พิทักษ์โลกให้สดใส ปลอดพิษภัยสารเคมี มติ IFCS

Download Report

Transcript พิทักษ์โลกให้สดใส ปลอดพิษภัยสารเคมี มติ IFCS

การประชุมสั มมนาระดับชาติ
เรื่อง “พิทักษ์ โลกให้ สดใส ปลอดพิษภัยสารเคมี
มติ IFCS Forum IV - ประเทศไทยจะมีส่วน
ร่ วมอย่ างไร”
โดย
กลุ่มที่ 6 การป้ องกันการขนส่ งสารเคมีระหว่ างประเทศ
ที่ผดิ กฎหมาย
(Illegal Traffic)
รายชื่อผู้เข้ าร่ วมประชุม
• คุณภาวสุ ทธิ์ จึงอนุวตั ร
กระทรวงคมนาคม
• คุณธีระพงษ์ รอดประเสริ ฐ
กระทรวงคมนาคม
• คุณชลันดา มูลมี
กระทรวงคมนาคม
• คุณศิริพรรณ เสริ มสุ ขสิ ริวฒั น์ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
• คุณเอื้อมพร สัตตบุศย์
กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
• คุณทิพวรรณ เกิดศิริ
กรมวิชาการเกษตร
• คุณเอื้อนพร ภู่เพ็ชร์ การท่าเรื อแห่งประเทศไทย
• คุณเฉลิมศักดิ์ กาญจนวริ นทร์
TIFFA
• คุณสุ ภาวดี วัจนะพรสิ ทธิ์ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
• คุณนิรันดร์ เกตุแก้ว
สานักงานโยบายและแผนการขนส่ งฯ
• คุณพรทิพย์ วิสารัตน์
กรมโรงงาอุตสาหกรรม
• คุณนัชชาริ นี ศรี ทินนท์
กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
• คุณอภิวฒั น์ เลาหวัฒน์
กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
• คุณดลฤดี คร่ าในเมือง คณะกรรมการรณรงค์ป้องกันสารพิษเคมี
การพิจารณาของกลุ่ม Illegal Traffic
ขอบเขตการดาเนินงาน
ศึกษาและดาเนินมาตรการป้องกันการขนย้ ายสารพิษและวัตถุ
อันตรายทีผ่ ดิ กฎหมายหรือที่ห้ามขนย้ ายระหว่ างประเทศ
นิยาม
สารพิษและวัตถุอนั ตราย ทีอ่ ยู่ในขอบเขตของการดาเนินงาน ครอบคลุม
สารเคมีอนั ตราย และของเสี ยอันตราย เฉพาะทีป่ รากฏอยู่ในอนุสัญญา
หรือข้ อตกลงระหว่ างประเทศ
ประเด็นการพิจารณา
ประเด็นที่ 1 ด้ านกฎหมาย
สภาพปัจจุบัน
- มีกฎหมายที่เกีย่ วข้ องและหน่ วยงานที่รับผิดชอบหลาย หน่ วยงา
ผู้ประกอบการ ประชาชน ต้ องการข้ อมูลเพือ่ การประกอบการที่
ชัดเจน
- มีการนาวัตถุอนั ตรายไปใช้ ไม่ ตรงตามวัตถุประสงค์ ทขี่ อ
อนุญาต ซึ่งมีผลทาให้ วตั ถุอนั ตรายนั้นเป็ นวัตถุอนั ตรายที่ผดิ
กฎหมาย
- จาเป็ นต้ องมีการประสานการบังคับใช้ กฎหมายของหน่ วย
งานต่ าง ๆ อย่ างใกล้ ชิดยิง่ ขึน้
- การอนุญาตนาเข้ า ส่ งออกของหน่ วยงานทีร่ ับผิดชอบ ในทาง
