การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโว่ความเย็น

Download Report

Transcript การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโว่ความเย็น

การบริหารจัดการคลังวัคซีน
และระบบลูกโซ่ความเย็น
นำเสนอโดย ภญ.สุมะนำ พัฒโนภำษ
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
ภญ.วรรณิภำ ธำนีรตั น์
1
Vaccine cold chain
ผูผ้ ลิตวัคซีน
ต่างประเทศ
กรมควบคุมโรค
ท่าอากาศยานกรุงเทพ
รถห้องเย็น
รถห้องเย็น
ผูผ้ ลิตวัคซีนในประเทศ
สานักงานป้ องกันควบคุมโรค
สอ./ PCU
สำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัด
รพ. (CUP) / สสอ.
Sensitivity to heat
most sensitive
Least sensitive
OPV
 Measles, MMR
 DTP, yellowfever
 BCG
 JE (liquid)
 dT, TT, Hep B

วัคซีนไวต่ออุณหภูมิ
Heat
8oC
เสื่ อมคุณภาพ ก่อนวันหมดอายุ
เช่ น ที่ 37 °C เสื่ อมคุณภาพหมด
ใน 72 ชม.
2oC
OPV
Freezing
Sensitivity to Cold
most sensitive
Hep B
 JE (liquid)
 DTP
 dT
 TT

least sensitive
วัคซีนไวต่ออุณหภูมิ
Heat
8oC
2oC
Freezing
เสื่ อมคุณภาพ ก่อนวันหมดอายุ
เช่ น ที่ 37 °C เสื่ อมคุณภาพหมด
ใน 4 สั ปดาห์
HB
เมื่อแข็งตัว เสื่ อมคุณภาพทันที
Sensitivity to light
 BCG
 Measles
 Rubella
 MMR
การบริหารจัดการวัคซีนและ
ระบบลูกโซ่ความเย็น
 การวางแผนระบบลูกโซ่ความเย็น
 การบริหารจัดการด้านการเบิกจ่ายวัคซีน
การขนส่งวัคซีน
การเก็บรักษาวัคซีน อุปกรณ์ และการดูแลรักษา
การวางแผนระบบลูกโซ่ความเย็น
 มีผร้ ู บ
ั ผิดชอบที่ผา่ นการฝึ กอบรมให้มีความรู้ความ
เข้าใจถูกต้อง
 สารวจอุปกรณ์ ที่ใช้ในการเก็บรักษาความเย็น
 การวางแผนบารุงรักษาและซ่อมแซมอุปกรณ์
 การวางแผนในการเบิกจ่าย
 การวางแผนในกรณี ฉุกเฉิน
ทำไมต้องให้ควำมสำคัญกับระบบลูกโซ่ควำมเย็น

อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทำให้ควำมแรงของวัคซีนลดลงเร็วขึ้น

