นโยบายการคลังและนโยบาย

Download Report

Transcript นโยบายการคลังและนโยบาย

บทที่ 8 นโยบายการคลังและ
นโยบายการคลัง
ความหมายของการคลัง
การคลังภาครัฐ (Public Finance) หมายถึง การคลังในส่วนของรัฐบาล
หรือการคลังในกิจกรรมทีร่ ฐั บาลเป็ นเจ้าของ การคลังภาครัฐ หรือการคลังของ
รัฐบาลเป็ นเรือ่ งเกี่ยวกับกิจกรรมทางการคลัง การเงินต่างๆ ของรัฐบาลทีถ่ ือ
เป็ นหน่วยทีส่ าคัญหน่วยหนึ่งของระบบสังคม เนื่องจากมีผลผูกพันและกระทบไม่
เฉพาะชีวติ ความเป็ นอยูข่ องคนในปั จจุบนั เท่านัน้ แต่ยงั มักจะส่งผลกระทบและ
ผูกพันถึงคนในอนาคตหรือในยุคต่อไปด้วย
ความสาคัญของการคลัง
การจัดสรรการใช้ทรัพยากรของสังคม (Allocation Function)
การกระจายรายได้ของสังคม (Distribution Function)
การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของสังคม (Stabilization Function)
ความเป็ นมาของการคลัง
ในสมัยก่อนบทบาทของรัฐบาลอยูใ่ นขอบเขตจากัด คือ ทาการรักษาความ
มัน่ คง ปลอดภัยทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ การศาล การฑูต กิจการด้าน
เศรษฐกิจเป็ นของเอกชน ต่อมาเมื่อประชาชนมีจานวนเพิ่มขึ้น รัฐมีขนาดใหญ่ข้ ึน
รัฐบาลจึงมีขอบเขตความรับผิดชอบ มากขึ้น ในระหว่างปี พ.ศ. 2472-2476 เกิด
ภาวะเศรษฐกิจตกตา่ ทัว่ โลกทาให้ประเทศต่าง ๆ เดือดร้อนกันทัว่ ไปนัก
เศรษฐศาสตร์การเมือง ชือ่ จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes) ได้
เสนอความเห็นว่า รัฐบาลควรจะเป็ นผูด้ าเนินการทางด้านเศรษฐกิจ เพื่อป้ องกันมิให้
เกิดปั ญหาทางด้านเศรษฐกิจ โดยใช้นโยบายการคลังดาเนินการควบคุมและแก้ไข
ปั ญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ้นในสังคม เนื่องจากแนวความคิดของเคนส์ทาให้รฐั บาลเข้ามา
แทรกแซงและมีบทบาทในทางเศรษฐกิจจนถึงปั จจุบนั
ความหมาย ประเภท ความสาคัญ ลักษณะของ
งบประมาณแผ่นดิน
งบประมาณแผ่นดิน หมายถึง แผนเกี่ยวกับการใช้จา่ ยของรัฐบาลและ
การจัดหารายรับให้เพียงพอกับการใช้จา่ ยในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติมี
ระยะเวลา 1 ปี ดังนัน้ จึงเรียกว่า งบประมาณแผ่นดินประจาปี ซึง่ จะเริม่ ต้นในวันที่
1 ตุลาคมของปี ไปจนถึงวันที่ 30 กันยายนของปี ถดั ไป สานักงบประมาณเป็ น
หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบจัดทางบประมาณแผ่นดินและนาเสนอเพื่อพิจารณา เมื่อ
ได้รบั อนุมตั แิ ล้วจึงตราออกมาเป็ นพระราชบัญญัตงิ บประมาณประจาปี เพื่อใช้
บังคับต่อไป
ประเภทของงบประมาณแผ่นดิน
งบประมาณสมดุล (Balanced budget) หมายถึง งบประมาณทีร่ ายได้
ของรัฐบาลรวมกันแล้วเท่ากับรายจ่ายของรัฐบาลพอดี ดังนัน้ รัฐบาลไม่
จาเป็ นต้องกูเ้ งินมาใช้จา่ ยหรือนาเงินคงคลังออกมาใช้
งบประมาณไม่สมดุล (Unbalanced budget) หมายถึง งบประมาณทีร่ ายได้ของ
รัฐบาลไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐบาล ถ้ารายได้ของรัฐบาลสูงกว่ารายจ่ายของรัฐบาล
