ายได้ เอง (แต่อาจมีขอบเขต)
e) อุดหนุนแบบมีเงื่อนไข Specific grants
 รัฐบาลกาหนดจานวนและวิธกี ารจัดสรร
 รัฐบาลกาหนดแบบแผนการใช้ จ่ายได้
 อาจมีอสิ ระการใช้ จ่ายตามอิสระของ อปท.ได้ บ้างในบางกรณี
36
4. หลักเกณฑ์การเป็ นรายรับของ อปท.
ก) ขนาดรายได้ (Yield)




มากเพียงพอ substantial
มีความเสถียร และคาดเดาได้ stable, predictable
ยืดหยุน่ กับฐานเศรษฐกิจ และสังคมของ อปท. เช่นประชากร เงินเฟ้ อในพื้นที่
ต้นทุนในการจัดการต่า
ข) มีความเท่าเทียม (Equity)



37
มีความชัดเจนในภาระภาษี liability clear not arbitrary
มีความเสมอภาคทั้งแนวตั้งและแนวนอน
ยึดหลักผลประโยชน์ benefit principle of equity
หลักเกณฑ์การเป็ นรายรับของ อปท.
ค) มีความเป็ นกลาง Neutrality
 ไม่บิดเบือนราคาระหว่างพื้นที่ เช่นราคาขายปลีกสิ นค้าระหว่าง
จังหวัด
 ไม่สร้างแรงจูงใจที่ผดิ ๆ
ง) สามารถปฏิบตั ิได้
 ความสามารถในการระบุและประเมินการจัดเก็บรายได้เองได้
 บุคลากรที่มีความสามารถได้เอง
จ) เป็ นที่ยอมรับทางการเมืองระดับท้องถิ่น
 ภาระภาษีหรื อรายได้ที่จดั เก็บเห็นได้ชดั เจนและยอมรับได้
38
หลักเกณฑ์การเป็ นรายรับของ อปท. (ต่อ)
ฉ) ความเหมาะสมการเป็ นภาษี อปท.
 สามารถจาแนกประเภทภาษีออกได้ระหว่างรัฐบาลกับ อปท. และตามประเภท อปท. ได้




39
ชัดเจน (ตัวอย่างภาษีทรัพย์สิน vs. ภาษีเงินได้)
การจัดเก็บภาษีแสดงภาระที่เสี ยภาษีได้ชดั เจนหรื อไม่ (ตัวอย่างภาษีทรัพย์สิน vs.
ภาษีมูลค่าเพิ่ม)
ภาระภาษีจากัดอยูใ่ นพื้นที่ อปท. หรื อไม่ (ภาษีนิติบุคคล)
มีความเป็ นได้ที่ อปท. กาหนดอัตราและการจัดเก็บได้เองหรื อไม่
การบิดเบือนจากการมีอตั ราภาษีที่แตกต่างกันระหว่าง อปท.