วัคซีนบำงชนิดจะสูญเสียควำมแรงไปเลย ถ้ำอยูใ่ น
อุณหภูมิที่ทำให้แข็งตัว

เมื่อวัคซีนเสื่อมสภำพ ผูร้ บั บริกำรไม่ได้รบั กำรป้องกัน
โรค

วัคซีนที่เสื่อมสภำพจำก freezing ฉีดแล้วจะเกิดเป็ นไต
แข็ง
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
การเบิก-จ่ายวัคซีน
 สถานบริการใช้ แบบฟอร์ม ว. 3/1 ในการเบิก
และรายงานผลการให้บริการ
 การคานวณจานวนวัคซีนที่ต้องการใช้ในการ
ให้บริการ
 การตรวจรับวัคซีน
 ทะเบียนรับ - จ่ายวัคซีน / สต็อกการ์ด
แบบ.ว 3/1
ที่ ………………………………..
เรื่อง
เรียน
สานักงาน ……………………………….
วันที่ …. เดือน ……………….. พ.ศ. ….
ขอเบิกวัคซีนงานสร้ างเสริมภูมิค้ มุ กันโรค
…………………………………………
สานักงาน ………………………………………………………… ขอเบิกวัคซีนต่าง ๆ ดังนี ้
ข้ อมูลการเบิกวัคซีน เดือน …………………..
วัคซีน
เป้าหมาย
(คน)
จานวนวัคซีน (ขวด)
ผลการให้ วัคซีนเดือนทีผ่ ่านมา……………..
จานวนผู้รับ จานวนวัคซีน อัตราสูญเสีย
ทีต่ ้ องการใช้ ยอดคงเหลือยกมา ทีข่ อเบิก บริ การ (คน) ทีเ่ ปิ ดใช้ (ขวด)
(ร้อยละ)
1.BCG
เด็กแรกเกิ ด
ป.1
2.HB
3. DTP
4. OPV
5. M
6. JE
7. MMR
8 dT
ป.1
ป.6
9. T
หมายเหตุ 1. จานวนวัคซีนที่ขอเบิก = จานวนวัคซีนที่ต้องการใช้ – ยอดคงเหลือยกมา
2. อัตราสูญเสีย
= จานวนวัคซีนที่เปิ ดใช้ (โด๊ ส) – จานวนผู้มารับบริ การ x 100
จานวนวัคซีนที่เปิ ดใช้ (โด๊ ส)
3.จานวนวัคซีนที่เปิ ดใช้ = จานวนขวด x ขนาดบรรจุตอ่ ขวด
ขอแสดงความนับถือ
( ……………………………………)
ตาแหน่ง …………………………………………
แบบฟอร์ มการเบิกวัคซีน ว.3/1
การใช้ ใบเบิก ว.3/1ทุก
แห่ ง
ลงรายการไม่ ครบ
ทุกช่ อง
กำรคำนวณจำนวนวัคซีนที่ตอ้ งกำรใช้ในกำรให้บริกำร
จานวนวัคซีนที่ต้องการใช้ (ขวด) =
100 x จานวนเด็ก
(100- อัตราสู ญเสี ย) x ขนาดบรรจุต่อขวด
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
กำรคำนวณจำนวนวัคซีนที่ตอ้ งกำรใช้ในกำรให้บริกำร
หรือจำนวนวัคซีนที่ตอ้ งกำรใช้ = จำนวน เด็ก x 1.11 (สูญเสีย 10 %)
(โด๊ส)
= จำนวน เด็ก x 1.33 (สูญเสีย 25 %)
= จำนวน เด็ก x 2 (สูญเสีย 50 %)
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
กำรคำนวณอัตรำสูญเสียที่เกิดขึ้นจริง
จานวนวัคซีนทีเ่ ปิ ดใช้ (โด๊ ส) - จานวนผู้มารับบริการ
X 100
อัตราสู ญเสี ยของวัคซีน =
* จานวนวัคซีนทีเ่ ปิ ดใช้ (โด๊ ส)
* จานวนวัคซีนที่เปิ ดใช้ ให้ รวมวัคซีนที่ทงิ้ โดยไม่ ได้ เปิ ดใช้
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
สิ่งที่ควรระบุไว้ในทะเบียนรับ-จ่ำยหรือสต็อกกำร์ด

ชื่อของวัคซีน หรือตัวทำละลำย
 จำนวนโด๊ส/ขนำดบรรจุ
 วันที่รบ
ั วัคซีนและวันที่จำ่ ยวัคซีน
 ผูผ
้ ลิตวัคซีน/ผูน้ ำเข้ำวัคซีน
 รุน
่ กำรผลิต(Lot number)
 วันหมดอำยุ(Expiration date)
ทะเบียนรั บ-จ่ ายวัคซีนหรื อสต๊ อคการ์ ด
การบรรจุและการขนส่ง
พาหนะที่ใช้ในการขนส่งวัคซีน : ต้องไม่ทาให้
วัคซีนสัมผัสกับแสงแดดโดยตรง


กระติกวัคซีน

 ใช้ในกำรขนส่งหรือเก็บวัคซีนชั ่วครำว
Vaccine carrier
เหมือนหีบเย็น แต่มีขนำดเล็กกว่ำ
ควรเก็บควำมเย็นได้นำน 48 ชั ่วโมง
ควรมีไอซ์แพคขนำดพอดีกบั กระติก

