หุ้นรายเดือน - กรมส่งเสริมสหกรณ์

Download Report

Transcript หุ้นรายเดือน - กรมส่งเสริมสหกรณ์

โดย ...
รองศาสตราจารย์ ดร. สวัสดิ์ แสงบางปลา
 ประธานกรรมการดาเนินการ สหกรณ์ออมทรัพย์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากัด
 นักสหกรณ์แห่งชาติ
- หุน้ รายเดือน
เป็ นการบังคับออม
- หุน้ เพิม่ เป็ นครั้งคราว
เป็ นไปตามความสมัครใจออม
โดยทัว่ ไปจะมีระเบียบการถือหุน้ เป็ นแบบตารางกาหนด
เป็ นช่วง ๆของเงินได้รายเดือน (เงินเดือน) ซึ่งยากต่อการจดจา
ต้องเปิ ดตารางดูเสมอ
ข้อเสนอแนะ
ให้เปลีย่ นระเบียบเป็ นร้อยละของ
เงินได้รายเดือน (เงินเดือน) ควรเป็ นอย่างน้อยร้อยละ 5
เมือ่ ต้องคานวณได้ตวั เลขเป็ นเศษของสิบบาทให้ปัดขึ้ นเป็ น
10 บาท (1 หุน้ = 10 บาท)
โดยทัว่ ไปสหกรณ์ไม่ส่งเสริมให้สมาชิกออม
บางสหกรณ์กาหนดไม่ให้เกินร้อยละ 20-50
ของเงินเดือน หรือบางสหกรณ์กาหนดเป็ นยอดเงิน
เพิม่ หุน้ ได้กพี่ นั กีห่ มืน่ บาทก็มี
ข้อเสนอแนะ สูงสุดไม่เกินร้อยละ 90 ของเงินเดือน
โดยทัว่ ไปคณะกรรมการดาเนินการ จะคิดว่า
ถ้ามีหนุ้ มากบริหารยาก เพราะหุน้ มีตน้ ทุนสูง เพราะต้อง
จ่ ายเงินปั นผลมาก
แท้จริงแล้ว หุน้ ไม่มีตน้ ทุนเลย (ไม่ใช่เงินรับฝาก
ทีม่ ีดอกเบี้ ยเป็ นต้นทุน) เมือ่ มีกาไรแล้ว จึ งจะจัดสรร
เป็ นเงินปั นผล ถ้ากาไรต่อหุน้ สูงก็เพิม่ อัตราเงินปั นผลให้
แต่ถา้ กาไรต่อหุน้ ตา่ กว่าปี ทีผ่ ่านมา ก็ลดอัตราเงินปั นผลได้
ตามทีส่ หกรณ์ส่วนใหญ่ปฏิบตั ิ คือ ต้องพยายามคง
อัตราเงินปั นผลไว้เท่าเดิมเสมอ น่าจะเพิม่ /ลด ตามกาไร
ต่อหุน้ มาก/น้อยตามลาดับ
ข้อเสนอแนะ ให้ระดมหุน้ เพือ่ ประโยชน์ในการ
บริหารเงินของสหกรณ์ คือ
- เพือ่ ให้มีหนุ้ เพียงพอให้สมาชิกกู ้ โดยพึง่ ตนเอง
ไม่ตอ้ งกูย้ มื เงินใครมาให้สมาชิกกู ้ ยืนบนขาของตนเอง
- ถ้ามีหนุ้ มากกว่าสมาชิกกู ้ ก็ให้นาเงินส่วนนี้ ไปลงทุน
ระยะยาว เพือ่ จะได้ผลตอบแทนสูง
- สมาชิกใช้เป็ นหลักประกันในการกู ้ โดยกาหนดว่า
ให้กูไ้ ม่เกิน 90% ของมูลค่าหุน้ ทีส่ มาชิกถือ ควรกาหนดให้
สมาชิกกูว้ นซ้ าได้อย่างน้อยเดือนละครั้ง ไม่ตอ้ งดูเงินเดือน
ว่าจะพอหักหรือไม่ก็ตาม แต่ให้หกั จากบัญชีออมทรัพย์ของ
สมาชิกผูก้ ูท้ ุกเดือน
เป็ นหน้าทีข่ องสมาชิกผูก้ ูต้ อ้ งนาเงินเข้าบัญชี
ออมทรัพย์ให้พอหักเงินต้นพร้อมดอกเบี้ ยทุกๆ เดือน