หลักเกณฑ์การเป็ นรายรับของ อปท. (ต่อ)
สรุป:
 ภาษีของ อปท. หลายประเภทไม่มีความสมบูรณ์ในการเป็ นภาษีท่ี
เหมาะสม เพราะมีจุดอ่อนในบางหลักเกณฑ์ แต่เป็ นเครื่องมือที่จาเป็ น
สาหรับ อปท. ในการบริหารจัดการ
 จึงจาเป็ นต้ องออกแบบภาษีท่มี ีผลเสียน้ อยที่สดุ
 ฐานภาษีของ อปท. จึงอาจไม่ต้องมีมาก แต่ควรไม่น้อยกว่าหนึ่ง
รายการ เพื่อให้ เกิดการกระจายความเสี่ยงและไม่เกิดความซา้ ซ้ อนของ
ภาระภาษี
40
5. ภาษีทอ้ งถิ่นโดยทัว่ ไป
ประกอบด้วย
 ฐานทรัพย์สิน Property (land, buildings)
 ฐานเงินได้ Personal incomes
 กิจกรรม/ธุรกิจทางเศรษฐกิจ (businesses, sales)
 ยานยนต์/ล้อเลื่อน/น้ ามัน Motor vehicles / fuel
41
ภาษีทรัพย์สิน Property Taxation
 เป็ นที่นิยมโดยทัว่ ไปในทุกๆ ประเทศ
 ขนาดมากพอ มีความเสถียร และคาดการณ์ได้ง่าย
 เพราะไม่สามารถเครื่ องย้ายได้ และปิ ดบังยาก ทาให้สะท้อน
ความสามารถในการจ่ายได้ดี
 มีความเท่าเทียมในการจัดเก็บ Relatively equitable
 เป็ นกลางระหว่างผูจ้ ่ายภาษี Reasonably neutral
 กาหนดให้เป็ นภาษีของแต่ละประเภทของ อปท. ได้อย่างเหมาะสม
 เป็ นโอกาสในการจัดการโดย อปท.ได้ เอง ทาให้มีความเป็ นอิสระ
42
แต่:
 ต้นทุนในการจัดการสู ง
 รายได้ค่อนข้างคงที่ นอกจากมีการปรับอัตราภาษีเป็ นระยะๆ
 อ่อนไหวทางการเมืองในการนามาใช้ เพราะสามารถเห็นภาระที่ชดั เจน
ควรพิจารณาจัดเก็บจากการเพิ่มของมูลค่าทรัพย์สินด้วย เพราะ
 เก็บเกี่ยวผลประโยชน์ที่ได้เปล่า windfall gains
 สนับสนุนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของรัฐ
 แต่มีความยุง่ ยาก และต้นทุนจัดการที่สูง
 ประเด็นความเท่าเทียมของผูจ้ ่ายภาษี (หรื อการกระจายรายได้) ที่อาจเกิดขึ้น
43
ภาษีเงินได้ของ อปท.
 มีการจัดเก็บทัว่ ไปในประเทศที่พฒ
ั นาแล้ว
 แต่ในประเทศกาลังพัฒนา
 ข้อจากัดการจ้างงานจากภาคเศรษฐกิจในระบบที่มีอยูจ่ ากัด ส
imited formal sector employment
 มักกระจุกเฉพาะในเขตเมือง
 ระบบการแบ่งสรรรายได้ revenue sharing อาจเป็ นทางเลือกที่
ดีกว่า
44
ภาษี อปท. จากธุรกรรมเศรษฐกิจ
 ภาษีมูลค่าเพิ่ม
 มีใช้ทวั่ ไปในประเทศพัฒนา
 ต้นทุนจัดการสู ง
 ภาษีการขาย Local sales / turnover taxes
 ซ้ าซ้อนกับภาษี VAT
 ปั ญหาการประเมินและการจัดเก็บ
45
ภาษี จากธุรกรรมเศรษฐกิจ (ต่อ)
 ใบอนุญาตธุรกิจต่างๆ Business licences
 เสริ มสร้างอานาจการตัดสิ นใจบริ หารของ อปท. ที่มีต่อการพัฒนา
ในพื้นที่
 ปั ญหาการประเมินและจัดเก็บสู ง
 ลดแรงจูงใจการประกอบธุรกิจของเอกชน
 ภาษี/ค่าธรรมเนี ยมจากการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
