Transcript Chapter 1

CHAPTER 1
ระบบสารสนเทศและบทบาทของ
นักวิเคราะห์ระบบสมัยใหม่
1
โดย ...อาจารย์เกศแก้ว ประดิษฐ์
[email protected]
ความหมายของระบบ
 ร ะ บ บ ( System) คื อ ก ลุ่ ม ข อ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ ที่ มี
ความสัมพันธ์กนั โดยแต่ล ะองค์ประกอบจะทางานร่วมกันเพื่ อวัตถุ ประสงค์
เดี ย วกั น เช่ น ระบบงานคอมพิ ว เตอร์ ประกอบด้ ว ย ฮาร์ ด แวร์
( Hardware) ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ( Software) แ ล ะ บุ ค ล า ก ร
(Peopleware)
2
ภาพรวมของระบบ
สภาพแวดล้อม (Environment)
3
ระบบสารสนเทศ
 ข้อมูล (Data ) คือ ข้อเท็จจริงทีเ่ กิดขึ้นทีม่ ีความหมายในตัวเอง ซึง่
ยังไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ ซึ่งอาจใช้แทนเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นภายในองค์กร
หรือสิง่ แวดล้อม ก่อนทีจ่ ะถูกนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
 สารสนเทศ (Information) ข้อ มู ล ที่ ไ ด้ร ับ การประมวลผล
เพื่อให้มีความหมายและเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้ อาจเป็ นการประมวลผลที่ใช้วธิ ี
แบบง่ายๆ ในการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย การ
จัดลาดับ การคิดอัตราร้อยละ หรือการใช้เทคนิคชัน้ สูง เช่น การวิจยั การ
ดาเนินงานวิธีทางสถิติ เป็ นต้น
4
ระบบสารสนเทศ (ต่อ)
 ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ กลุ่มของ
ระบบงานที่ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ที่ทาหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารเพื่อ
สนับสนุนการตัดสินใจและการควบคุมภายในองค์กร
5
ตัวอย่าง ข้อมูล และ ระบบสารสนเทศ
Data : รหัสนักศึกษา ชือ่ นามสกุล คะแนนสอบย่อย สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
Information
: เกรดรายวิชาทีไ่ ด้รบั
6
ตัวอย่าง ข้อมูล และ ระบบสารสนเทศ
Data : ชือ่ นามสกุล ทีอ่ ยู่ เบอร์โทรศัพท์ กรุป๊ เลือด วันเดือน ปี เกิด
อาการรักษาเบื้องต้น ฯลฯ
Information
: ข้อมูลผูป้ ่ วย
7
ระบบสารสนเทศ
 ประกอบไปด้วย 5 องค์ประกอบ คือ
 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 ซอฟต์แวร์ (Software)
 ข้อมูล (Data)
 บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Peopleware)
 กระบวนการทางาน (Procedure)
8
ชนิดของระบบสารสนเทศ
 ประกอบไปด้วย 6 ชนิด คือ
 1. ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (Transaction
Processing Systems: TPS)
 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management
Information Systems :MIS)
 3.
ระบบสารสนเทศส านัก งานอัติโ นมัติ (Office
Information System: OAS/OIS)
 4.
ระบบสนับ สนุ น การตัด สิ น ใจ (Decision
Support Systems: DSS)
9
ชนิดของระบบสารสนเทศ
 ประกอบไปด้วย 6 ชนิด คือ
 5.
