นโยบายด้ านการดาเนินงานส่ งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ (ของสานักงาน พก.) ขนิษฐา กมลวัฒน์ รักษาการในตาแหน่ ง ผู้อานวยการสานักนโยบายและวิชาการ สานักงาน พก.

Download Report

Transcript นโยบายด้ านการดาเนินงานส่ งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ (ของสานักงาน พก.) ขนิษฐา กมลวัฒน์ รักษาการในตาแหน่ ง ผู้อานวยการสานักนโยบายและวิชาการ สานักงาน พก.

Slide 1

นโยบายด้ านการดาเนินงานส่ งเสริม
และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ
(ของสานักงาน พก.)


Slide 2

ขนิษฐา กมลวัฒน์
รักษาการในตาแหน่ ง ผู้อานวยการสานักนโยบายและวิชาการ
สานักงาน พก.


Slide 3

ความเป็ นมา
- จัดตั้งเมื่อ 28 กันยายน 2550 ตามพระราชบัญญัตสิ ่ งเสริมและพัฒนา

คุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550
- เป็ นส่ วนราชการใน พม. เทียบเท่ ากรม แต่ ไม่ มีฐานะเป็ นกรม (ไม่ เป็ นนิติ
บุคคล)
- มีเลขาธิการซึ่งมีฐานะเป็ นอธิบดี เป็ นผู้บังคับบัญชาบุคลากรของสานักงาน

ที่ต้งั

อาคาร 60 ปี กรมประชาสงเคราะห์ ภายในบ้ านราชวิถี เลขที่ 255 ถนนราชวิถี
เขตราชเทวี กรุ งเทพฯ 10400


Slide 4

อานาจหน้ าที่

• จัดทาแผนงานเกีย่ วกับการส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ
• ประสานงานและร่ วมมือกับหน่ วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วข้ องทั้งใน
และต่ างประเทศในการดาเนินงาน การทางานร่ วมกันในระดับนโยบาย
ยุทธศาสตร์ และแผนงานด้ านคนพิการ เกีย่ วกับการส่ งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวติ คนพิการ
• สารวจ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ประเมินผล รวบรวมและเก็บรักษา
ข้ อมูลเกีย่ วกับคนพิการ สถานการณ์ ของคุณภาพชีวติ คนพิการ
เพือ่
ประโยชน์ ต่อการป้องกัน การรักษา การฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ
• สนับสนุนให้ มีการจัดตั้ง การดาเนินงาน การสร้ างความเข้ มแข็งขององค์กร
ด้ านคนพิการ เพือ่ ให้ สามารถทาหน้ าทีพ่ ทิ ักษ์ สิทธิคนพิการ

• ปฏิบัติหน้ าที่อนื่ ตาม พ.ร.บ.กาหนด หรือตามที่ได้ รับมอบหมาย


Slide 5

วิสัยทัศน์
“เป็ นองค์ กรทีเ่ ป็ นเลิศด้ านการพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ”

พันธกิจ
1. พัฒนาระบบการคุ้มครองพิทกั ษ์ สิทธิ และการส่ งเสริมศักยภาพคนพิการ
2. ส่ งเสริม สนับสนุน สร้ างความเข้ มแข็งแก่องค์ กรด้ านคนพิการและเครือข่ าย

ยุทธศาสตร์
1. พัฒนาระบบบริหารจัดการการคุ้มครองพิทกั ษ์ สิทธิคนพิการ
2. ส่ งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพคนพิการ
3. เสริมพลังองค์ กรด้ านคนพิการและเครือข่ าย


Slide 6

แนวทางการขับเคลือ่ นนโยบายด้ านคนพิการ
การจัดทาฐานข้ อมูลคนพิการ
การจดทะเบียนคนพิการ การจัดทาดัชนีคุณภาพชีวติ คนพิการ
การจัดทาฐานข้ อมูลองค์ กรคนพิการ ฯลฯ
การออกอนุบัญญัตติ ามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550 ได้ แก่ กฎกระทรวง ระเบียบ
ประกาศ