ถ้าจะให้มีหนุ้ เพิม่ มากขึ้ นอีก ควรกาหนดว่า การกู ้
โดยใช้หนุ้ ค้ าประกันเป็ นการกูเ้ งินด่วน และไม่ตอ้ งขอ
คายินยอมจากคู่สมรส เป็ นต้น
- เงินฝากออมทรัพย์
ไม่เสียภาษีของดอกเบี้ยที่ได้ รับ
- เงินฝากประจา
เสียภาษี 15% ของดอกเบี้ยที่ได้ รับ
โดยทัว่ ไป สหกรณ์ท้ งั หลายจะมีเงินฝากออมทรัพย์พิเศษด้วย
โดยกาหนดว่าให้ถอนเงินได้เดือนละหนึง่ ครั้ง ถ้าถอนครั้งถัดไป
จะต้องจ่ ายค่าธรรมเนียม โดยคิดว่าสมาชิกเสียดายเงินค่าธรรมเนียม
จะได้ไม่ถอนเงินฝาก
สหกรณ์บางแห่งกาหนดให้สมาชิกเปิ ดบัญชีออมทรัพย์
พิเศษได้เกินกว่าหนึง่ บัญชี เพือ่ ให้สมาชิกไม่ตอ้ งจ่ ายค่าธรรมเนียม
ดังกล่าวนั้น
ข้อเสนอแนะ ไม่จาเป็ นต้องมีเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
มีเพียงเงินฝากออมทรัพย์เดียวก็พอ จะกาหนดอัตราดอกเบี้ ยเงิน
รับฝากเป็ นพิเศษอย่างไรก็ได้ สมาชิกจะถอนเดือนละกีค่ รั้งก็ไม่ตอ้ ง
เก็บค่าธรรมเนียมให้ย่งุ ยาก
ส่งเสริมให้สมาชิกนาเงินทีเ่ หลือใช้ในวันเสาร์-อาทิตย์
มาฝากตอนบ่ายวันศุกร์ และให้ถอนไปเก็บไว้ในกระเป๋ า
ในวันจันทร์เป็ นการออมทรัพย์ได้ดอกเบี้ ย 3 วันใน 7 วัน
ทุกสัปดาห์
ข้อเสนอแนะ ให้สมาชิกมีบญั ชีเงินฝากออมทรัพย์
ทุกคน เมือ่ ประชุมใหญ่แล้วอนุมตั ิการจัดสรรกาไรสุทธิ สหกรณ์
นาเงินปั นผลและเงินเฉลีย่ คืนฝากเข้าบัญชีออมทรัพย์ทุกคน
ทาให้ไม่มีเงินปั นผลและเงินเฉลีย่ คืนค้างจ่ าย
ข้อเสนอแนะ
ในการบริหารเงินรับฝากให้มีตน้ ทุนตา่ คือ
กรณีดอกเบี้ ยขาขึ้ น
กาหนดอัตราดอกเบี้ ยเงินฝากประจาให้มีผลตอบแทน
หลังจากหักภาษีแล้ว สูงกว่าอัตราดอกเบี้ ยเงินฝากออมทรัพย์
เพือ่ ให้สมาชิกย้ายเงินจากเงินฝากออมทรัพย์ไปฝากประจา
สหกรณ์จะต้องจ่ ายดอกเบี้ ยเงินฝากประจาเฉพาะเงินทีฝ่ ากใหม่
เท่านั้น ทาให้เพิม่ ต้นทุนไม่มาก
กรณีดอกเบี้ ยขาลง
กาหนดอัตราดอกเบี้ ยเงินฝากออมทรัพย์ให้สูงกว่าอัตรา
ดอกเบี้ ยเงินฝากประจาทีห่ กั ภาษีแล้ว เมือ่ สหกรณ์ลดอัตรา
ดอกเบี้ ยทั้ง 2 ประเภท จะทาให้ตน้ ทุนลดลงเร็วขึ้ น
ถ้าจะให้สหกรณ์มีเงินออมเหลือในบัญชีออมทรัพย์ของ
สมาชิกเพิม่ ขึ้ น สหกรณ์ตอ้ งกาหนดให้จ่ายเงินกู ้ โดยนาฝาก
เข้าบัญชีออมทรัพย์ของผูก้ ูท้ ุกคน แนะนาให้สมาชิกถอนเงิน
ไปใช้หลาย ๆ ครั้ง ตามความจาเป็ นในการใช้เงิน ทาให้สมาชิก
เสียดอกเบี้ ยเงินกูถ้ ูกกว่า