 กำรจัดเรียงวัคซีนลงในกระติก/ หีบเย็น
 ควรนำไอซ์แพคออกมำวำงนอกตูเ้ ย็นจนมีหยดน้ำเกำะก่อน
แล้วจึงวำงรอบกระติกทั้ง 4 ด้ำน
 ห่อวัคซีนแล้ววำงไว้กลำงกระติก / หีบเย็น
 ปิ ดฝำให้สนิท
 ระหว่ำงให้บริกำร ห้ำมวำงวัคซีนบนไอซ์แพคที่ยงั เป็ นน้ำแข็ง
แต่ควรวำงในแผ่นโฟมที่อยูใ่ นกระติกวัคซีน
ถ้ำมีขวดวัคซีนที่เปิ ดใช้แล้วให้เสียบขวดวัคซีนไว้ที่แผ่นฟองน้ ำ
จะทำให้วคั ซีนไม่ปนเปื้ อนเมื่อวำงแช่อยูใ่ นน้ ำที่กน้ กระติก
Vaccine carrier with foam-pad
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
ถ้ำไอซ์แพคในหีบเย็น/กระติกวัคซีนละลำยหมด
 ทิ้งวัคซีนที่ผสมใช้แล้วทุกขวด
 ตรวจสอบเครื่องหมำย VVM ที่อยูข
่ ำ้ งขวดวัคซีนแต่ละขวด
ถ้ำสีในสี่เหลี่ยมมีควำมเข้มน้อยกว่ำสีที่อยูใ่ นวงกลม ให้เก็บ
วัคซีนขวดนั้นเข้ำตูเ้ ย็นให้เร็วที่สุด
 ถ้ำไม่มีเครื่องหมำย VVM และวัคซีนอยูใ่ นอุณหภูมิที่อน
ุ่ ขึ้น
ประมำณ 2-3 ชั ่วโมง รีบนำเก็บวัคซีนในตูเ้ ย็น และวำงไว้ใน
กล่องที่เขียนว่ำ ใช้ก่อน และใช้วคั ซีนเหล่ำนี้ก่อนขวดอื่น
ถ้ำจำเป็ นต้องใช้น้ ำแข็งแทนไอซ์แพค

ให้นำน้ ำแข็งใส่ถุงและวำงไว้กน้ กระติก

ใส่วคั ซีน น้ ำยำละลำย ในถุงพลำสติกและปิ ดปำกถุงไว้เพื่อ
ป้องกันไม่ให้ฉลำกหลุดลอกเมื่อน้ ำแข็งละลำย

วำงห่อวัคซีนโดยมีแผ่นกระดำษหนำวำงกั้นน้ ำแข็ง ไม่ให้
วัคซีนสัมผัสน้ ำแข็งโดยตรง

ห้ำมวำงน้ ำแข็งบนห่อวัคซีน
24
กำรเก็บรักษำวัคซีน อุปกรณ์และกำรดูแลรักษำ
OPV
BCG
Measles
MMR
HepB
DTP
DTP-HepB
JE
TT
dT
Influenza
Rabies
-15oC to -25oC
+2° C to +8° C
+2° C to +8° C.
กำรเก็บรักษำวัคซีน อุปกรณ์และกำรดูแลรักษำ
คุณสมบัตขิ องตูเ้ ย็นที่ใช้เก็บวัคซีน
 สำมำรถรักษำอุณหภูมิได้คงที่ตลอดทั้งปี
 เก็บรักษำควำมเย็นไว้ได้นำน เมื่อไฟฟ้ำดับ
10 ปี
 ใช้ในกำรจัดเก็บวัคซีนเพียงอย่ำงเดียว
 มีอำยุกำรใช้งำนน้อยกว่ำ
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
กำรจัดเก็บวัคซีนในตูเ้ ย็น

ควรเก็บวัคซีนไว้ในกล่อง
โดยเฉพำะวัคซีนที่ไวต่อแสง
(M, MMR, BCG)
 วำงกล่องวัคซีนไว้ในตะกร้ำโปร่ง
เพื่อให้ควำมเย็นไหลเวียนได้ทั ่วถึง
 ติดป้ำยชื่อวัคซีนที่ช้น
ั วำงหรือ
ตะกร้ำเพื่อป้องกันกำรหยิบผิด
 วำงเทอร์โมมิเตอร์ไว้ตรงกลำง
วัคซีนที่ไวต่อควำมเย็นจัด
27
เก็บวัคซีนที่หมดอำยุก่อนไว้ดำ้ นนอกหมดอำยุหลังไว้ดำ้ นใน
(First Expire First Out) เพื่อให้กำรหยิบใช้เป็ นไปตำมลำดับ
28
ไม่เก็บยำ/อำหำร/เครื่องดื่มในตูเ้ ย็นที่เก็บวัคซีนเนื่องจำกจะทำ
ให้เปิ ด-ปิ ดตูเ้ ย็นบ่อยขึ้น อุณหภูมิไม่คงที่
ห้ำมเก็บวัคซีนทุกชนิดไว้ที่ฝำประตูตเู ้ ย็น
30


