สรุปการประชุมทางวิชาการ GMS Symposium for Developing the North

Download Report

Transcript สรุปการประชุมทางวิชาการ GMS Symposium for Developing the North

สรุปการประชุมทางวิชาการ
GMS SYMPOSIUM FOR DEVELOPING THE NORTH-SOUTH
ECONOMIC CORRIDOR
ด้ านการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้
ณ เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน
วันที่ 19-20 พฤษภาคม 2554
1
การพัฒนาจุดเชื่อมต่ อชายแดน
1. วิธีการปฏิบตั ิที่แตกต่างกัน และพบว่ามีช่องว่างของการพัฒนาค่อนข้างสู ง ซึ่ งเกิด
จากฐานะของแต่ละประเทศสมาชิก GMS มีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน
2. สมาชิกของ GMS มีปัญหาด้านการกระจายรายได้ รวมไปถึงการใช้ทรัพยากรที่
ค่อนข้างไม่มีประสิ ทธิ ภาพ
3. ยังมีจุด Missing Link ที่ยงั ไม่สามารถทาให้สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างสะดวก
4. หลายข้อตกลง โดยเฉพาะข้อตกลงขนส่ งข้ามแดน CBTA ซึ่ งได้มีการลงนามไป
แล้ว ยังไม่สามารถปฏิบตั ิได้ เป็ นส่ วนสาคัญ ที่ทาให้การขนส่ งตามระเบียง NSEC
ค่อนข้างขาดมีประสิ ทธิ ภาพ และมีตน้ ทุนที่สูง
5. การพัฒนาตามระเบียง EWEC ค่อนข้างขับเคลื่อนได้ดีกว่า
2
แนวทางการพัฒนาเส้ นทาง NSEC
1. การพัฒนายุทธศาสตร์ เหนือ-ใต้ โดยเชื่อมโยงกับประเทศจีน กับประเทศ GMS
สาหรับจีน
2. แนวยุทธศาสตร์ กาหนดให้นครคุนหมิง มณฑลยูนนาน และนครหนานหนิง
มณฑลกว่างสี เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา
3. ปั จจุบนั ทางประเทศจีนได้ขยายไปสู่ มณฑลอื่นๆ และรัฐบาลปั กกิ่งได้เข้ามาเป็ นผู้
กาหนดนโยบายและแผนการพัฒนาโดยตรง
4. เป้ าหมายของประเทศจีนต้องการใช้ GMS เป็ น Springboard หรื อก้าวกระโดด
ไปสู่ ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซี ยน
3
WESTERN SUB-CORRIDOR “แนวพืน้ ที่ย่อยภาคตะวันตก”
เส้นทางหลักจากคุนหมิง -เชี ยงราย-กรุ งเทพฯ คุนหมิง มณฑลยูนนาน
ผ่านเหมืองจิ่งหง เข้ามาเมืองชายแดนที่เมืองม่อฮัน่ เข้าสู่ สปป.ลาวที่เมืองบ่อ
เต็น ทางแขวงหลวงน้ าทา แขวงบ่อแก้ว เมืองห้วยทราย ข้ามสะพานแม่น้ า
โขง แห่ งที่ 4 มาสู่ ประเทศไทย ที่อาเภอเชียงของ ขณะเดียวกันเส้นทางย่อย
ตะวันตก ยังมีเส้นทาง R3W ซึ่งพาดผ่านประเทศพม่า ถนนผ่านเมืองมัว่ เจียง
เมืองซื อเหมา เข้าสู่ ตา้ ล่อเข้าสู่ พม่าที่เมืองเมิ่งลา ผ่านเมืองเชี ยงตุง เมืองท่า
ขี้เหล็ก และอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายของไทย
4
CENTRAL SUB-CORRIDOR “แนวพืน้ ที่ย่อยภาคกลาง”
 เส้นทางคุนหมิง-ฮานอย-ไฮฟง เป็ นเส้นทางที่มาจากนครคุนหมิง ออกมา
ทางตะวันออกผ่านเมืองไคหยวน และผ่านเมืองเหมิ่งจื้อ เมืองเหอโข่ว
เข้าสู่ เวียดนามที่เมืองล่าวก๋ าย ซึ่งจะมีเส้นทางไปสู่ นครฮานอย (เมืองเหอ
โข่ ว -ล่ า วก๋ า ย จี น และเวี ย ดนามมี ข ้อ ตกลงที่ จ ะมี ก ารน าร่ อ งเป็ นเขต
เศรษฐกิจพิเศษชายแดน)
5
EASTERN SUB-CORRIDOR “แนวพืน้ ที่ย่อยภาคตะวันออก”
เส้นทางหนานหนิ ง-ฮานอย โดยเส้นทางจะใช้หมายเลย A1 ผ่าน
เมืองอูซู ป้ านหลี ผ่านเมืองผิวเสี ยง เข้าสู่ด่าน โยยีกว่าน ผ่านเมืองหลัง่ ซอน
ของเวี ย ดนาม เข้า เมื อ งบั๊ก หมิ ง และเข้า สู่ น ครฮานอย ซึ่ ง เส้น ทางนี้ ยัง
ประกอบด้วย เส้นทางที่มาจากนครหนานหนิ ง ลงมาทางตะวันออก ผ่าน
เมืองตาจื้ อ เมืองฝางเฉิ ง เมืองตงชิ ว เข้าสู่ เวียดนาม ที่ด่านม๊อกก๋ าย ผ่าน
ท่าเรื อไฮฟง และนครฮานอย
6
ปัญหาเส้ นทางขนส่ งภายใต้ NSEC
1.