ระบบสนับสนุนผูบ้ ริหารระดับสูง (Executive
Support Systems: ESS)
 6. ระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ(Expert Systems : ES)
10
ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (TPS)
 เป็ นการประมวลผลข้อ มู ล ทางธุ ร กิ จ ประจ าวัน ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การ
ดาเนินงานประจาวัน (Day-to-Day Transaction) ทีต่ อ้ งทา
ในธุรกิจ เช่น การบันทึกรายการสัง่ ซื้อสินค้าจากลูกค้าในแต่ละวัน ซึง่ รายการ
ที่บนั ทึกนัน้ จัดเป็ นการปฏิบตั ิงานที่กระทาซา้ ๆ ในแต่ละวันเป็ นประจา โดย
ข้อมูลรายการประจาวันจะถูกรวบรวมไว้เพื่ อนาไปจัดทารายงานตามความ
ต้องการ
11
ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (TPS)
 หน้าทีข่ อง TPS
 การจัดกลุ่มของข้อมูล (Classification) คือ การจัดกลุ่มข้อมูล
ลักษณะเหมือนกันไว้ดว้ ยกัน
 การคิดคานวณ (Calculation) การคิดคานวณโดยใช้วธิ ีการ
คณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ท่เี ป็ นประโยชน์ เช่น การ
คานวณภาษีขายทัง้ หมดทีต่ อ้ งจ่ายในช่วง 3 ปี ทผ่ี า่ นมา
12
ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (TPS)
 หน้าทีข่ อง TPS
 การเรียงลาดับข้อมูล (Sorting) การจัดเรียงข้อมูลเพื่อทาให้การ
ประมวลผลง่ายขึ้น เช่น การจัดเรียง invoices ตามรหัสไปรษณียเ์ พื่อให้
การจัดส่งเร็วยิง่ ขึ้น
 การสรุปข้อมูล (Summarizing) เป็ นการลดขนาดของข้อมูลให้
เล็กหรือกะทัดรัดขึ้น เช่น การคานวณเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาแต่ละคน
13
ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (TPS)
 การทางานของระบบ TPS
 การเก็บ (Storage) การบันทึกเหตุการณ์ทมี่ ีผลต่อการปฏิบตั งิ าน
อาจจาเป็ นต้องเก็บรักษาข้อมูลไว้ โดยเฉพาะข้อมูลบางประเภททีจ่ าเป็ นต้องเก็บ
รักษาไว้ตามกฎหมาย ทีจ่ ริงแล้ว TPS เกี่ยวข้องกับงานทุกระดับในองค์การ
แต่งานส่วนใหญ่ของ TPS จะเกิดขึ้นในระดับปฏิบตั กิ ารมากกว่า แม้วา่
TPS จะจาเป็ นในการปฏิบตั งิ านในองค์การแต่ระบบ TPS ก็ไม่เพียงพอใน
การสนับสนุนในการตัดสินใจของผูบ้ ริหาร ดังนัน้ องค์การจึงจาเป็ นต้องมีระบบอืน่
สาหรับช่วยผูบ้ ริหาร
14
ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (TPS)
 การประมวลผลข้อมูลของ TPS มี 3 วิธี คือ
1) Batch processing การประมวลผลเป็ น
ชุดโดยมีการรวบรวมข้อมูลทีเ่ กิดจากการทาธุรกรรมทีเ่ กิดขึ้นและรวมไว้เป็ น
กลุ่มหรือเป็ นชุด (batch) เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง หรือจัดลาดับให้
เรียบร้อ ยก่อ นที่จะส่ง ไปประมวลผล โดยการประมวลผลนี้ จะกระทาเป็ น
ระยะๆ (อาจจะทาทุกคืน ทุก 2-3 วัน หรือทุกสัปดาห์)
15
ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (TPS)
 2) Online processing คือ ข้อมูลจะได้รบั การ
ประมวลผลและทาให้เป็ นเอาท์พุททันทีทมี่ ีการป้ อนข้อมูลของธุรกรรมเกิดขึ้น
เช่น การเบิกเงินจากตู ้ ATM จะประมวลผลและดาเนินการทันที เมื่อมี
ลูกค้าใส่รหัสและป้ อนข้อมูลและคาสัง่ เข้าไปในเครือ่ ง
 3) Hybrid systems เป็ นวิธีการผสมผสานแบบที่ 1)