เงินกูท้ ีค่ า้ งอยู่ในบัญชีออมทรัพย์จะเสียดอกเบี้ ยเท่ากับ
ส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ ยเงินกู ้ ลบด้วย อัตราดอกเบี้ ยเงินฝาก
จะเป็ นการได้เงินเฉลีย่ คืนทางอ้อมนันเอง
่
ตัวอย่าง
สหกรณ์แห่งหนึง่ กาหนดอัตราดอกเบี้ ยเงินกู ้ 7% ต่อปี
อัตราดอกเบี้ ยเงินฝากออมทรัพย์ 3% ต่อปี
มีสมาชิกคนหนึง่ กูฉ้ ุ กเฉิน 4,000 บาท ชาระหนี้ คืนงวดเดียว
สัปดาห์ที่ 1
สัปดาห์ที่ 2
สัปดาห์ที่ 3
สัปดาห์ที่ 4
ถอนเงินไปใช้ 1,000 บาท
ถอนเงินไปใช้ 1,000 บาท
ถอนเงินไปใช้ 1,000 บาท
ถอนเงินไปใช้ 1,000 บาท
ฝากไว้ 3,000 บาท
ฝากไว้ 2,000 บาท
ฝากไว้ 1,000 บาท
เหลือเงินในบัญชี
ไม่นอ้ ยกว่า 100 บาท
สมาชิกผูน้ ี้ กูฉ้ ุ กเฉินทุกเดือนทั้งปี จะเสียดอกเบี้ ยเงินกูใ้ ห้
สหกรณ์ 4,000 บาท × 7% = 280 บาท
สมาชิกจะได้รบั ดอกเบี้ ยเงินฝากออมทรัพย์
(1) 3,000 บาท 12 สัปดาห์ = 3,000 × 3% × 12/52
= 20.77 บาท
(2) 2,000 บาท 12 สัปดาห์ = 2,000 × 3% × 12/52
= 13.85 บาท
(3) 1,000 บาท 12 สัปดาห์ = 1,000 × 3% × 12/52
= 6.92 บาท
รวมได้ดอกเบี้ ยเงินฝาก = 41.54 บาท
เสมือนได้รบั เงินเฉลีย่ คืน = 41.54/280.00 = 14.84%
ของดอกเบี้ ยเงินกูน้ นเอง
ั่
ข้อเสนอแนะ
ให้สหกรณ์ระดมเงินฝากให้มาก ๆ เพือ่ ประโยชน์ในการ
บริหารเงินของสหกรณ์ คือ
- มีเงินพอให้สมาชิกกู ้ โดยไม่ตอ้ งกูเ้ งินใครมาให้สมาชิกกู ้
- เป็ นการลดต้นทุน โดยปกติอตั ราดอกเบี้ ยเงินกูจ้ าก
ภายนอก จะสูงกว่าอัตราดอกเบี้ ยเงินรับฝากจากสมาชิก
- ทาให้สมาชิกผูม้ ีเงินฝากได้รบั ประโยชน์ แทนที่จะจ่ าย
ดอกเบี้ ยเงินกูใ้ ห้กบั ผูอ้ ื่น
ถ้าทาได้ พยายามระดมเงินรับฝากให้สูงกว่า 3 เท่าของหุน้
เงินรับฝากทีเ่ หลือจากให้สมาชิกกู ้ นาไปลงทุนได้ประโยชน์
ตอบแทนเป็ นกาไรของสหกรณ์ ทาให้จ่ายเงินปั นผลและเงินเฉลีย่ คืน
เพิม่ ขึ้ นได้ และสามารถลดอัตราดอกเบี้ ยเงินทีใ่ ห้สมาชิกกูไ้ ด้อีก
ถ้าสหกรณ์ทาได้ โดยมีหนุ้ เพียงพอให้สมาชิกกู ้ และมีเงิน
รับฝากสูงกว่าหุน้ (ควรเป็ นอย่างน้อย 3 เท่า) จะทาให้อตั ราดอกเบี้ ย
เงินกูส้ ุทธิ (หักเฉลีย่ คืนแล้ว) ตา่ กว่าอัตราเงินปั นผล
การจัดสรรกาไรสุทธิ
ทุนสารอง
โดยปกติสหกรณ์จะจัดสรรกาไรสุทธิเป็ นทุนสารองเท่ากับ
10% ของกาไรสุทธิเสมอ ซึ่งถูกต้องตามกฎหมายกาหนด
แต่ไม่ทาให้สหกรณ์เจริญเติบโต สังเกตได้จากทุนสารองจะมียอด