ในช่องแช่แข็งไม่ควรมีน้ ำแข็งเกำะหนำเกิน 5 มม.
31
ไม่ควรมีเข็มปั กคำขวดวัคซีนเพรำะอำจทำให้เกิดกำรปนเปื้ อน
32


ควรมีขวดใส่น้ ำวำงไว้ในช่องล่ำงของตูเ้ ย็น เพื่อช่วยเก็บ
รักษำควำมเย็น
33


๊ ยบแยกโดยเฉพำะตูเ้ ย็น
มีปลักเสี
34
กำรปฏิบตั กิ รณีไฟฟ้ำดับ
กรณีไฟดับไม่เกิน 3 ชั ่วโมง
- ให้นำไอซ์แพคหรือขวดน้ ำที่แช่แข็งแล้วลงมำวำงไว้ที่ช้นั ล่ำงแล้วให้ปิด
ประตูตเู ้ ย็นไว้ตลอดเวลำจนกว่ำไฟฟ้ำจะมำ
กรณีไฟดับไม่เกิน 3 ชั ่วโมง
- ให้ ย้ายวัคซีนไปเก็บในหีบเย็น หรื อกระติกที่มีไอซ์ แพคหรื อนา้ แข็งมาก
เพียงพอ พร้ อมกับเทอร์ โมมิเตอร์ สาหรั บวัดอุณหภูมิ แล้ วให้ เพิ่มนา้ แข็ง
หรื อเปลี่ยนไอซ์ แพค เมื่อตรวจสอบพบว่ าอุณหภูมเิ ริ่มสูงขึน้ มากกว่ า 8°C
กรณีไฟดับนำนหลำยวัน
-ประสำนกับสถำนบริกำรอื่นล่วงหน้ำ เพื่อนำฝำกวัคซีนต่อไป
35
หน่วยงำนควรจัดทำแผนผังควบคุมกำกับกำรปฏิบตั งิ ำนกรณีฉุกเฉิน
ติดไว้ในที่ที่สำมำรถมองเห็นได้งำ่ ย โดยจะช่วยให้ผรู ้ บั ผิดชอบและ
ผูอ้ ื่นสำมำรถปฏิบตั ไิ ด้ถูกต้องกรณีเกิดเหตุกำรณ์ฉุกเฉิน
36
กำรใช้อุปกรณ์ควบคุมกำกับอุณหภูมิ
 Vaccine Vial
Monitor : VVM
 Freeze watch : FW
 Computerized data logger
 Thermometer
37
กำรควบคุมกำกับอุณหภูมิโดย VVM
VVM บ่งชี้ว่ำวัคซีนขวดนั้นๆสัมผัสควำมร้อนมำมำกเกินไป
หรือไม่แต่ VVM ไม่บอกว่ำวัคซีนสัมผัสกับอุณหภูมิที่เย็นจัด
(freezing temperature)
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
38
39
How to read a vaccine vial monitor
40
Freeze watch: FW