และ 2) โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทันทีแต่การประมวลผลจะทา
ในช่วงกระยะเวลาทีก่ าหนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้อนข้อมูล การซื้อขายจากลูกค้า
เข้าคอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ แต่การประมวลผลข้อมูลจากแคชเชียร์ ทุก
คนอาจจะทาหลังจากนัน้ (เช่น หลังเลิกงาน)
16
ตัวอย่าง ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (TPS)
 งานเงินเดือน (Payroll)
 การติดตามเวลาการทางานของพนักงาน
 การคิดเงินเดือน โดยมีการหักภาษี ค่าประกัน หรือค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ
 การออกเช็คเงินเดือนหรือการโอนเงินเดือนเข้าบัญชีให้กบั ลูกจ้าง
 การขาย (Sales)
 การบันทึกข้อมูลการขาย
 การออกใบเสร็จรับเงินหรือบิลส่งสินค้า
 การติดตามข้อมูลรายรับ
 การบันทึกการจ่ายหนี้
17
 การเก็บข้อมูลการส่งสินค้าหรือบริการไปยังลูกค้า
ตัวอย่าง ระบบประมวลผลรายการประจาวัน (TPS)
 การสัง่ ซื้อสินค้า (Purchasing)
 การสัง่ ซื้อหรือบริการต่างๆ
 การบันทึกข้อมูล การส่งสินค้าหรือบริการจากซัพพลายเออร์
 การเงินและการบัญชี
 การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับรายรับ (Finance and
Accounting)
 การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับภาษี
 การติดตามค่าใช้จา่ ยต่างๆ
18
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ(MIS)
 สนับสนุ นการทางานผูบ้ ริหารระดับล่างและระดับกลางในการนาเสนอ
รายงาน ข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลเฉพาะด้าน และข้อมูลในอดีต ซึ่งจะเน้นความ
ต้องการของบุคคลภายในองค์กรมากกว่าบุคคลหรือหน่วยงานภายนอก
ลักษณะเด่น
 วางแผน ควบคุม และการตัดสินใจซึ่งมักจะนาข้อมูลมาจากระบบ
TPS มาทาการประมวลผล ในลักษณะรายงาน ประจาสัปดาห์ เดือน
ซึง่ เป็ นข้อมูลสรุปหรือเปรียบเทียบ เช่น ระบบการตัดสต็อกสินค้า ระบบ
การสัง่ ซื้อสินค้า ทีม่ ีการนาข้อมูลมาสรุปออกเป็ นรายงาน เป็ นต้นฯลฯ
19
ระบบสานักงานอัตโนมัติ (OIS/OAS)
 ระบบงานสานักงานอัตโนมัติ เป็ นระบบทีเ่ พิ่มประสิทธิภาพงานด้านการ
จัดการสานักงานและการสือ่ สาร พนักงานในองค์กรต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการ
จัดการกับเอกสาร โดยอาศัยโปรแกรมดังต่อไปนี้
 โปรแกรมประมวลผลคา
 โปรแกรมตารางงาน
 โปรแกรมฐานข้อมูล
 โปรแกรมนาเสนอข้อมูล
 โปรแกรมออกแบบกราฟิ กส์
 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
20
 เว็บบราวเซอร์ หรือโปรแกรมสร้างเว็บ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
 เป็ นระบบสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริหาร ในการ
จัดทารายงานวิเคราะห์ผลทางสถิติต่างๆ หรือการแสดงในรูปแบบกราฟ
เปรียบเทียบ เพื่อใช้ประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจ
 ระบบทีส่ ามารถให้ทางเลือกโดยอาศัยข้อมูลประกอบการตัดสินใจ
 นาข้อมูลจาก TPS MIS มาใช้งานภายในระบบ
 นาสารสนเทศจากภายนอกเข้าสู่ระบบ เช่น การนาข้อมูลราคาหุ ้นของ
ตลาดหุน้ มาประกอบการพิจารณา หรือการนาราคาผลิตภัณฑ์ของคู่ แข่งมา