Slide 7

แนวทางการขับเคลือ่ นนโยบายด้ านคนพิการ
• การส่ งเสริมและจัดให้ มีสิ่งอานวยความสะดวกทีค่ นพิการเข้ าถึง
ได้ เพือ่ มิให้ สภาพแวดล้ อมเป็ นอุปสรรคต่ อการเข้ าร่ วมทาง
สั งคมสาหรับคนพิการ
• การผลักดันให้ มีการดาเนินการคุ้มครองสิ ทธิคนพิการด้ านต่ าง ๆ
ตามทีก่ าหนดใน พ.ร.บ. ส่ งเสริมฯ พ.ศ. 2550 (มาตรา 20,
รธน. พ.ศ. 2550 , มาตรา 54 มาตรา 80)


Slide 8

แนวทางการขับเคลือ่ นนโยบายด้ านคนพิการ

• การคุ้มครองทางสั งคมและสวัสดิการสั งคม ในความ
รับผิดชอบของ พม. และ พก. เช่ น
- การให้ บริการล่ ามภาษามือ

- การช่ วยเหลือทางกฎหมาย
- การจัดให้ มีผู้ช่วยคนพิการ
- การปรับสภาพแวดล้ อมทีอ่ ยู่อาศัยให้ แก่ คนพิการ
- การช่ วยเหลือคนพิการทีไ่ ม่ มีผู้ดูแล
- การส่ งเสริมสนับสนุนผู้ดูแลคนพิการ และ
- การจัดสวัสดิการเบีย้ ความพิการ
ฯลฯ


Slide 9

แนวทางการขับเคลือ่ นนโยบายด้ านคนพิการ
• การขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไม่ เป็ นธรรมต่ อคนพิการ
(มาตรา 15 , ร.ธ.น. พ.ศ. 2550 มาตรา 30)
• การส่ งเสริมกลไกการดาเนินงานด้ านคนพิการ ได้ แก่
- คณะกรรมการส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่ งชาติ
- คณะอนุกรรมการ (จังหวัดและอืน่ ๆ)
- กองทุนส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
- องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
- หน่ วยงานของรัฐ


Slide 10

กลไกองค์ กรคนพิการ เช่ น
1. สมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแห่ งประเทศไทย

2. สมาคมคนตาบอดแห่ งประเทศไทย
3. สมาคมคนหูหนวกแห่ งประเทศไทย
4. สมาคมคนพิการแห่ งประเทศไทย
5. สมาคมคนพิการทางสติปัญญาแห่ งประเทศไทย
6. สมาคมผู้ปกครองบุคคลออทิซึม (ไทย)
7. สมาคมเพือ่ ผู้บกพร่ องทางจิต


Slide 11

แนวทางการขับเคลือ่ นนโยบายด้ านคนพิการ
• การรับรองมาตรฐานองค์ กรเกีย่ วกับคนพิการ
• การกาหนดมาตรฐานการดาเนินงานด้ านคนพิการ ฯลฯ
• นอกจากนี้ รัฐมนตรีรักษาการแต่ ละกระทรวงมีอานาจ
แต่ งตั้งพนักงานเจ้ าหน้ าทีเ่ พือ่ ให้ มอี านาจตามมาตรา 14


Slide 12

แนวทางการดาเนินงานด้านความพิการ
• มีนโยบายชัดเจน ต่ อเนื่อง มีกฎหมายรองรับ
• มีววิ ฒ
ั นาการของ
กระบวนทรรศน์
การจัดการความพิการ
ที่เปลีย่ นไป
ด้ วยมิติเชิงสั งคม
เวทนานิยม /
การจัดการความพิการ
การส่ งเสริมสิ ทธิ
ด้ วยมิติทางการแพทย์
ของคนพิการ

เพื่อต้องการบรรลุ
- คนพิการได้ รับสิ ทธิ
- การมีส่วนร่ วมของ
คนพิการ
- คนพิการได้ รับการ
เสริมสร้ างความ
เข้ มแข็งและศักยภาพ
- สั งคมทีป่ ราศจาก
อุปสรรคต่ อคนพิการ
- ความพิการบูรณาการ
กับการพัฒนา
กระแสหลัก


Slide 13

ภารกิจเร่ งด่ วน
1.