2.
3.
4.
5.
ปัญหาการพัฒนาจุดพรมแดนของแต่ ละประเทศ มีข้อจากัดค่ อนข้ างมาก ทั้งด้ านพิธีการศุลกากร ที่มี
ระบบและระเบียบแตกต่ างกัน ไม่ เป็ น Harmonized
เส้ นทาง R3 ในทางปฏิบัติ มีปัญหาการผ่ านพรมแดนค่ อนข้ างยาก ค่ าใช้ จ่ายสู ง การติดต่ อระบบ
ราชการมีความยุ่งยาก ต้ องใช้ เอกสารมาก แต่ ละด่ านใช้ เวลาค่ อนข้ างมาก
การขนส่ งข้ ามแดน Transshipment ไม่ มีมาตรฐานในการทางาน และไม่ มีมาตรฐานในการเก็บ
ค่ าธรรมเนียม เส้ นทาง Western R3W ในประเทศพม่ า ค่ อนข้ างเล็กและคดเคีย้ ว ไม่ มีความปลอดภัย
รถขนส่ งขนาดใหญ่ ไม่ สามารถวิง่ ได้
ระบบการจราจรและป้ ายสั ญญาณจราจร ในแต่ ละประเทศ ไม่ มมี าตรฐานเดียวกัน ขาดจุดพักรถ และ
การตรวจรถก็ไม่ มีมาตรฐาน เวลาการทางานปิ ด-เปิ ดด่ านไม่ แน่ นอน โดยเฉพาะในประเทศพม่ า และ
ลาว ทาให้ รถขนส่ งต้ องจอดรอคิว
พม่ ากับประเทศลาว มีปัญหาในด้ านอัตราแลกเปลีย่ น เป็ นความยุ่งยากในการดาเนินธุรกิจด้ านการค้ า
และการลงทุน
7
ปัญหาเส้ นทางขนส่ งภายใต้ NSEC (ต่ อ)
6.
7.
8.
9.
ปัญหาการขนส่ งข้ ามแดน CBTA ทีผ่ ่ านมาถึงจะมีข้อตกลง แต่ ในทางปฏิบตั ิ สิ นค้ าที่มกี าร Transit
หรือ Transshipment ยังมีปัญหาในทางปฏิบตั ิ
การขนส่ งข้ ามแดนไทย ลาว เวียดนาม จีน จะต้ องมีการวางประกันเป็ นเงินจานวนมาก ความไม่
น่ าเชื่อถือของผู้ให้ บริการขนส่ งและความรับผิดชอบกับความเสี ยหาย หรือสู ญเสี ยของสิ นค้ า และ
ความล่ าช้ าของการส่ งมอบ
อัตราขนส่ งในปัจจุบนั ยังมีอตั ราทีส่ ู ง เป็ นส่ วนสาคัญทีท่ าให้ การขนส่ งข้ ามแดนยังไม่ ก้าวหน้ า
ทีผ่ ่ านมาได้ เคยมีความพยายามทีจ่ ะให้ มอี งค์ กรกลางทาหน้ าทีอ่ อก License แต่ เนื่องจากหน่ วยงานที่
รับไปดาเนินการไม่ ได้ อยู่ในอาชีพของการขนส่ งทางถนน ทาให้ ขาดประสบการณ์ ทจี่ ะขับเคลือ่ น
8
ประเด็นทีย่ กขึน้ มาพูดในทีป่ ระชุม
1. ความล่าช้ าในการก่ อสร้ างสะพานข้ ามแม่ นา้ โขง แห่ งที่ 4 (ห้ วยทราย-เชียงของ) ในส่ วน
ของไทยค่อนข้างใกล้จะแล้วเสร็ จ ส่ วนอีกครึ่ งหนึ่งของสะพานที่ไปในประเทศลาว ยัง
ไม่มีความก้าวหน้า เนื่องจากผูร้ ับเหมาก่อสร้างแจ้งว่า ทางประเทศจีนมีปัญหาในเรื่ อง
การเบิกจ่าย อาจจะทาให้การก่อสร้างซึ่ งคาดว่าจะเสร็ จในปลายปี 2012 อาจต้องล่าช้า
ไปจนถึงปี 2014
2. ข้ อตกลงการขนส่ งสิ นค้ าข้ ามแดน (CBTA) ตามแนว NSEC มีปัญหาค่ อนข้ างมาก มี
การจัดระบบการตรวจตราสิ นค้าให้รวดเร็ ว ลดขั้นตอนพิธีการศุลกากร Transit ให้มี
ความโปร่ งใส และปรับปรุ งระบบศุลกากรของแต่ละประเทศ ตามแนวระเบียงเหนือใต้ ให้เป็ นระบบเดียวกัน โดยเฉาะด้าน SSI การกักกันพืชและสัตว์ และด้านอื่นๆ ที่มี