 ชดเชยการสู ญเสี ยของทรัพยากรที่หมดไป
 ปั ญหาการประเมินและจัดเก็บสู ง
46
ภาษี อปท. จากธุรกรรมเศรษฐกิจ
 ภาษี/ค่าธรรมเนียมจากการท่องเที่ยวและสถานบันเทิง
 มีโอกาสสูงในเขตเมืองและแหล่งท่องเที่ยว
 ค่าธรรมเนียมจากบริการสาธารณูปโภค
 ง่ายในการจัดการ ประเมิน และจัดเก็บ โดยอาจให้ ผ้ ูให้ บริการ
สาธารณูปโภคเป็ นผู้ดาเนินการให้
 เป็ นธรรม
 แต่ต้องระวังอัตราจัดเก็บไม่ให้ สงู มากเกินไปเพราะอาจก่อให้ เกิด
การบิดเบือนระหว่างพื้นที่
47
ภาษี/ค่าธรรมเนียมยานยนต์/น้ ามัน
 ค่าธรรมเนี ยมประจาปี ใบอนุญาตยานยนต์ต่างๆ
 เป็ นธรรม
 ภาษีน้ ามัน Fuel tax
 ส่ งเสริ มกากับการใช้น้ ามัน
 อาจมอบหมายผูอ้ ื่น ทาหน้าจัดเก็บให้ เช่นหน่วยงานจัดเก็บ บริ ษทั ผูข้ าย
เป็ นต้น
 ค่าธรรมเนี ยมที่จอดรถ
 effectively a tax, in major urban centres
 ค่าธรรมเนี ยมต่างๆ
48
รายได้ภาษี อปท. อื่นๆ
 ภาษีจากป้ ายโฆษณา
 นอกจากการเป็ นรายได้ ยังใช้เป็ นเครื่ องมือกากับความเรี ยบร้อย
ของพื้นที่ทอ้ งถิ่น
 ภาษี/ค่าธรรมเนี ยมจากสัตว์
 ปั ญหาการบังคับใช้และการประเมิน รวมทั้งการจัดเก็บที่อาจ
ยุง่ ยาก
49
หลักในการคิดค่าธรรมเนียม
 ใช้สาหรับบริ การที่เป็ นประโยชน์ส่วนตน
 คิดอัตราจากต้นทุนเต็ม Full cost recovery (หรื อmarginal cost pricing)
 อาจมีปัญหาต้นทุนในการจัดเก็บตามสภาพการใช้จริ ง (Measurement)
 อาจอุดหนุนค่าธรรมเนี ยมแก่ผใู ้ ช้ในกรณี ที่มีผลประโยชน์ต่อสาธารณะ
เช่น ไฟฟ้ าริ มทาง
 การอุดหนุนไขว้ Cross-subsidies อาจทาได้เพื่อประโยชน์แก่ผยู ้ ากจน
หรื อรายได้นอ้ ย เช่นการใช้ไฟฟ้ า น้ าประปา
 ในบางกรณี การลงทุนเพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริ การอาจมีประโยชน์กบั ผูม้ ี
รายน้อยมากกว่าการได้รับอุดหนุนโดยตรง
50
ปัญหาที่มกั ประสบจากการกระจายอานาจการคลังฯ
สองปัญหาพื้นฐาน:
1. ความชัดเจนการกาหนดประเภทภาระหน้าทีท่ ีจ่ ะถ่ายโอน
2. แหล่งเงินทีจ่ ะนามาใช้สนับสนุนการดาเนินการตามภารกิจหน้าที่
การกาหนดรายรับเปรี ยบเสมือนกับคาถามว่า:
แหล่งรายรับไหนควรเป็ นของรัฐบาลหรื อ อปท. และควรจัดการให้เป็ นอานาจหน้าที่
ของ อปท. อย่างไร
51
โครงสร้างรายได้จดั เก็บเองของ อปท. ประเทศไทยปัจจุบนั
 เทศบาล อบต. กทม. และเมืองพัทยา
 ภาษีโรงเรื อนและที่ดิน ภาษีบารุ งท้องที่
 ภาษีป้าย
 อากรฆ่าสัตว์
 อากรรังนก
 อบจ.
 ภาษีน้ ามันและโรงแรม
 ภาษียาสู บ
52
โครงสร้างรายได้ อปท.
ประเภทรายได้
ภาษีโรงเรือนที่ดิน
ภาษีบารุงท้องที่
ภาษีป้าย
อากรฆ่าสัตว์
อากรรังนก
ยาสูบ น้ามัน โรงแรม
53
อบจ.


เทศบาล อบต. เมืองพัทยา กทม.


