ประกอบการพิจารณา เป็ นต้น
 เป็ นการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง หรือไม่มีโครงสร้าง
21
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) (ต่อ)
หน้าทีห่ ลักในการประมวลผลข้อมูล
 การสร้างแบบจาลอง เช่น การพยากรณ์ยอดขาย
 การวิเคราะห์แบบ What-If Analysis เช่น การวิเคราะห์
วิธีน้ ีเป็ นกึ่งมีโครงสร้าง และไม่มีโครงสร้าง
 การวิเคราะห์แบบ Goal Seeking เป็ นกระบวนการทีผ่ ตู ้ ดั สินใจ
กาหนดผลลัพธ์
 การวิเคราะห์แบบ Risk Analysis เป็ นการวิเคราะห์ทางเลือกใน
การตัดสินใจ
 การวิเคราะห์แบบ Graphical Analysis คือการวิเคราะห์และ
แสดงผลลัพธ์
22
ตัวอย่างระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
บริษทั ค็อกพิท มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการออกแบบยางรถยนต์
ยีห่ อ้ ใหม่
 ระบบช่ว ยให้น ัก วิเ คราะห์ม องเห็น ถึ ง ความสัม พันธ์ระหว่ างผล
ทางด้านการเงินในอดีตกับตัวแปรภายนอก เช่น จานวนรถยนต์ที่ผลิต
ทัง้ หมด ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศแล้วนามาสร้างโมเดลในการ
พยากรณ์การขายด้วยโมเดลต่างๆ ทีม่ ีอยูใ่ นระบบ
 สามารถสร้างฐานข้อมูลที่บรรจุยางของคู่แข่งทัง้ หมด 200 ยี่หอ้
รวมทัง้ ข้อมูลในการผลิต แรงกด ปริมาณ และประมาณการขาย
23
ตัวอย่างระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) (ต่อ)
 ผูบ้ ริหารสามารถใช้ขอ้ มูลในฐานข้อมูลนี้สาหรับการกาหนดกล
ยุทธ์ในการแข่งขัน
 ระบบช่วยให้องค์การสามารถนาเอาประเด็นด้านเทคโนโลยีมา
ผนวกกับ ด้านการเงินในการตัดสินใจทีเ่ กี่ยวกับผลิตภัณฑ์และช่วย
สนับสนุนให้มีการตัดสินใจร่วมกันของหน่วยงานตามหน้าทีต่ า่ งๆ ใน
องค์การ
24
ระบบสนับสนุนผูบ้ ริหารระดับสูง (ESS)
 คล้ายกับระบบ DSS แต่จะแตกต่างกันทีร่ ะบบ ESS เป็ นการตัดสินใจใน
ระดับกลยุทธ์และนโยบายผูบ้ ริหารระดับสูง
 นาสารสนเทศจากภายนอกมาประกอบการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
 การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง
25
ตัวอย่างระบบสนับสนุนผูบ้ ริหารระดับสูง (ESS)
บริษทั Cisco
 กาหนดให้ซพั พลายเออร์เข้ามามีสว่ นร่วมในการกาหนดอุปสงค์ผา่ น
ทางระบบการใช้ขอ้ มูลร่วมกัน
 หุน้ ส่วนแต่ละรายของซิสโกก็สร้างโมเดลการทานายอุปสงค์อุปทานของ
ตัวเอง โดยอาศัยการคัดลอกข้อมูลทีไ่ หลมาจาก Supply Chain เพื่อช่วยลด
ภาระสินค้าคงเหลือของซัพพลายเออร์ให้เหลือน้อยทีส่ ุด (บุญเลิศ วงศ์พรม,
2544)
 ซิสโกมีเว็บไว้สาหรับการติดต่อระหว่างซัพพลายเออร์และลูกค้า ทาให้
สามารถทีจ่ ะเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแนวโน้มของผูบ้ ริโภค ว่าลูกค้า
ต้องการอะไร ตลอดจนความเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมเดียวกันได้อย่างมี 26
ประสิทธิภาพ
http://www.prosoft.co.th
27
ตัวอย่างระบบสนับสนุนผูบ้ ริหารระดับสูง (ESS)
 Employee Self-Service (ESS) คือ ระบบบริหารงานบุคคล ที่ชว่ ย
สนับสนุนการทางานของ Prosoft HRMI โดยยกระบบงานทีม่ ีสว่ นเกี่ยวข้อง
กับพนักงานโดยตรง และมีความถี่ในการใช้งานบ่อยเข้าสูร่ ะบบ ESS พนักงาน
