presentation ที่วิทยาลัยนำเสนอ

Download Report

Transcript presentation ที่วิทยาลัยนำเสนอ

สรุปภาพรวมการดาเนินงานของวิทยาลัยราชสุ ดา
นาเสนอต่ อกรรมการสภามหาวิทยาลัย
โดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิมพา ขจรธรรม
คณบดี
วันที่ 24 มีนาคม 2554
วิสยั ทัศน์
วิทยาลัยราชสุดาเป็ นสถาบันอุดมศึกษา การวิจยั และ
ศูนย์กลางเครือข่ายความร่วมมือระดับภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ
พันธกิจ
1.
2.
3.
4.
5.
ผลิตบัณฑิตทีม่ ีคณ
ุ ภาพด้านความพิการควบคูค่ ณ
ุ ธรรมและจริยธรรม
ผลิตงานวิจยั ทีม่ ีคณ
ุ ภาพด้านความพิการในระดับสากล
จัดบริการวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ
พัฒนาวิทยาลัยเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรูด้ า้ นคนพิการ
สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรคนพิการและองค์กรทีเ่ กี่ยวข้องทัง้ ภายในประเทศ
และต่างประเทศ
6. พัฒนาระบบบริหารโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
อัตรากาลังของวิทยาลัย
ข้าราชการ พนักงาน
ลูกจ้าง
มหาวิทยาลัย ชัว่ คราว
อาจารย์
- ป.เอก
- ป.โท
บุคลากรสายสนับสนุน
- สาย ข
- สาย ค
รวม
8
3
5
9
6
3
17
15
6
9
35*
22
13
50
หมายเหตุ : ข้อมูล ณ 1 พฤศจิกายน 2553
54**
17
37
54
รวม
หมายเหตุ
23
รศ. 1 คน ผศ. 4 คน
98
45
53
121
*พนง.เงินรายได้ 1 คน
**ลูกจ้างเงินรายได้ 7 คน
งบประมาณปี 2553
ในปี งบประมาณ 2553 วิทยาลัย ได้รับงบประมาณจากแหล่งต่าง ๆ
53,973,736.66 บาท ดังนี้
• งบประมาณแผ่นดิน
จานวน
• เงินรายได้วทิ ยาลัย
จานวน
• เงินบารุ งหอพักวิทยาลัย
จานวน
• เงินสนับสุ นนจากมูลนิธิราชสุ ดา
จานวน
รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น
44,024,983.83
6,899,000.00
2,208,062.83
841,690.00
บาท
บาท
บาท
บาท
โครงสร้ างการบริหารงานวิทยาลัยราชสุ ดา
ในปี 2553 วิทยาลัยได้ ปรับโครงสร้ างการบริหารงานใหม่ โดยเริ่มดาเนินการ
ตั้งแต่ วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2553 โดยแบ่ งเป็ น
• สานักงานคณบดี : งานบริ หารทัว่ ไป งานอาคารยานพาหนะและสิ่ งแวดล้อม
งานคลังและพัสดุ งานแผน พัฒนาคุณภาพและวิเทศสัมพันธ์ งานบริ การ
การศึกษา งานกิจการนักศึกษาและบริ การนักศึกษาพิการ งานเทคโนโลยี
การศึกษาและสารสนเทศ
• ภาควิชาฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ : 2 หลักสูตร
• ภาควิชาหูหนวกศึกษา : 2 หลักสูตร
• สานักงานบริการวิชาการ: งานบริ การฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ งานบริ หาร
งานวิจยั และสารสนเทศ
คณะผู้บริหารวิทยาลัยราชสุ ดา
•
•
•
•
•
•
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. พิมพา ขจรธรรม
คณบดี
อาจารย์ดร.พรพรรณ ภูมิภู
รองคณบดีฝ่ายบริ หาร
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิ ยะรัตน์ นุชผ่องใส
รองคณบดีดา้ นการศึกษาและการวิจยั
อาจารย์อรอนงค์ สงเจริ ญ รองคณบดีดา้ นกิจการนักศึกษาและการสนับสนุนนักศึกษาพิการ
อาจารย์ดร.ปรเมศวร์ บุญยืน ผูช้ ่วยคณบดีดา้ นระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์วไิ ลรัตน์ ศรี คา
ผูช้ ่วยคณบดีดา้ นการประชาสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์
คณะกรรมการประจาวิทยาลัยราชสุ ดา
• ประธาน
คณบดี
• คณะกรรมการ ประกอบด้วย
–
–
–
–
–
–
–
รองคณบดีทุกคน
อ.ดร. ดลพร เผือกคง (ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต)
อ.วิไลรัตน์ ศรี คา (ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต)
อ.ดร.สุ ขสิ ริ ด่านธนวานิช (ผูแ้ ทนคณาจารย์ประจา)
อ.ดร.วีระแมน นิยมพล (ผูแ้ ทนคณาจารย์ประจา)
น.ส.ณุชนาฎ โต๊ะดี (ผูแ้ ทนสายสนับสนุนวิชาการ)