อยู่ระหว่าง 6-7% ของทุนเรือนหุน้ เท่านั้น จะลดอัตราดอกเบี้ ย
เงินทีส่ มาชิกกูย้ าก และได้เงินปั นผลไม่สูง
ทุนสะสมตามข้อบังคับ
ประกอบด้วย
- ทุนการศึกษาบุตรสมาชิก
- ทุนสาธารณประโยชน์
- ทุนสวัสดิการสมาชิก
- ทุนรักษาระดับเงินปั นผล
- ทุนสร้างสานักงาน
ฯลฯ
สหกรณ์เป็ นองค์การสวัสดิการ ต้องจัดสรรเป็ นทุนสะสม
มากขึ้ น โดยเฉพาะเพิม่ ทุนสวัสดิการสมาชิก
ข้อ่สนอแนะ
จัؔ สรรกาไรสุทธิเป็ นทุนสารองและทุนสะสมฯ ไม่นอ้ ࠢ
กว่า 30% ของกาไรสุทธิ เผมาะรัฐไม่เก็บภาษีกาไรจากสหกรณ์
ดังนั้น สหกรณ์ควรต้องนาเงินทਵ่่ ไਡ่่ ต้องจ่ ายภาษี มาเก็บ
ไว้เ่ࠢ็ น
ทุนสารอง 15% และเป็ นทุนสะสมฯ 15% เพือ่ ความมันคง
่
ของสหกรณ์ และสมาชิกมังคั
่ ง่ ยังยื
่ นตลอดไป
สมาชิกได้รบั สวัสดิการมากมายและเหลือเฟื อ จากเกิด
ยันตายก็ยงิ่ ดี
ถ้าจะให้ดี กาหนดการจัดสรรกาไรสุทธิไว้ในข้อบังคับ
ให้ไม่นอ้ ยกว่า 15% ของกาไรสุทธิ ส่วนทุนสวัสดิการสมาชิก
ไม่เกิน 10% ของกาไรสุทธิ ซึ่งถ้าทาได้ให้จดั เป็ นทุนสวัสดิการ
สมาชิก 10% ของกาไรสุทธิ อย่างน้อย 5 ปี ต่อเนือ่ ง
กาหนดระเบียบเงินสวัสดิการเพิม่ ขึ้ นเรือ่ ยๆ ทีละระเบียบ
เพิม่ วงเงินสวัสดิการขึ้ นทีละน้อย ๆ
พึงจดจาไว้ว่า เมือ่ มีสวัสดิการแล้วจะลดหรืองดไม่ได้
อย่างเด็ดขาด
เงินที่ให้สมาชิกกู ้
โดยปกติมี 3 ประเภท
- เงินกูเ้ พือ่ เหตุฉุกเฉิน
- เงินกูส้ ามัญ
- เงินกูพ้ เิ ศษ
เงินกูเ้ พือ่ เหตุฉุกเฉิน
ปั จจุบนั พัฒนาไปในทางทีไ่ ม่เหมาะสม โดยเพิม่ วงเงินกูย้ ืม
สูงขึ้ น และขยายงวดชาระหนี้ ออกไปจนเป็ น 12 งวดเดือน
บางแห่งเป็ น 24 งวดเดือน ทีถ่ ูกควรจะเป็ นไม่เกิน 2 งวดเดือน
เท่านั้น จึ งจะเรียกว่าเงินกูเ้ พือ่ เหตุฉุกเฉิน บัดนี้ กลายเป็ นเงินกู ้
สามัญระยะสั้นไปแล้ว
เงินกูส้ ามัญ
ปั จจุบนั สหกรณ์ท้ งั หลายกาหนดวงเงินกูเ้ กิน 1 ล้านบาท
และส่งงวดชาระหนี้ สูงถึง 120 งวด หรือ 180 งวดก็มี ซึ่งเกินเลย
ไปมากกว่าเงินกูร้ ะยะปานกลาง จนกลายเป็ นเงินกูร้ ะยะยาวไปแล้ว
สหกรณ์บางแห่งขยายการชาระหนี้ ไปจนถึงอายุ 65 ปี
บางแห่งจัดให้มีเงินกูส้ ามัญ 1 เงินกูส้ ามัญ 2 เงินกูเ้ พือ่ การนั้น
การนี้ เป็ นต้น
ข้อเสนอแนะ
เมือ่ กาหนดให้มีการกูท้ ีม่ ีวงเงินกูส้ ูง และระยะเวลาการชาระ
หนี้ ยาวเกินไปแล้ว จะลดวงเงินหรือลดงวดการชาระหนี้ ก็คงยาก