ปั ญหารายได้เก็บเองของ อปท.
 ไม่มีการพัฒนามานานตามการพัฒนา อปท.
 รายได้ ใหม่ๆ มีผลการเมืองแทรกแซงมาก
 โครงสร้ างทับซ้ อนกันเองระหว่าง อปท. เช่น เทศบาลและ อบต. (VAT)
 รายได้ ไม่เหมาะสมกับความรับผิดชอบ โดยฉพาะกรณี กทม. พัทยา อบจ.
54
รายได้ ของ อปท. จากการจัดสรรของรัฐบาล
2.
55
หน่วยงานของรัฐเป็ นผูจ้ ดั เก็บให้และจัดสรรให้
o ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับ
อสังหาริมทรัพย์
o ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้ อเลื่อน
o ภาษีสรุ า
o ภาษีสรรพสามิต
o ภาษีธุรกิจเฉพาะ
o ภาษีมูลค่าเพิ่มตาม พ.ร.บ.จัดสรรรายได้ ประเภทภาษีมูลค่าเพิ่ม
และภาษีธุรกิจเฉพาะให้ แก่ราชการส่วนท้ องถิ่น พ.ศ. 2534
o ค่าภาคหลวงแร่และค่าภาคหลวงปิ โตรเลียม
o ฯลฯ
ประเภทรายได้
ภาษีมูลค่าเพิม่ (1 ใน 9)
ภาษีมูลค่าเพิม่ ตามกฎหมายแผน ฯ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีสุราสรรพสามิต
ภาษีรถยนต์ลอ้ เลือ่ น
ค่าจดทะเบียนสิทธินติ กิ รรม
ค่าภาคหลวงแร่ปิโตรเลียม
56
โครงสร้างรายได้ อปท.
อบจ. เทศบาล อบต. เมืองพัทยา กทม.




























การออกแบบเงินอุดหนุนที่ให้แก่ อปท.
เงินโอน/เงินอุดหนุน
 ต้องคานึ งถึงความไม่เท่าเทียมระหว่างหน้าที่และทรัพยากรที่แต่ละ
อปท. มีอยู่
 ‘vertical imbalance’ ไม่เท่าเทียมระหว่างชั้น อปท.
 ‘horizontal imbalance’ ไม่เท่าเทียมระหว่าง อปท. ประเภทเดียวกัน
 กาหนดฐานรายได้ (ภาษี) ที่มุ่งให้เกิดความเป็ นเจ้าของและกระจาย
ฐานออกระหว่างรัฐบาลกับ อปท.
 Tax-base sharing (surcharging)
 Revenue sharing
 การอุดหนุนในรู ปแบบเป็ นก้อน Block (general) grants
 การอุดหนุนแบบมีเงื่อนไข Specific (conditional) grants
58
เป้ าหมายของการให้เงินโอน/อุดหนุนแก่ อปท.
1. แก้ ไขความไม่เท่าเทียมแนวตั้ง Vertical Balance
เกิดขึ้นจากความแตกต่างของการรับผิดชอบภารกิจของ
อปท. กับความสามารถการหารายได้ ท่มี ีอยู่ของตนเอง
 สมควรแก้ ไขโดยการอุดหนุนหรือการใช้ วธีกาหนดรายได้ ภาษี
ให้ แก่ อปท.?
 ความเป็ นอิสระของ อปท. และระดับการพัฒนาของพื้นที่
 การใช้ เงินอุดหนุนจึงต้ องคานึงเป้ าหมายที่ต้องการ โดยทั่วไปการ
ใช้ เงินอุดหนุนเพื่อช่วยแก้ ไขให้ เกิดความเพียงพอระหว่างรายจ่าย
และรายได้
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเท่าเทียมแนวตั้ง
 วิธกี ารวัดขนาด Measurement
 ต้ องวัดจากความแตกต่างระหว่างความต้ องการใช้ จ่ายกับรายได้
ของ อปท.