นายปานเทพ ปานทัง่ ทอง (ผูแ้ ทนสายสนับสนุนทัว่ ไป
คณะกรรมการสาคัญอืน่ ๆ
• คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคปกติ)
มี ผศ.ดร.ปิ ยะรัตน์ นุชผ่องใส เป็ นประธาน
• คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ)
มี อ.ดร. ดลพร เผือกคง เป็ นประธาน
• คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หูหนวกศึกษา)
มี อ. วิไลรัตน์ ศรี คา เป็ นประธาน
• คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ล่ามภาษามือไทย)
มี อ.ดร. สุ ขสิ ริ ด่านธนวานิช เป็ นประธาน
• สภาอาจารย์ มี ผศ.ดร.พรพรรณ์ สมบรู ณ์ เป็ นประธาน
ด้ านการจัดการศึกษา
การดาเนินงานด้ านจัดการศึกษา ปี 2553
ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเปิ ดสอน 4 หลักสูตร ได้แก่ โดยเป็ นหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี 2
หลักสูตร และระดับบัณฑิตศึกษา 2 หลักสู ตรได้แก่
• หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหูหนวกศึกษา (หลักสูตร 5 ปี ) รับนักศึกษารุ่ นที่ 3
จานวน จานวน 117 คน เป็ นนักศึกษาพิการทางการได้ยนิ 80 คน
• หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาล่ามภาษามือไทย ซึ่ งเป็ นหลักสู ตรใหม่รับนักศึกษารุ่ นแรก
จานวน 13 คน
• หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชางานบริ การฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ (ภาคปกติ)
มีนกั ศึกษาที่กาลังศึกษาอยูจ่ านวน 10 คน
• หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชางานบริ การฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ (ภาคพิเศษ)
เปิ ดรับนักศึกษารุ่ นแรกจานวน 6 คน
แผนการจัดการศึกษาปี การศึกษา 2554
ในปี การศึกษา 2554 วิทยาลัยฯ จะจัดการเรี ยนการสอนทั้งหมด 4 หลักสูตร คือ
1) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาหูหนวกศึกษา (หลักสูตร 5 ปี ) เปิ ดรับนักศึกษารุ่ นที่
4 จานวนประมาณ 60 คน เป็ นผูพ้ ิการทางการได้ยนิ 40 คน และเป็ นผูม้ ีการได้ยนิ 20
คนโดยรับจากระบบโควตาของมหาวิทยาลัย และระบบรับตรง
2) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาล่ามภาษามือไทย จะรับนักศึกษารุ่ นที่ 2 ประมาณ 35
คน โดยรับจากระบบโควตาของมหาวิทยาลัย จานวน 15 คน และระบบ admission
จานวน 20 คน
3) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิทยาการฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ(ภาคปกติ)
4) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิทยาการฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ (ภาคพิเศษ)
เพื่อรองรับกลุ่มเป้ าหมายคือผูท้ ี่ทางานด้านคนพิการที่ประสงค์จะศึกษาต่อ
ผลงานด้านงานวิจยั
13
ผลงานด้ านการวิจัยในปี งบประมาณ 2553-2554
ชุดโครงการพัฒนานวัตกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มศักยภาพของคนพิการทางการได้ยนิ (ระยะ
ที่ 2) โดยได้รับงบประมาณจากมหาวิทยาลัยมหิดล แบ่งเป็ นโครงการย่อย 2 โครงการคือ
1) การวิจยั และพัฒนาประสิ ทธิภาพบทเรี ยนวิทยาศาสตร์บนเว็บสาหรับผูพ้ ิการทางการได้
ยิน
2) การวิจยั และพัฒนาตัวอักษรสะกดนิ้วมือประมวลคาศัพท์แบบภาพเคลื่อนไหวสามมิติ
2. ชุดโครงการวิจยั ด้านเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับงานบริ การฟื้ นฟูสมรรถภาพ
คนพิการในบริ บทไทย งบประมาณมหาวิทยาลัยมหิดล แบ่งเป็ น 3 โครงการย่อย
3. งานวิจยั ด้านคนพิการ : การวิเคราะห์อภิมานและการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
4. ชุดโครงการวิจยั และพัฒนาสื่ อมัลติมีเดียภาษามือไทยกลุ่มสาระเทคโนโลยีทางการศึกษา
งบประมาณจาก วช. แบ่งเป็ น 5 โครงการย่อย
1.