วิธีแก้คือ อนุมตั ิเงินกูใ้ ห้สมาชิกผูใ้ ด ต้องคานึงว่าไม่ให้ระยะเวลา
การชาระหนี้ เกินอายุ 60 ปี ของสมาชิกผูน้ ้นั ซึ่งจะช่วยให้จานวน
งวดชาระหนี้ ไม่ถงึ สูงสุด และวงเงินกูจ้ ริงจะได้ไม่ถงึ สู งสุดอีกด้วย
ถ้าผ่อนปรนบ้างก็เป็ นได้โดยให้หนี้ คงเหลือตอนอายุของ
สมาชิกถึง 60 ปี ไม่เกินค่าหุน้ บวกด้วยเงินบาเหน็จ หรือใช้เงิน
บานาญเพียงพอชาระหนี้ ต่อไปได้
เงินกูพ้ เิ ศษ
โดยปกติสหกรณ์ส่วนใหญ่ไม่เปิ ดเงินกูพ้ ิเศษ หรือปล่อย
เงินกูพ้ ิเศษจานวนน้อยราย มุ่งเน้นเงินกูเ้ พือ่ เหตุฉุกเฉินกับ
เงินกูส้ ามัญเท่านั้น
ทาเช่นนี้ สหกรณ์ไม่ได้ช่วยให้สมาชิกมีบา้ นและทีด่ ิน
เป็ นของตนเอง โดยคิดว่าขาดประสบการณ์ แต่ไม่พยายาม
ศึกษาหาความรูเ้ พิม่ เติม
ข้อเสนอแนะ
ให้กาหนดระเบียบเงินกูพ้ ิเศษ โดยให้สมาชิกซื้ อบ้าน
และทีด่ ินจากโครงการบ้านจัดสรร ซึ่งรูร้ าคาจะซื้ อจะขาย
สหกรณ์จะกาหนดให้เพดานเงินกูพ้ ิเศษสูงสุดเท่ากับ
ราคาจะซื้ อจะขายเลยก็ได้ เพือ่ ให้สมาชิกหิ้ วกระเป๋ าเข้าพัก
ได้เลย ไม่ตอ้ งหาเงินมาดาวน์ก็ยงิ่ ดี ค่อยๆ ทาทีละรายสองราย
โดยรวมให้อนุมตั ิเงินกูพ้ ิเศษแต่ละเดือนเท่า ๆ กับเงินค่าหุน้
ทีไ่ ด้เพิม่ ขึ้ นในแต่ละเดือน เงินค่าหุน้ เป็ นเงินระยะยาวปล่อยกู ้
ระยะยาวได้อย่างไม่เดือดร้อน
การลงทุน
โดยปกติสหกรณ์ไม่ได้พิจารณาลงทุนอะไรกันนัก
บางสหกรณ์มีเงินเหลือ จะคิดง่าย ๆ โดยขยายวงเงินกูแ้ ต่ละ
ประเภทให้สูงขึ้ น และอาจจะเพิม่ งวดชาระหนี้ ให้ยาวขึ้ นอีก
เพือ่ ให้สมาชิกสามารถกูเ้ พิม่ ได้ เงินทีเ่ หลือจะได้หมดไป
การคิดเช่นนี้ เป็ นการคิดผิดอย่างยิง่ ไม่ควรแก้ปัญหา
เงินเหลืออย่างนี้ ควรนาเงินทีเ่ หลือไปลงทุนอื่นๆ ตามกฎหมาย
สหกรณ์มาตรา 62 และประกาศของคณะกรรมการพัฒนาการ
สหกรณ์แห่งชาติ (คพช)
อย่าคิดสั้นโดยรีดเลือดจากปู คือให้สมาชิกกู ้
สมาชิกจะมีหนี้ สินเพิม่ ขึ้ น ควรส่งเสริมการออมทรัพย์
ไม่ใช่ส่งเสริมการกูเ้ งิน
ควรหากินทีอ่ ื่นเพือ่ ให้ได้ผลประโยชน์ตอบแทน
จากการลงทุนมาเป็ นผลกาไรมากขึ้ น เพือ่ จะเพิม่ อัตรา
เงินปั นผล หรือเพิม่ เงินเฉลีย่ คืน หรือเพิม่ เงินสวัสดิการ
ให้แก่สมาชิกมากขึ้ น จะเหมาะสมอย่างยิง่
หลักเกณฑ์ การลงทุนง่าย ๆ คือ
เงินเหลือระยะสั้น นาไปลงทุนระยะสั้น
เงินเหลือระยะยาว นาไปลงทุนระยะยาว
การลงทุนระยะยาว ผลตอบแทนดีกว่าการลงทุนระยะสั้น
ข้อเสนอแนะ