ปฏิบัตจิ ะพิจารณาจากเอกสารเป็ นหลัก ไม่ ได้ ตรวจสอบตัว
สารเคมี
- ยังไม่ มีระบบรายงาน ระบบการติดตามทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
ข้ อเสนอแนะ
1. ศึกษากฎหมาย กฎกระทรวง และกฎระเบียบอืน่ ๆ ที่เกีย่ วกับ
การนาเข้ า ส่ งออก ขนย้ าย ผลิต มีไว้ ในครอบครอง วัตถุอนั ตราย
รวมทั้งบทบาทหน้ าที่หน่ วยงานที่รับผิดชอบ และความไม่
สอดคล้ องในการบังคับใช้ กฎหมาย
2. ศึกษาสถานภาพการนาวัตถุอนั ตรายทีน่ าเข้ ามาอย่ างถูกต้ อง
ภายใต้ กฎหมายของหน่ วยงานหนึ่ง แต่ มีการนาไปใช้ ผดิ
วัตถุประสงค์ ทแี่ จ้ งไว้ ซึ่งจะไปขัดกับกฎหมายของอีกหน่ วยงาน
หนึ่ง
3. สร้ างระบบการติดตามตรวจสอบวัตถุอนั ตราย โดยเลือกใช้ ระบบ
ติดตามตรวจสอบกับวัตถุอนั ตรายทีม่ ีความสาคัญมากก่ อน
โดยเฉพาะวัตถุอนั ตรายทีก่ ฎหมายหนึ่งอนุญาต แต่ อกี กฎหมาย
หนึ่งห้ าม ทั้งนีค้ วรมีการเสนอว่ าระบบการติดตามตรวจสอบที่
จะเกิดขึน้ ในอนาคตควรจะเป็ นอย่ างไร
ประเด็นที่ 2 ศักยภาพของประเทศไทยในการตรวจจับสิ นค้ า
นาเข้ า ส่ งออกทีผ่ ดิ กฎหมาย
สภาพปัจจุบัน
1. การอนุญาตนาเข้ า ส่ งออกทาโดยยึดเอกสารเป็ นหลัก ดาเนินการก่อนที่
สิ นค้ าจะมีการนาเข้ าหรือส่ งออก ทาให้ การตรวจจับสิ นค้ านาเข้ า
ส่ งออกทีผ่ ดิ จากการอนุญาตทาได้ น้อย
2. การควบคุมทีจ่ ุดนาเข้ า ส่ งออก หรือขนย้ ายทาได้ ยาก เนื่องจากสิ นค้ าอยู่
ในตู้สินค้ า การตรวจสอบด้ วยเครื่องมือและการตรวจสอบด้ วยตาไม่
สามารถระบุว่าเป็ นวัตถุอนั ตรายทีผ่ ดิ กฎหมายหรือไม่ เช่ น เมื่อเป็ น
ของแข็งเหมือนกัน เครื่องจับภาพตรวจสอบไม่ ได้ ว่าใช่ สารนั้นหรือไม่
หรือเมื่อตรวจสอบด้ วยตาจะดูความเข้ มข้ นของสารไม่ ได้ ปัจจุบันใช้
บัญชีรายชื่อผู้นาเข้ าทีด่ ี กับผู้นาเข้ าทีม่ ีประวัติไม่ ดี ท่ าเรือมีหน้ าทีเ่ ก็บตู้
สิ นค้ า ตามคาสั่ งศุลกากร รวมทั้งปล่อยสิ นค้ าตามคาสั่ งศุลกากร
3. การควบคุมด้ วยเอกสาร ผู้ประกอบการสามารถแสดงรายละเอียดสิ นค้ าทีไ่ ม่
ผิดกฎหมาย ให้ หน่ วยงานทีอ่ นุญาตทาการรับรอง แล้วแก้ไขรายละเอียด
สิ นค้ าในภายหลังเพือ่ ยืน่ แสดงต่ อศุลกากรให้ สามารถนาเข้ า ส่ งออกได้
ข้ อเสนอแนะ
- จาเป็ นต้ องให้ ความรู้แก่เจ้ าหน้ าทีผ่ ู้ปฏิบัตงิ านอย่ างต่ อเนื่อง
- เมื่อตรวจสอบพบว่ าเป็ นสิ นค้ าเข้ า – ออกทีผ่ ดิ กฎหมาย ควรมีข้อกาหนด แนว