ผลงานวิจัยที่ได้ รับการจดลิขสิ ทธิ์ในปี 2553
โปรแกรมแปลอักษรเบรลล์ไทยสาหรับระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ (Thai
Braille Translation Program – TBT for Windows) โดย อ.ดร.วีระ
แมน นิยมพล
โปรแกรม นวัตกรรมการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่ อง สภาวะโลกร้อน โดย
ผศ.ดร.เบญจพร ศักดิ์ศิริ
ผลงานวิจัยทีอ่ ยู่ระหว่ างดาเนินการขอจดสิ ทธิบัตร
 การวิจยั และพัฒนาเบาะรองนัง่ บาบัดแผลกดทับ โดย ผศ.ดร.เบญจพร
ศักดิ์ศิริ และ น.ส.สุ มิตตา สี ทาสังข์
การวิจยั และพัฒนาสื่ อช่วยสอนคริ ตศาสตร์สาหรับนักเรี ยนที่มีความพิการ
ทางการเห็น โดย นายเจน ชัยเดช และผศ.ดร.เบญจพร ศักดิ์ศิริ
ด้านบริการวิชาการ
สร้างความเป็ นเลิศในการบริการสุขภาพและบริการวิชาการ
(HEALTH CARE & SERVICES EXCELLENCE)
โครงการระดับชาติ
1.
โครงการประกวดการอ่าน/เขียนอักษรเบรลล์ ครั้งที่ ๑๖ (ความร่ วมมือกับสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศ
ไทย
2. โครงการประกวดเล่าเรื่ องภาษามือสาหรับเยาวชนผูพ้ ิการทางการได้ยนิ ครั้งที่ ๑๐
3. โครงการสัมมนาระดับชาติวิชาด้านคนพิการ ครั้งที่ ๓ (ความร่ วมมือกับสานักส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตคนพิการ และสถาบันการศึกษา ๗ สถาบัน)
4. โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการพัฒนาล่ามภาษามือไทย (ความร่ วมมือกับสานักส่ งเสริ มและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ สมาคมล่ามภาษามือ และสมาคมคนหูหนวก)
5. โครงการฝึ กอบรมทักษะการสร้างความคุน้ เคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (O&M) ระยะ 6 ปี
๕.๑ สาหรับผูส้ อน (O&M Trainer) ๑ รุ่ น
๕.๒ สาหรับครู ฝึก (O&M Instructor) ๓ รุ่ น
(เป็ นโครงการความร่ วมมือกับ สปสช. สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย และ สวรส. )
18
ผลงานด้ านการบริการวิชาการ ในปี 2553 -2554
1. โครงการ/กิจกรรมที่วทิ ยาลัยจัดขึ้นเอง
 โครงการทีจ่ ัดให้ แก่ คนพิการได้แก่ การฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการทางการเห็นด้วยการ
อบรมทักษะด้าน O&M และทักษะการทากิจวัตรประจาวัน การใช้อกั ษรเบรลล์
คอมพิวเตอร์สาหรับคนตาบอด โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการความรู ้พ้นื ฐานทางการ
ออกแบบสาหรับผูพ้ ิการ และ โครงการพัฒนาประสิ ทธิภาพการอ่านและการคิดวิเคราะห์
สาหรับนักเรี ยนตาบอด เป็ นต้น
 โครงการทีจ่ ัดให้ ผู้ทที่ างานกับคนพิการได้แก่ โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการภาษามือ
ไทย โครงการจิตอาสาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ โครงการพัฒนางานฟื้ นฟู
สมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน (CBR) และ โครงการผลิตสื่ อมัลติมิเดียเพื่อสอนภาษา