การเร่ งรัดการออกอนุบัญญัติตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550 ได้ แก่ กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ
2. การส่ งเสริมการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการของจังหวัด และ
การบูรณาการกับแผนพัฒนาของจังหวัด
3. การผลักดันให้ เป็ นนโยบายของรัฐบาล
- การจัดสิ่ งอานวยความสะดวกในสถานที่ราชการ
- การจ้ างงานคนพิการในท้ องถิ่น
- การผลักดันเบีย้ ความพิการ


Slide 14

กลไกขับเคลือ่ นงาน
ด้ านความพิการระดับจังหวัด
องค์ ประกอบ
- สัดส่ วนของผูแ้ ทนคนพิการเพิ่มมากขึ้น
- กาหนดให้มีผแู ้ ทนจากหน่วยงานหลักด้านคนพิการ
อย่างน้อย 3 หน่วยงาน
- มีผแู ้ ทนจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
- จานวนไม่เกิน 18 คน


Slide 15

บทบาทหน้ าที…
่ .
• กาหนดแผน ยุทธศาสตร์ โครงการ
• ประสานการดาเนินงานกับทุกภาคส่ วน
• พิจารณากลัน่ กรองและให้ ความเห็นประกอบการกู้ยมื
เงินกองทุนฯ และติดตาม
• ตรวจสอบการกระทาทีม่ ลี กั ษณะการเลือกปฏิบัติ
• เสนอแผนงาน/โครงการให้ คณะอนุกรรมการบริหาร
กองทุน เพือ่ ให้ ความเห็นชอบ อนุมตั วิ งเงิน


Slide 16

บทบาทหน้ าที.่ ...
• เสนอแผนงาน/โครงการให้ คณะอนุกรรมการบริหาร
กองทุน เพือ่ ให้ ความเห็นชอบ อนุมตั วิ งเงิน รายการใช้ จ่าย
และการเบิกเงิน
• ติดตามโครงการทีไ่ ด้ รับการสนับสนุน
• ส่ งเสริมสนับสนุนความเข้ มแข็งขององค์ กรคนพิการ
• อืน่ ๆ


Slide 17

แผนพัฒนาคนพิการ
การขับเคลื่อน
แผนด้านความพิการ

แผนปฏิบัตกิ ารระดับ
โครงการ/กิจกรรม
กิจกรรม/แผนงาน
ในข้ อบังคับของ อปท.

ยุทธศาสตร์ :
แผนพัฒนาคุณภาพ -พัฒนาระบบบริหารจัดการ
ชีวติ คนพิการ
-ส่ งเสริมความเข้ มแข็งองค์ กร
แห่ งชาติ ฉบับที่ 3 และเครือข่ าย
-เสริมสร้ างเจตคติ
-ปรับสภาพแวดล้อม
แผนพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ คนพิการ
ของจังหวัด

การบูรณาการมิติ
ความพิการใน
แผนยุทธศาสตร์
ของจังหวัด/
แผนของท้ องถิ่น


Slide 18

งบประมาณเพื่อการพัฒนาคนพิการ
งบประมาณของจังหวัด
งบประมาณของท้องถิ่น
งบประมาณจากกระทรวง กรม
งบประมาณจากกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนส่ งเสริ มและ
พัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ กองทุนสวัสดิการสังคม
กองทุนที่มีอยูใ่ นระดับชุมชน กองทุนกีฬาฯลฯ
• งบประมาณจากภาคเอกชน ภาคธุรกิจ หน่วยต่างประเทศ






Slide 19