ปั ญหา โดยเฉพาะที่มีปัญหาค่อนข้างมาก คือด้านค่าใช้จ่ายนอกระบบ
9
ประเด็นทีย่ กขึน้ มาพูดในทีป่ ระชุม (2)
3. ที่ประชุ มเสนอให้ รัฐบาลไทยเร่ งดาเนินการลงนามในข้ อตกลงขนส่ งข้ ามแดน ได้มีการ
ตกลงกัน ไปแล้ว แต่ ท างรั ฐ บาลไทยยัง ไม่ ส ามารถลงนามได้ ติ ด ขัด ที่ รั ฐ ธรรมนู ญ
มาตรา 190 ซึ่ งประเทศไทยได้มีการยุบสภาไปแล้ว อาจต้องรอไปถึงเดือนธันวาคมเป็ น
อย่างน้อย เพราะต้องรอ ครม.ชุดใหม่
4. การเชื่ อมโยงข้ อมูลทางเศรษฐกิจ Economic Monitoring System ที่ประชุมไทย ลาว
เวียดนาม จีน ต่างมีความเห็นชอบร่ วมกัน ในการสนับสนุนระบบการติดตามข้อมูลการ
ทางานภายใต้กรอบ NSEC ขณะที่ผแู ้ ทนพม่าขอไปปรึ กษากับทางรัฐบาลต่อการกาหนด
ท่าทีอีกครั้งหนึ่ง
10
ประเด็นทีย่ กขึน้ มาพูดในทีป่ ระชุม (3)
5. โครงการนาร่ องเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ADB ขอให้จีนและเวียดนามนาร่ อง
การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ที่เหอโข่ว-ล่าวก๋ าย ขณะที่ทางผูแ้ ทนภาครัฐ
จี น ยังสงวนท่าที ประชุมเสนอให้จดั ทาเป็ นข้อตกลง MOU ในการประชุมผูน้ า
GMS (GMS Summit ครั้งที่ 4) ประเทศไทยควรได้หยิบยกประเด็นเศรษฐกิจพิเศษ
ชายแดน แม่สอด-เมียวดี มาเข้าไว้ในโครงการนาร่ อง และมีการผลักดัน เพื่อให้มี
การ MOU กับรัฐบาลพม่า ในการประชุม GMS Summit ครั้งต่อไป
6. Single Visa เพื่อที่ให้นกั ท่องเที่ยวประเทศที่ 3 สามารถทา Visa กับประเทศหนึ่ ง
ประเทศใด สามารถเข้ามาท่องเที่ ยวในประเทศสมาชิ กได้ มี เพียงประเทศไทยกับ
กัมพูชาที่ได้มีการ MOU Single Visa ภายใต้กรอบ ACMEC เท่านั้น ซึ่ งในที่ประชุม
ประเทศต่างๆ โดยเฉพาะเวียดนาม ลาว พม่า ต่างสงวนท่าที โดยอ้างประเด็นความ
มัน่ คง
11
ประเด็นทีย่ กขึน้ มาพูดในทีป่ ระชุม (3)
8. การเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจนอกพืน้ ที่เป้ าหมาย ประเทศไทยได้นาเสนอพื้นที่นอก
เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ควรจะได้รับประโยชน์จากการพัฒนา NSEC โดย
ADB ได้ขอให้ BOI ของไทยดาเนินการทา Business Matching ด้านการลงทุน
โดยขอให้ช่วยส่ งเสริ มโรงงานขนาดใหญ่ของไทยเข้ามาในพื้นที่ และพื้นที่นอก
เขตเป้ าหมาย ซึ่ งจะทาให้มีการขยายการพัฒนาเศรษฐกิจในส่ วนรอบนอก
12
สรุปจากการหารือ (PARAREL SESSION)
1. การพัฒนาโครงสร้ างพื้นฐานภายใต้ NSEC พบว่าประเทศจี นมี การลงทุนในประเทศ
เวียดนามและลาวมากขึ้น โดยเฉพาะภายใต้เส้นทาง ฮานอย-ล่าวก๋ าย และโครงการพัฒนา
ท่าเรื อไฮฟง มี ความรุ ดหน้าสู ง ทางประเทศเวียดนามมมี ความสนใจในการพัฒนาพื้น ที่
ชายแดนเศรษฐกิจพิเศษ เหอโข่ว-ล่าวก๋ าย
2. ขอให้ มีการตั้งคณะกรรมการ หรื อมีกลไกพิเศษในการนาเสนอปัญหา และการประสานงาน