FW ใช้ ในการเตือนเรื่องอุณหภูมิท่ เี ย็นจัด และวางไว้ กับวัคซีนที่ไวต่ อ
ความเย็นจัด ได้ แก่
-DTP, TT, dT (freezing point - 6.5°c)
-HB, Hib liq., DTP-HB, DTP-HB-Hib (freezing point - 0.5°c)
-JE liq., Influenza (freezing point - 0.8°c)
No Freezing
Freezing!
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
41
SHAKE TEST
 ทำเมื่อสงสัยว่ำมีวคั ซีนผ่ำนกำรแช่แข็งมำก่อน
 แช่แข็งวัคซีน 1 ขวด เพื่อเป็ น Control
(Lot.no. เดียวกัน, ผูผ้ ลิตเดียวกัน)
 เมื่อวัคซีนแช่แข็งเต็มที่แล้ว นำออกมำรอละลำย
 เมื่อละลำยแล้ว เขย่ำดูกำรตกตะกอนเปรียบเทียบกับ
วัคซีนขวดที่สงสัยว่ำถูกแช่แข็ง
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
42
SHAKE TEST
พบวัคซีนชนิดน้ ำ
สงสัยผ่ำนกำรแช่แข็ง
ทิ้งวัคซีนขวดนั้น
เห็นแข็งตัวชัดเจน
YES
NO
เขย่าขวดวัคซีน
ดูกำรตกตะกอน
เปรียบเทียบกับ
ขวด control
NO
วัคซีนไม่กระจาย
เป็ นเนื้อเดียวกัน
YES
ทิ้งวัคซีนขวดนั้น
YES
ทิ้งวัคซีนขวดนั้น
NO
วัคซีนนาไปใช้ ได้
อัตราเดียวกันหรือเร็วกว่า
ขวด control
43
DATA LOGGER
 มี Sensor วัดและบันทึก
อุณหภูมิ -40oC ถึง +85oC
 ตั้งค่ำกำรทำงำนให้บนั ทึก
อุณหภูมิ (เช่น ทุก 30 นำที)
 แสดงผลเป็ นกรำฟ, วัน เวลำ
และอุณหภูมิที่บนั ทึก
 แสดงข้อมูลทำงสถิติ
44
Thermometer
 ควรอ่ำนค่ำอุณหภูมิได้ท้งั ค่ำบวกค่ำลบ
Thermometer จะมีควำมแม่นยำ (accuracy) ลดลง
เมื่อเวลำผ่ำนไป จึงควรนำไปสอบเทียบ(Calibrate)
หรือเปรียบเทียบกับเทอร์โมมิเตอร์ที่ผ่ำนกำรสอบเทียบ
มำตรฐำนแล้ว
45
กำรวำงเทอร์โมมิเตอร์ไว้ในตูเ้ ย็น
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
46
กำรปรับอุณหภูมิในตูเ้ ย็น
ถ้ำอุณหภูมิต ่ำกว่ำ +2°c
 หมุนปุ่ ม Thermostat ไปที่ตวั เลขต ่ำกว่ำที่ตง้ั ไว้เดิม ที่จะทำให้อุณหภูมิ
อุ่นขึ้น
ตรวจสอบประตูช่องแช่แข็งปิ ดดีหรือไม่ และขอบยำงเสื่อมหรือไม่
ตรวจสอบว่ำวัคซีนที่ไวต่อควำมเย็นจัดเสื่อมสภำพจำกกำรแช่แข็ง
หรือไม่ โดยกำรทำ Shake test
คำเตือน กำรสัมผัสกับควำมร้อนทำให้วคั ซีนเสียหำย/เสื่อมสภำพน้อย
กว่ำกำรถูกแช่แข็ง
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
47
กำรปรับอุณหภูมิในตูเ้ ย็น
ถ้ำอุณหภูมิสูงกว่ำ +8°c

ตรวจดูว่ำตูเ้ ย็นยังทำงำน หรือมีกระแสไฟฟ้ำเข้ำตูเ้ ย็นหรือไม่

ตรวจสอบประตูท้งั 2 ช่องว่ำปิ ดดีหรือไม่ ขอบยำงเสื่อมหรือไม่

ตรวจสอบช่องแช่แข็งว่ำมีน้ ำแข็งอุดกั้นไม่ให้ควำมเย็นไหลลงสูช่ ่อง
ธรรมดำ หรือไม่ ถ้ำมีให้ละลำยน้ ำแข็ง

หมุนปุ่ ม Thermostat ไปที่ตวั เลขสูงกว่ำเดิมที่จะทำให้อุณหภูมิเย็นขึ้น

ระหว่ำงซ่อมตูเ้ ย็น ย้ำยวัคซีนไปเก็บไว้ในตูเ้ ย็นอื่น/หีบเย็น/กระติกวัคซีน
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
48
กำรปรับอุณหภูมิในตูเ้ ย็น
คำเตือน
1. ห้ำมปรับ Thermostat ไปที่เย็นกว่ำ หลังมีไฟฟ้ำดับ
เพรำะอำจทำให้วคั ซีนแข็งตัวได้
2. ห้ำมปรับ Thermostat ไปที่เย็นกว่ำ เมื่อนำวัคซีนที่เบิก
มำเก็บในตูเ้ ย็น เพรำะอำจทำให้วคั ซีนแข็งตัวได้
สนับสนุนข้อมูลโดย ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
49
ขอขอบคุณ
ข้อมูลเชิงวิชำกำร โดย



ภญ.ศิริรตั น์ เตชะธวัช สำนักโรคติดต่อทั ่วไป กรมควบคุมโรค
คณะเภสัชศำสตร์ ม.สงขลำนครินทร์
สำนักงำนป้องกันควบคุมโรค
ข้อมูลนำเสนอ โดย

ภญ.วรรณิภำ ธำนีรตั น์