เรียกว่า งบประมาณเกินดุล (Surplus budget) ซึง่ รัฐบาลจะมีรายได้เหลือจากการใช้จา่ ย
เงินคงคลังของรัฐบาลจะเพิ่มขึ้น ถ้ารายได้ของรัฐบาลตา่ กว่ารายจ่ายของรัฐบาล เรียกว่า
งบประมาณขาดดุล (Deficit budget) ซึง่ รัฐบาลต้องกูเ้ งินหรือนาเงินคงคลังออกมาใช้
จ่าย
ความสาคัญของงบประมาณ
• รัฐบาลใช้งบประมาณเป็ นเครือ่ งมือในการบริหารประเทศตามทีร่ ฐั บาลได้
แถลงนโยบายไว้
• รัฐบาลใช้งบประมาณเป็ นเครือ่ งมือในทางเศรษฐกิจ
• รัฐบาลใช้งบประมาณเป็ นเครือ่ งมือในทางสังคม
• รัฐบาลใช้งบประมาณเป็ นเครือ่ งมือในทางการเมือง
แหล่งที่มาของเงินงบประมาณ
1. รายได้ ประกอบด้วย
1. รายได้ทเ่ี ป็ นภาษีอากร (TAX REVENUE)
ภาษีอากรทัว่ ไป (GENERAL TAXES)
ภาษีเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง (EARMARKED TAXES)
2. รายได้ทมี่ ิใช่ภาษีอากร (NONTAX REVENUE)
รายได้จากการประกอบธุรกิจของรัฐบาล, รายได้จากการบริหารงาน, รายได้จาก
การบริจาค
2. การกูย้ ืมหรือการก่อหนี้สาธารณะในแต่ละปี
3. เงินคงคลัง
ลักษณะที่ดขี องงบประมาณแผ่นดิน
1.ต้องเป็ นศูนย์รวมเงินของแผ่นดิน
2.งบประมาณจะต้องถือหลักพัฒนา
3.งบประมาณจะต้องถือหลักประหยัด
4.งบประมาณจะต้องมีระยะเวลาทีเ่ หมาะสม
หนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะ (Public Debt) หมายถึง ข้อผูกพันของรัฐบาลซึง่ เกิดจาก
การกูย้ มื โดยตรง และการคา้ ประกันเงินกูโ้ ดยรัฐบาล รวมทัง้ เงินปริวรรตทีร่ ฐั บาล
รับรอง โดยรัฐบาลจะ ก่อหนี้สาธารณะเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณขาดดุล
หรือเพื่อการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่ เกิดขึ้น หรือเป็ นการกูย้ มื เพื่อใช้จา่ ยในกรณีท่ี
ไม่ได้ตงั้ งบประมาณไว้ เช่น เกิดภัยธรรมชาติ การเข้าร่วมสงครามแบ่งตาม
แหล่งทีม่ าของเงินกูไ้ ด้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
- หนี้ภายในประเทศ
- หนี้ตา่ งประเทศ
ประเภทของหนี้สาธารณะ
การแบ่งหนี้สาธารณะตามระยะเวลาของการกูไ้ ด้แก่ การแบ่งโดยถือเอาระยะเวลาของการชาระหนี้
คืนเป็ นหลัก ซึง่ อาจแบ่งออกได้เป็ น 3 ระยะ คือ ระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว
1.1 หนี้ระยะสัน้
(Short-Term Loan) หมายถึงหนี้ทมี่ ีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี โดยปกติจะมีระยะเวลา
ไม่เกิน 3 เดือน ความจาเป็ นในการก่อหนี้ระยะสัน้ เนื่องมาจากในระยะนัน้ รัฐบาลมีรายได้นอ้ ยกว่ารายจ่าย
1.2 หนี้ระยะกลาง (Medium-Term Loan) เป็ นหนี้ทมี่ ีการกาหนดระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตัง้ แต่
1 ถึง 5 ปี การกูป้ ระเภทนี้รฐั บาลจะนาเงินมาใช้จา่ ยในกิจการจาเป็ นบางประเภทซึง่ ในขณะนัน้ รัฐบาลยังหาเงิน
ไม่ได้ และกิจการนัน้ เมื่อทาเสร็จแล้วจะได้ผลประโยชน์คนื ในระยะเวลาไม่นานนักการกูป้ ระเภทนี้ไม่เป็ นทีน่ ิยม