มือไทยบนเว็บวิทยาลัยราชสุ ดา เป็ นต้น
 โครงการจัดทาวารสารวิทยาลัยราชสุ ดา เป็ นวารสารที่ออกปี ละ 2 ฉบับ
ผลงานด้ านการบริการวิชาการ ในปี 2553-2554 (ต่อ)
2. โครงการ/กิจกรรมที่วทิ ยาลัยจัดโดยร่ วมมือกับหน่วยงานอื่น
 โครงการประกวดเล่าเรื่ องด้วยภาษามือไทยสาหรับผูพ้ ิการทางการได้ยนิ ครั้งที่ 9 และ
10
 โครงการประกวดการอ่านเขียนอักษรเบรลล์ครั้งที่ 15 และ 16
 โครงการพัฒนาผูฝ้ ึ กสอนทักษะการทาความคุน้ เคยกับสภาพแวดล้อมและการ
เคลื่อนไหว (Orientation & Mobility Instructor Training) ซึ่ งเป็ นการฝึ กอบรมให้กบั
บุคลากร (งบประมาณจากสานักงานหลักประกันสุ ขภาพแห่งชาติ )
 โครงการจัดทาฐานข้อมูลและพัฒนาศักยภาพล่ามภาษามือไทย ซึ่งเป็ นการฝึ กอบรม
ให้กบั บุคลากร (งบประมาณจากสานักงานส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ
แห่งชาติ)
ผลงานด้ านการบริการวิชาการ ในปี 2553 -2554 (ต่อ)
 โครงการประเมินผลโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ คนพิการ (งบประมาณจากสานักงานส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติ)
 โครงการผลิตสื่ อวิดิทศั น์ชุดภาษามือวันละคา (งบประมาณจากสานักส่ งเสริ มและพัฒนา
คุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติ)
 โครงการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรด้านยาเสพติด ฯ (งบประมาณจากปปส.)
 โครงการจัดทาหนังสื อเสี ยงระบบ DAISY แบบเต็มรู ป หลักสูตรผูช้ ่วยแพทย์แผนไทย
สาหรับผูพ้ ิการทางสายตา ระยะเวลา 2 ปี (งบประมาณจาก สสส.)
 โครงการประชุมวิชาการระดับชาติดา้ นคนพิการ โดยจัดร่ วมกับสานักส่ งเสริ มและพัฒนา
คุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติ และสถาบันอุดมศึกษาอีก 6 แห่ง มีผเู้ ข้าร่ วมประชุม 500
คน
งานด้ านกิจการนักศึกษา ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
และสิ่ งแวดล้ อม
• ชมรมศิษย์เก่าสัมพันธ์
• กิจกรรมการทาบุญตักบาตรทุกวันพุธแรกของเดือน
• กิจกรรมศิลปวัฒนธรรมกับการพัฒนาจิตใจเพื่อเชื่อมโยงสอง
วัฒนธรรม
• โครงการราชสุ ดาเรี ยนรู ้ร่วมกัน สรรสร้างศิลปวัฒนธรรมไทย
• การจัดและเข้าร่ วมกิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนาต่าง ๆ
• การดาเนินการพัฒนาสิ่ งแวดล้อมด้านกายภาพ
ความร่ วมมือกับต่ างประเทศ
• Post Secondary Education for the Deaf
(PEN International) – สหรัฐอเมริ กา เกาหลี จีน
ฟิ ลิปปิ นส์ เวียดนาม และรัสเซีย
• Overbrook Nippon Network on
Education Technology (ON-NET)
ผลงานเด่ นของวิทยาลัยราชสุ ดาในปี 2553
1) โปรแกรมแปลอักษรเบรลล์ไทยสาหรับระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ (Thai Braille
Translation Program – TBT for Windows) โดย อาจารย์ ดร.วีระแมน นิยมพล และนาย