 คาถามหลักคือ: ความต้ องการใช้ จ่าย (expenditure needs)
วัดจากอะไร?
 ทางแก้ ไขอาจทาโดยการกาหนดรายรับทั้งจากภีหรือค่าธรรมเนียม
เพิ่มเติมแทนการใช้ เงินอุดหนุน เพราะมีประสิทธิภาพในการทา
หน้ าที่ของ อปท. มากกว่าจากเงินอุดหนุน เพราะช่วยสะท้ อน
ประโยชน์ท่เี กิดกับประชาชนที่ได้ รับบริการ
เป้ าหมายของการให้เงินโอน/อุดหนุนแก่ อปท.
2. ความเท่าเทียม Equalization
 ใช้ แก้ ไขปัญหาความแตกต่างด้ านความสามารถทางการคลังระหว่างพื้นที่
 โดยเฉพาะระหว่างเมืองและชนบท
 หากใช้ วิธกี ารเพิ่มอานาจทางการคลัง (อานาจในการจัดเก็บรายได้ ของ
ตนเองเพิ่มเติม) อาจไม่สามารถแก้ ไขปัญหาเพราะไม่มฐี านเศรษฐกิจที่
จะดาเนินการได้
 พื้นที่ร่ารวยอาจได้ รับประโยชน์เพราะประชาชนย้ ายเข้ ามาอาศัยมากขึ้น
 ทาให้ ต้องใช้ เงินอุดหนุนจะเหมาะสมกว่า
เป้ าหมายของการให้เงินโอน/อุดหนุนแก่ อปท.
3. ปัญหาผลประโยชน์ส่วนเกิน Externalities
 เกิดจากการทาหน้ าที่ของ อปท. ที่ส่งผลดีต่อ อปท. หรือ
ประชาชนที่อาศัยนอกพื้นที่ของตนเองที่ดาเนินการ จึงควร
ส่งเสริมการทาดีของ อปท. นั้นๆ ให้ มากขึ้น ตัวอย่างสาคัญคือ
การศึกษา การสาธารณสุข เป็ นต้ น หากไม่ช่วยสนับสนุนการทา
หน้ าที่ดังลก่าวอาจน้ อยกว่าที่ควร ทาให้ เกิดการแย่งชิงในการรับ
บริการ
จุดอ่อนที่เกิดจากการให้เงินอุดหนุน
 ความเป็ นอิสระในอานาจของ อปท.ถูกลิดรอน
 ไม่ส่งเสริมให้ เกิดนวัตกรรมในการทาหน้ าที่ของ อปท. และ
ความแตกต่างในการให้ บริการของ อปท.
 เกิดความสูญเปล่าจากการที่ อปท.ไม่ระมัดระวังในการดูแลการ
ใช้ จ่าย เพราะไม่คิดว่าเป็ นทรัพยากรของตนเอง
 รัฐบาลต้ องรับภาระทางการคลังแทน อปท. และสร้ างความไม่
มั่นใจแก่ อปท.
การออกแบบเงินโอน/อุดหนุน
 ต้ องการข้ อมูลขนาดเงินที่ชัดเจนที่ใช้ ในการอุดหนุน
 ต้ องมีสตู รวิธกี ารจัดสรรที่แน่นอนชัดเจน รูปแบบการจัดสรร
ที่หลากหลาย
การออกแบบสูตรเงินโอน/เงินอุดหนุน
 ต้ องกระจายเงินออกเพื่อสะท้ อนความรับผิดชอบภาระค่าใช้ จ่ายในการทาหน้ าที่
ระหว่าง อปท. ปัญหาคือการวัดความแตกต่างในความต้ องการใช้ จ่ายทา
อย่างไร? และจะยุ่งยากมากขึ้นหากมี อปท.หลายระดับ อย่างในประเทศไทย
 คานึงความเท่าเทียมระหว่าง อปท.