ทั้งในระดับ G2G G2B และ B2B ซึ่ งจะต้องนาท้องถิ่น ได้แก่ จังหวัด และแขวง หรื อเมือง
ชายแดน ให้เข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้กรอบระเบียง NSEC
3. ให้มีการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาค SMEs โดยการสร้างคลัสเตอร์
อุตสาหกรรม ลงไปในพื้นที่เป้ าหมาย โดยเน้นอุตสาหกรรมที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม และ
ส่ งเสริ มการท่องเที่ยว ที่ไม่มีผลกระทบต่อวัฒนธรรมและวิถีชีวติ ของชุมชน
4. จังหวัดเชียงราย ขอเป็ นผู้นากลุ่มจังหวัดในการพัฒนา GMS The Leader of Provincial
Group ขณะที่พิษณุโลก วางบริ บทเป็ นจุดเชื่อมโยงระเบียง NSEC กับระเบียง EWEC และ
13
การบูรณาการด้านการลงทุน อุตสาหกรรมเชื่อมโยงประเทศต่างๆ ในภูมิภาค
สรุปจากการหารือ (PARAREL SESSION) (ต่ อ)
5.
6.
7.
ประเทศพม่ า โดยรัฐฉานต้ องการเป็ นฐานการผลิตด้ านการเกษตร การท่องเที่ยว และขอให้มี
การส่ งเสริ มด้านการลงทุนอุตสาหกรรมท่าขี้เหล็ก-แม่สาย โดยเน้นอุตสหกรรมด้านอุปโภคบริ โภค รวมถึงการตั้งคณะกรรมการการค้าชายแดนไทย-พม่า
การเชื่อมโยงแหล่ งการท่ องเที่ยว โดยเฉพาะที่เป็ นแหล่งมรดกโลก ของกลุ่มประเทศ GMS
โดยมีนครคุนหมิง และหนานหนิง เป็ นจุดเป้ าหมาย ซึ่งจีนคาดว่า ปริ มาณการท่องเที่ยวในปี
2020 จะมีนกั ท่องเที่ยวเข้ามาในกลุ่ม GMS มากถึง 150 ล้านคน ส่ วนใหญ่เป็ นนักท่องเที่ยว
จากจีน
ได้ มีการนาเสนอให้ มีการทา Main Tourism Route หรื อเส้นทางหลักการท่องเที่ยว โดยมี
ประเทศจีนและไทย เป็ นจุดหมายปลายทาง โดยมีการนาทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม
สิ นค้า OTOP และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เข้ามาบูรณาการด้านการท่องเที่ยว ซึ่งจาเป็ นจะต้อง
เน้นบทบาทของชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่ วม โดยการทาแผน Area Cooperation โดยเน้นในเชิง
มิติดา้ นการท่องเที่ยวอย่างบูรณาการ
14
การดาเนินการจัดตั้ง
GMS FRETA
15
ความเป็ นมาของ GMS FRETA
 เป็ นแนวคิดในการแก้ปัญหาข้อตกลง CBTA ซึ่ งมีผลในการปฏิบต
ั ิที่ไม่เป็ นรู ปธรรม
 ภาคเอกชนของประเทศสมาชิ กได้มีการเรี ยกร้ องให้มีการแก้ไขปั ญหา CBTA
แต่ไม่ได้
รับการตอบสนอง
 การประชุม GMS- Minister Meeting สิ งหาคม 2010 ที่นครหนานหนิ งเห็นชอบในการ
จัดตั้ง GMS FRETA
 การประชุมที่ กรุ งเทพ ประเทศไทยได้ผลัดดันให้มีการจัดตั้ง GMS Transport Alliance
 การประชุม นครพนมเปญ กัมพูชา ได้มีการนาเสนอเป็ นวาระที่เกี่ยวกับ GMS Transport
Alliance
 ในช่วงปลายปี 2010 – 2011 ได้มีการประชุมเตรี ยมการจัดตั้ง GMS FRETA ที่ กรุ งเทพ 2