วิเชียร นันทชัยพิทกั ษ์ ได้รับการจดลิขสิ ทธิ์
2) โปรแกรมนวัตกรรมการเรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์เรื่ อง สภาวะโลกร้อน โดย ผศ. ดร.เบญจพร
ศักดิ์ศิริ อาจารย์พฤหัส ศุภจรรยา อาจารย์ กานต์ อรรถยุติ และคุณจิรภา นิวาตพันธ์
ได้รับการจดลิขสิ ทธิ์
3) โครงการพัฒนาผูฝ้ ึ กสอนทักษะการทาความคุน้ เคยกับสภาพแวดล้อมและการ
เคลื่อนไหว (Orientation & Mobility Instructor Training) ซึ่งเป็ นโครงการฝึ กอบรม
ให้กบั บุคลากรและคนตาบอด โดยเป็ นโครงการระยะ 6 ปี และเป็ นความร่ วมมือกับ
สานักงานหลักประกันสุ ขภาพแห่งชาติ สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย สมาคม
พยาบาลจักษุ และ สถาบันสร้างเสริ มสุ ขภาพคนพิการ สถาบันวิจยั ระบบสารณสุ ข
ผลงานเด่ นของวิทยาลัยราชสุ ดาในปี 2553 (ต่ อ)
4) โครงการเตรี ยมความพร้อมนักเรี ยนพิการทางการเห็น เรี ยนสาขาวิทยาศาสตร์ ซึ่ งเป็ น
โครงการนาร่ องที่จดั ขึ้นสาหรับนักเรี ยนตาบอดจานวน 2 คน ที่เข้าศึกษา ณ โรงเรี ยน
กาญจนาภิเษก ศาลายา ภายใต้โครงการส่ งเสริ มและพัฒนานักเรี ยนตาบอดเรี ยนสาขา
วิทยาศาสตร์ โดย คณะกรรมการสนับสนุนและส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์
และคณิ ตศาสตร์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเลคทรอนิคแ์ ละคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโลโลยีแห่งชาติ ซึ่ งในปี งบประมาณ 2554 ได้ปรับเป็ น
โครงการสนับสนุนนักเรี ยนพิการทางการเห็นเรี ยนสาขาวิทยาศาสตร์ ระยะเวลา 3 ปี
และขยายการดูแล ประสานงาน รวมทั้งการจัดทาสื่ อการเรี ยนการสอน ให้ครอบคุลม
นักเรี ยนและนักศึกษาพิการทางการเห็นจานวนทั้งหมด 9 คนที่เข้ารับการศึกษาที่
มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัด
เชียงใหม่ โรงเรี ยนเซนต์คาเบรี ยล และ โรงเรี ยนกาญจนาภิเษก นครปฐม
การประกวดเล่ าเรื่ องด้ วยภาษามือ
ไทยสาหรั บเยาวชนผู้พิการ
ทางการได้ ยินครั้ งที่ 9
การประกวดการอ่ าน-เขียนอักษรเบรลล์ ครั้ งที่ 15 (15-17 มค.53)
การบริ การสนับสนุน
นักศึกษาพิการ
(DSS)
การฝึ กอบรม O&M
การดูงานของนักศึกษาจากต่ างประเทศ - มหาวิทยาลัยแดลลาแวร์
โครงการอบรมจิตอาสาเพื่อ
การพัฒนาคุณภาพชี วิตคน
พิการ
พิธีการลงนามความร่ วมมือระหว่ าง สานักส่ งเสริ มและ
พัฒนาคุณภาพชี วิตคนพิการ และ 7 สถาบันการศึกษา
การสัมมนาวิชาการระดับชาติด้านคนพิการครั้ งที่ 2
ณ โรงแรมเซนจูรี่ พาร์ ค 30 ก.ค.53
การอบรมเชิ งปฏิบัติการภาษามือเพื่อการ
สื่ อสารและการให้ บริ การ ณ โรงแรมรอยัลซิ ตี้
การอบรมรมการออกแบบผลิตภัณฑ์
พานักศึกษาดูงานนอกสถานที่
ผลงานบุคลากร
ผลงานนักศึกษา
การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
กิจกรรมพัฒนาบุคลากรประจาปี
Life isn't fair, but it's still good.
2. When in doubt, just take
the next small step.
Kanada