 ความจาเป็ นในความต้ องการใช้ จ่าย (Expenditure Needs)โดยเปรียบเทียบ
 ความแตกต่างในความสามารถทางการคลัง (Fiscal Capacity) โดยเปรียบเทียบ
 ต้ องระวังในการรักษาความเป็ นอิสระของ อปทง กับการควบคุมของรัฐบาล
 สิ่งสาคัญคือการมีความเสถียรภาพ คาดการณ์ได้ โปร่งใสในการจัดสรร
 ควรมุ่งให้ มีการนาผลการดาเนินงาน performance มาเป็ นหนึ่งในเงื่อนไข
การจัดสรร
65
ความก้าวหน้าในการจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากร
66
ปี พ.ศ.
รายได้ ท้องถิ่น
(หน่วย:ล้ านบาท)
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
293,750.00
327,113.00
357,424.15
376,740.00
400,338.75
340,995.18
431,255.00
ที่มา: สกถ
สัดส่วนต่อรายได้ รัฐ
23.50 %
24.05 %
25.17 %
25.20 %
25.82 %
25.26 %
การที่รายได้ ปี 2553 ลดลงนั
้นเป็ นผลจากการที
26.14
% ่
ประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ทาให้
รายได้ ของรัฐบาลลดน้ อยลง การจัดสรรรายได้ ท่ี
ให้ แก่ อปท.จึงลดต่าลง
เปรียบเทียบรายได้ของ อปท. 2550-2554
2550
29,283.7
1. รายได้ที่ท้องถิน่ จัดเกบ็ เอง
2. รายได้จากภาษีที่รัฐบาลจัดเกบ็ ให้ 120,728.7
65,300.0
3. รายได้รัฐบาลแบ่งให้
139,374.0
5. เงนิ อุดหนุน
357,236.4
รวม
ประเภทรายได้
67
%
8.26
34.04
18.41
39.29
100.00
2551
32,211.8
128,676.4
65,000.0
147,840.0
376,279.2
ปี งบประมาณ (ล้านบาท)
% 2552 % 2553
8.62 38,746.0 9.35 29,110.4
34.43 140,679.3 33.95 126,589.6
17.39 71,900.0 17.35 45,400.0
39.56 163,057.0 39.35 139,895.2
100.00 416,934.2 100.00 343,548.2
%
8.54
37.12
13.31
41.03
100.00
2554
38,400.0
134,650.0
70,500.0
173,900.0
420,004.0
%
9.20
32.26
16.89
41.66
100.00
หัวข้อการนาเสนอ
 แนวคิดที่มาของการกระจายอานาจการคลังฯ
 การกระจายอานาจการคลังกรณีของประเทศไทย
 ปัญหาการกระจายอานาจฯ การคลัง ที่ผ่านมา
 แนวทางการพัฒนาการกระจายอานาจการคลังฯ ของไทย
68
ปัญหาการกระจายอานาจคลังฯ ของประเทศไทย
 อปท. แต่ละรูปแบบถูกจัดตั้งแบบตัดตอนแยกส่วนจากกันอย่างเด็ดขาด
 โครงสร้ างรายได้ ของ อปท.มีความล้ าสมัย ไม่ได้ รับการพัฒนามาช้ านาน
 การจัดตั้งแต่ละประเภทของ อปท. ไม่คานึงความเหมาะสมของที่มาของแหล่งรายได้
และภารกิจที่เหมาะสม
 โครงสร้ างรายได้ ท่ม
ี ีอยู่มีความทับซ้ อนกันระหว่างแต่ละประเภทของ อปท. และไม่
สอดคล้ องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แท้ จริง
 ความไม่มีเสถียรภาพของการจัดสรรรายได้ จากรัฐบาล ทั้งที่เป็ นเงินรายได้ ภาษีและ
เงินอุดหนุนต่างๆ ที่ยังมีความไม่แน่นอนในวิธกี ารและเป้ าประสงค์ โดยเป็ นปัญหา
ทั้งในระดับปฏิบัติ (สานักงบประมาณ) และระดับนโยบาย (การเปลี่ยนแปลงโดย
รัฐสภาและกรรมาธิการ)
 ปัญหาธรรมาภิบาลในการบริหารการเงินการคลัง
69
ปัจจัยที่เกี่ยวข้ องกับการปฏิรปู การกระจายอานาจการคลังฯ ที่ควรพิจารณา
 การพัฒนาระบบราชการภูมิภาค งบประมาณจังหวัด
 การมอบอานาจและการเพิม่ ความสามารถด้านการคลังที่แท้จริ งให้แก่ อปท.