ทางการปฏิบัติต่อสิ นค้ าเหล่านั้น เช่ น จัดเก็บอย่ างไร ขนย้ ายอย่ างไร ใคร
รับผิดชอบ
- การปรับปรุงระบบการควบคุมตรวจสอบทั้งทีจ่ ุดนาเข้ า ส่ งออกและการ
ตรวจสอบเอกสารให้ ดีขึน้ เน้ นให้ เกิดการประสานระหว่ างมิติด้านภารกิจของ
หน่ วยงานซึ่งอยู่ในแนวตั้งกับมิตดิ ้ านวัตถุอนั ตรายซึ่งอยู่ในแนวนอน
- ควรมีการจัดตั้งองค์ กรกลางทาหน้ าทีต่ รวจสอบ
ประเด็นที่ 3 ด้ านทรัพยากรในการให้ คาปรึกษาแนะนาเชิง
วิชาการ
สภาพปัจจุบัน
ทรัพยากรบุคคลทีม่ คี วามรู้ความเชี่ยวชาญด้ านสารเคมี มีอยู่ใน
เฉพาะบางจุดไม่ มีการกระจายตัว ส่ งผลให้ เกิดช่ องทางทีส่ ามารถนาเข้ า
ส่ งออกที่ผดิ กฎหมายได้ นอกจากนีเ้ ครื่องมือ ระบบ งบประมาณก็มีการ
กระจุกตัวเช่ นเดียวกัน
ข้ อเสนอแนะ
ควรมีการกาหนดมาตรฐานการดาเนินงานของหน่ วยงานที่
เกีย่ วข้ อง ในการขนย้ ายวัตถุอนั ตรายทีผ่ ดิ กฎหมายอย่ างชัดเจนและเป็ น
เอกภาพ
ประเด็นที่ 4 ความรุนแรงและผลกระทบของการขนย้ าย
วัตถุอนั ตรายทีผ่ ดิ กฎหมาย
สภาพปัญหา
ขาดข้ อมูลเกีย่ วกับการขนย้ ายวัตถุอนั ตรายทีผ่ ดิ กฎหมาย ซึ่ง
แสดงความรุนแรงและผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ในระดับต่ างๆ รวมทั้งขาด
ระบบการวิเคราะห์
ข้ อเสนอแนะ
ให้ มีการศึกษา รวมรวบข้ อมูลการขนย้ ายวัตถุอนั ตรายที่
กฎหมายระหว่ างประเทศ ทั้งในระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาค ระดับ
อนุภูมิภาค ระดับประเทศ และทาการวิเคราะห์ ผกระทบของปัญหา
รวมทั้งเสนอระบบการศึกษา วิเคราะห์
ประเด็นที่ 5 การประสานงานระหว่ างหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ อง
สภาพปัจจุบัน
ยังไม่ มีการศึกษา วิเคราะห์ ปัจจัยในส่ วนการประสานงาน
ระหว่ างหน่ วยงานว่ ามีผลทีท่ าให้ เกิดการขนย้ ายวัตถุอนั ตรายที่ผดิ
กฎหมาย
ข้ อเสนอแนะ
ควรมีการศึกษากรณีตวั อย่ างทีเ่ กิดการขนย้ ายวัตถุอนั ตรายที่
ผิดกฎหมายระหว่ างประเทศขึน้ ว่ าเกิดจากการขาดการประสานงาน
หรือเกิดจากการขัดแย้ งในการปฏิบัติงานของแต่ ละหน่ วยงานอย่ างไร
แล้ วจัดทาข้ อเสนอ
ประเด็นที่ 6 อนุสัญญาหรือข้ อตกลงระหว่ างประเทศ
สภาพปัจจุบัน
ในส่ วนการขนย้ ายสารเคมี หรือวัตถุอนั ตรายประเทศไทย
ค่ อนข้ างดาเนินงานตามอนุสัญญาระหว่ างประเทศอยู่แล้ ว
ข้ อเสนอแนะ
ให้ มีการศึกษาปัญหาอุปสรรค ผลกระทบทีป่ ระเทศไทย
ต้ องปฏิบัตติ ามอนุสัญญาต่ างๆ