กันมากนัก
1.3 หนี้ระยะยาว (Long-Term Loan) เป็ นหนี้ทม่ี ีการกาหนดระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตัง้ แต่ 5
ปี ข้ นึ ไป ปกติจะอยูร่ ะหว่าง 10 ถึง 20 ปี การก่อหนี้ประเภทนี้รฐั บาลจะออกพันธบัตรรัฐบาล (Government
Bond) เป็ นหลักฐานแสดงการรับรองการเป็ นหนี้ของรัฐบาล
ผลกระทบทางเศรษฐกิจของหนี้สาธารณะ
- ผลกระทบต่อมาตรฐานการดารงชีวติ
- อาจก่อให้เกิดภาวะเงินเฟ้ อ
- ผลกระทบต่อการบริโภคภายในประเทศ
- ปั ญหาต่อการระดมทุนของภาคเอกชน
- ผลกระทบต่อความมัน่ คงของประเทศชาติ
แหล่งเงินทุน
ธนาคารพาณิชย์ การจัดหาเงินทุนระยะสัน้ จากธนาคารพาณิชย์ของ
องค์การ
ใช้เอกสารเครดิต คือองค์การธุรกิจใช้เอกสารเครดิตในการกูเ้ งินจาก
เจ้าหนี้เอกสารทีใ่ ช้ในการกูร้ ะยะสัน้ ได้แก่ เช็คลงวันทีล่ ว่ งหน้า การขายลดตัว๋ เงินให้
ธนาคารหรือสถาบันการเงิน ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินให้เจ้าหนี้
สินเชือ่ ทางการค้า คือ องค์การธุรกิจจัดหาเงินทุนระยะสัน้ ได้ตาม
ประเพณีการค้า โดยการซื้อสินค้าเป็ นเงินเชือ่ ได้สนิ ค้าก่อนชานะเงินภายหลัง หรือ
การรับรองตัว๋ แลกเงินทีเ่ จ้าหนี้เป็ นผูอ้ อก
นโยบายการคลัง
นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) คือ นโยบายเกี่ยวกับการใช้จา่ ยและ
รายได้ของรัฐ เป็ นเครือ่ งมือสาคัญในการกาหนดแนวทาง เป้ าหมาย และการ
ดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลังประกอบด้วย
นโยบายภาษีอากร นโยบายด้านรายจ่าย นโยบายการก่อหนี้และบริหารหนี้
สาธารณะ และนโยบายในการบริหารเงินคงคลัง
ภาษีอากร
รายได้ทมี่ ิใช่ภาษีอากร หมายถึง รายได้ทรี่ ฐั บาลไปบังคับเก็บจาก
ประชาชน เช่น รายได้เก็บ จากภาคหลวงป่ าไม้ ภาคหลวงแร่ รายได้จากการรถไฟ
การไฟฟ้ า อุตสาหกรรมของรัฐ รายได้จากค่าธรรมเนียม จดทะเบียน การออก
ใบอนุญาตต่าง ๆ รายได้จากเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศและรายได้คา่ ปรับ
ดอกเบี้ย เงินกู ้ รายได้จากสลากกินแบ่งรัฐบาล ฯลฯ การแบ่งตามลักษณะของ
ฐานภาษี แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ดังนี้
การเก็บภาษีจากทรัพย์สนิ , การเก็บภาษีเงินได้จากผูม้ ีรายได้
นโยบายการคลังของประเทศไทย
ประเทศไทยยังมีศกั ยภาพค่อนข้างมากในสายตาของนักลงทุนทัง้ ไทย
และต่างชาติ สิง่ ทีท่ กุ ฝ่ ายเห็นตรงกันว่าเป็ นจุดแข็งของไทย คือ ภาวะเศรษฐกิจ
มหาภาคทีค่ อ่ นข้างแข็งแกร่งจากการดาเนินนโยบายของทัง้ ธนาคารแห่งประเทศ
ไทย และกระทรวงการคลัง แต่จดุ อ่อนทีส่ าคัญ คือ ความโปร่งใสของการวางแผน
นโยบายการคลัง และการใช้งบประมาณโดยขาดความรอบคอบในโครงการต่างๆ
การมีองค์กรในลักษณะ CBO จะช่วยเพิ่มความรูส้ กึ รับผิดชอบทางการคลัง และ
เพิ่มความสามารถของผูว้ างนโยบายและสังคมในการคัดกรองนโยบายการคลัง ซึง่
จะส่งผลดีตอ่ เศรษฐกิจไทยในระยะยาว