 การปรับปรุ งแหล่งรายได้เดิม การขยายฐานรายได้ที่มีอยูเ่ ดิม
 ประเภทรายได้ใหม่
 การสร้างความสมดุลระหว่าง รายจ่ายของ อปท. กับ Fiscal Capacity เพราะ
ไม่มีการวิเคราะห์ภาระต้นทุนหรื อค่าใช้จ่ายที่แท้จริ งและความสามารถหา
รายได้ของ อปท.ที่ชดั เจน
 การพัฒนาสู ตรวิธีการจัดสรรรายได้ที่สร้างความเท่าเทียม (Equality) ระหว่าง
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและสอดคล้องภารกิจ หน้าที่
70
ปัจจัยที่เกี่ยวข้ องการปฏิรปู การกระจายอานาจการคลังที่ต้องพิจารณา (2)
 การพัฒนาระเบียบการบริ หารการเงินการคลังที่ทน
ั สมัยและเป็ น
มาตรฐานสากล
 การพัฒนาขีดความสามารถการบริ หาร การจัดการด้านการคลังขององค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่น
 การพัฒนาปั จจัยสถาบันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันที่ทาหน้าที่ขบั เคลื่อน
กลไกการกระจายอานาจการคลังฯ ยังมีความแตกต่างในแนวทางของ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การสร้างระบบติดตามและประเมินผล การสร้าง
กลไกส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วม และร่ วมรับผิด (Accountability) ในระบบ
การเงิน การคลังของ อปท. และการส่ งเสริ มการทาหน้าที่ของ อปท. อย่าง
แท้จริ ง
 การปรับปรุงด้ านการจัดสรรเงินอุดหนุน ต้ องมีความยืดหยุ่นในประเภทให้
มากกว่าที่เป็ นอยู่ในปัจจุบัน มีรปู แบบสูตรวิธกี ารจัดสรรที่ต้องมีความ
ชัดเจน
71
หัวข้ อการนาเสนอ
 แนวคิดที่มาของการกระจายอานาจการคลังฯ
 การกระจายอานาจการคลังกรณีของประเทศไทย
 ปัญหาการกระจายอานาจฯ การคลัง ที่ผ่านมา
 แนวทางการพัฒนาการกระจายอานาจการคลังฯ ของไทย
72
ด้ านการถ่ายโอนภารกิจ
ยืนยันในหลักการตามรัฐธรรมนูญทีว่ ่ า องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น เป็ นหน่ วยงานหลักในการให้ บริการ
สาธารณะและมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจแก้ ไขปัญหาในพืน้ ที่อย่ างมีประสิ ทธิภาพ (ม. 281) ทีจ่ ะช่ วยลด
ปัญหาความเหลือ่ มลา้ การให้ บริการสาธารณะ
•
การเดินหน้ าการถ่ายโอนภารกิจหน้ าที่ท่ยี ังคงค้ างอยู่ตามแผนปฏิบัติการการถ่ายโอน
ให้ เป็ นไปตามที่กาหนดไว้
• การแก้ ไข กฎหมาย ระเบียบ รวมทั้งการยกเลิก การอนุมัติ การอนุญาต หรือการขอ
ความเห็นชอบจากส่วนราชการ เพื่อให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นมีอสิ ระในการ
ตัดสินใจในการให้ บริการสาธารณะของตนเองได้
73
ด้ านการถ่ายโอนภารกิจ
 การจัดทาแผนปฏิบัติการการถ่ายโอนที่แสดงการแบ่งอานาจหน้ าที่ท่ชี ัดเจนให้ มาก
ที่สดุ ระหว่างหน่วยงานที่ต้องถ่ายโอนหน้ าที่ให้ แก่ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
 เร่งกาหนดมาตรฐานกลางของคุณภาพงานที่ถ่ายโอนเพื่อให้ องค์กรปกครองส่วน