ให้แบ่งเงินเหลือออกเป็ น 5 ส่วน นาแต่ละส่วนไปลงทุน
1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี และ 5 ปี เมือ่ ครบปี แรก เงินลงทุน 1 ปี
จะครบกาหนด ให้นาไปลงทุน 5 ปี ปี ต่อไปเงินลงทุน 2 ปี
จะครบกาหนด ก็นาไปลงทุน 5 ปี อีก
ทาเช่นนี้ ทุกๆ ปี จะพบว่าสหกรณ์จะได้ผลตอบแทนเฉลีย่
สูงสุด ไม่ว่าจะเป็ นกรณีดอกเบี้ ยขาขึ้ นหรือขาลงก็ตาม
กระแสเงินสด (Cash Flow)
สหกรณ์ส่วนใหญ่ไม่จดั ทากระแสเงินสด
เป็ นรายวัน จะให้ดี ต้องทาการคาดคะเนล่วงหน้า
60 วัน เพือ่ ให้ทราบว่าสหกรณ์จะเตรียมเงินไว้ใช้
ให้เพียงพอทุกวันตลอดเวลา
รองศาสตราจารย์ ดร.สวัสดิ์ แสงบางปลา
การศึกษา
- วศ.บ. (เกียรตินิยม), วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาฯ
- Ph.D. (Computer), The University of Liverpool ประเทศอังกฤษ
ประสบการณ์
- ประธานกรรมการดาเนิ นการสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากัด
22 ปี
4 ปี
8 ปี
2 ปี
2 ปี
- ที่ปรึกษา สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากัด
- ประธานกรรมการดาเนิ นการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จากัด
- ที่ปรึกษา ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จากัด
- ประธานกรรมการดาเนิ นการสันนิ บาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย
- กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ / กรรมการผูแ้ ทน ชสอ. ในคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช) หลายสมัย
- ประธานกรรมการบริษทั สหประกันชีวิต จากัด
1 ปี
- ประธานกรรมการ สมาคมสมาพันธ์สหกรณ์ออมทรัพย์และเครดิตในเอเชีย (ACCU)
1 ปี
- นายกสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
2 ปี
- บุคคลดีเด่นด้านไอที สมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยี สารสนเทศ ประจาปี 2538
- นักสหกรณ์แห่งชาติ สาขาบริหารและส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์ ประจาปี 2542
- นักเรียนเก่าดีเด่น โรงเรียนบางพลี ราษฎร์บารุง สมุทรปราการ ประจาปี 2543
- รางวัลเชิดชูเกียรติยศ (Recognition Award) สมาคมสมาพันธ์สหกรณ์ออมทรัพย์และเครดิตในเอเชีย (ACCU) ประจาปี 2544
ปัจจุบนั :
-ประธานกรรมการดาเนิ นการ สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากัด
มือถือ 08-1617-1358