ครั้ง และเวียนจันทร์ 1 ครั้ง และที่คุณหมิง 1 ครั้ง
16
 มีการนาเสนอจัดตั้ง GMS FRETA ที่นครคุณหมิงเมื่อการประชุมวันที่ 19 พ.ค. 54
วัตถุประสงค์ ของ GMS FRETA
1. ช่วยเหลือและส่ งเสริ มสมาชิกในเรื่ องข้อมูลข่าวสาร
2. การพัฒนบุคคลากรด้านการขนส่ งและส่ งเสริ มการลงทุนโดยเฉพาะด้าน
ผูใ้ ห้บริ การด้านโลจิสติกส์
3. การออก Certificate Body ของรถบรรทุกและคนขับรถในส่ วนที่
เกี่ยวข้องกับการขนส่ งข้ามแดน
4. กาหนดหมดมาตรฐานคนขับรถบรรทุกและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ขนส่ งข้ามแดน
17
กิจกรรมหลักของ GMS FRETA
1. เป็ นองค์กรในการจัดประชุมและประสานงานให้กบั สมาชิกและการนาเสนอ
ปั ญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานด้านการขนส่ งในภูมิภาค
2. กาหนดมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ การขนส่ ง รถบรรทุก อุปกรณ์ และมาตรฐาน
การดาเนินงานการขนส่ งข้ามแดน
3. การฝึ กอบรมและอกกวุฒิบตั รให้กบั บริ ษทั ที่เป็ นสมาชิก
4. ตรวจสอบและออก Certificate Body ให้กบั รถบรรทุกและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้
ในการขนส่ งระหว่างประเทศ
5. เป็ นผูน้ าและประสานการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลง CBTA รวมทั้ง
กาหนดกฎ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ งข้ามแดน
18
โครงสร้ างคณะกรรมการบริหารของ GMS FRETA
คณะกรรมการบริ หาร GMS FRETA มาจาก
1. คณะกรรมการ GMS-BF
2. ผูแ้ ทนสมาชิกในแต่ละประเทศ ประเทศละ 2 คน
3. ผูแ้ ทนจากประเทศที่มีการขนส่ งระหว่างประเทศแต่ไม่มีสานักงาน
ใหญ่ในภูมิภาคจานวน 2 คน
4. กรรมการผูช้ านาญการจานวน 2 ท่าน
19
ESTIMATED ANNUAL REVENUE GMS-FRETA
(FIRST 3 YEARS)
Description
Qty
Unit $
US$
• Association
12
1,000
12,000
• Multinational Companies
18
1,000
18,000
• GMS Companies
60
500
30,000
18
1,000
18,000
750
50
37,500
1,500
30
45,000
6
12,000
72,000
Annual Fee
Board Annual Fee
• Board Members
Services
• GMS-FRETA ISO Certification (out sourced)
• Training (out sourced)
• TA and Studies (in man month)
TOTAL REVENUE
232,500
ESTIMATED SECRETARIAT OFFICE ANNUAL EXPENSES
(FIRST 3 YEARS)
Unit $
US$
Staff Salaries
• Technical Director
1
5,000
30,000
• Office Administrator
1
800
9,600
• Office Clerk
1
500
6,000
12
800
9,600
Travel Expenses
6
1,000
6,000
Meetings and Conference
6
1,000
6,000
External Technical Assistance
6
10,000
60,000
Administration (rental, telecom, etc.)
Miscellaneous
TOTAL ANNUAL EXPENSES
10,000
137,200
THANK YOU