ท้ องถิ่นมีเป้ าหมายในการให้ บริการสาธารณะ และใช้ เป็ นมาตรฐานในการกากับการ
ทาหน้ าที่
 การปรับบทบาทของหน่วยงานไปสู่การทาหน้ าที่เป็ นผู้กากับ และตรวจสอบเชิง
คุณภาพในการทาหน้ าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และช่วยสนับสนุนและ
พัฒนาความพร้ อมขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ให้ ทาหน้ าที่น้ันๆ ได้
 พัฒนากลไกหรือเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมจูงใจให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นเกิดการ
ทางานร่วมกัน และการมีส่วนร่วมของเอกชนในการให้ บริการสาธารณะ (PPP)
74
ด้ านการเสริมสร้ างความเข้ มแข็งทางการคลัง
การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการคลังให้แก่ อปท. ให้มีอิสระและส่วนร่วมของ
ประชาชนในพื้ นที่ทอ้ งถิน่ มากขึ้ น โดยรายได้ที่ได้รบั ที่ประกอบทั้งรายได้ที่จดั เก็บ
โดย องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เอง และที่สนับสนุ นโดยรัฐบาล
 เร่งส่งเสริมการสร้ างประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ ตามโครงสร้ างรายได้ ปัจจุบันให้
เพิ่มมากขึ้น โดยการนาระบบข้ อมูลสารสนเทศมาใช้ สนับสนุนการจัดเก็บรายได้
 ปรับปรุงการนาเทคโนโลยีท่ท
ี นั สมัยมาใช้ ประโยชน์ในการจาแนกการใช้ ประโยชน์จาก
ทรัพย์สนิ และที่ดินในพื้นที่ท้องถิ่น
 การปรับปรุงด้ านการจัดสรรรายได้ ให้ แก่ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นจากภาษีจัดสรร
โดยต้ องคานึงถึงแหล่งกาเนิดหรือแหล่งที่มาของรายได้ ภาษีให้ มากที่สดุ
75
ด้ านการเสริมสร้ างความเข้ มแข็งทางการคลัง
 การปรับปรุงด้ านการจัดสรรเงินอุดหนุน ต้ องมีความยืดหยุ่นในประเภทให้ มากกว่าที่เป็ นอยู่




76
ในปัจจุบนั มีรปู แบบสูตรวิธกี ารจัดสรรที่ต้องมีความชัดเจนในการจัดสรร
รัฐบาลที่ควรเร่งพัฒนาการจัดสรรเงินอุดหนุนที่ต้องสร้ างความเท่าเทียมทางการคลัง
เพื่อที่จะช่วยลดช่องว่างของศักยภาพทางการคลังระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
ด้ วยกันเอง
รัฐบาลต้ องพัฒนาฐานรายได้ ท้งั ที่เป็ นภาษีและไม่ใช่ภาษีใหม่ๆ ที่มคี วามเหมาะสมกับขนาด
และความรับผิดชอบในการให้ บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น แต่ละ
รูปแบบมากขึ้น
เร่งปรับปรุงวิธกี ารงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ให้ ทนั สมัยและสอดคล้ องกับ
ระบบงบประมาณของรัฐบาล โดยนาระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน (Results
Based Budgeting) มาใช้ แทนระบบที่ใช้ อยู่ในปัจจุบนั
พัฒนาศักยภาพการบริหารการเงินการคลังของ เจ้ าหน้ าที่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ทั้ง
วิธกี ารงบประมาณ การบัญชี และการวิเคราะห์ฐานะการเงิน