สามารถจัดการข้อมูลต่างๆ ได้ดว้ ยตนเอง ผ่านเครือข่ายออนไลน์ (Web
Browser) เช่น การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขององค์กร การปรับปรุงข้อ มูล
ส่วนตัว บันทึกร้องขออนุมตั ิต่างๆ ซึ่งผูบ้ ริหารสามารถเข้าไปพิจารณาอนุมตั ิ
การร้องขอผ่านระบบ ESS ได้เช่นกัน ทัง้ นี้การเข้าถึงข้อมูลจะถูกกาหนดสิทธิ์
ของผูใ้ ช้งานอย่างเป็ นระบบเพื่อป้ องกันความปลอดภัยของฐานข้อมูล
28
ระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ (ES/KWS)
 เป็ นระบบทีร่ วบรวมความรูค้ วามเชีย่ วชาญเฉพาะด้านในแต่ละสาขา
 ข้อมูลภายในระบบจะเป็ น ความรูท้ เ่ี กิดขึ้นในแต่ละสาขา อาทิเช่น
ประสบการณ์ ความรูเ้ ชิงประจักษ์
 ตัวอย่างระบบทีเ่ กิดขึ้น ระบบปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence :
AI) ซึง่ ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ การพัฒนา ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการ
เลียนแบบการเรียนรูแ้ ละพฤติกรรมการให้เหตุผลของมนุษย์
29
ตัวอย่างระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ (ES/KWS)
 ตัวอย่างของ ES ทีน่ าไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ : การให้คาแนะนาแก่หมอในการสัง่ ยาปฏิชวี นะให้คนไข้ซง่ึ ต้อง
คานึงถึงปั จจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัตกิ ารเจ็บป่ วยของคนไข้ แหล่งติด
เชื้อ ราคาของยา
2) ด้านการผลิต : การให้คาแนะนาแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เช่น
ชิ้นส่วนเครือ่ งบิน
3) ด้านธรณีวทิ ยา : ให้คาแนะนาแก่นกั ธรณีวทิ ยาในการวิเคราะห์ดินและนา้ มัน
เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะนา้ มัน
30
ตัวอย่างระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ (ES/KWS) (ต่อ)
4) ด้า นกระบวนการผลิ ต : ให้ค าแนะน าในการก าหนดตารางเวลาใน
กระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึง่ ทาให้บริษทั สามารถปรับ
ตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการ
ผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษทั General
Motors ได้นามาใช้
31
ตัวอย่างระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ (ES/KWS) (ต่อ)
5) ด้านกระบวนการทางานของบริษทั บัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการ
ทางานตัง้ แต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมตั เิ ครดิต การรวมบัญชี
ทีค่ า้ งชาระเกินกาหนด ES ทีใ่ ช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และ
ทาให้บริษทั ประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
6) ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ : การออกแบบ ES มาสาหรับช่วยบริษทั ทีท่ า
ธุรกิจต่างประเทศในการทาสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็ นเครือ่ งมืออบรม
พนักงานให้มีความรูแ้ ละทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมาก
ขึ้น (Haag et al.,2000)
32
ตัวอย่างระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ (ES/KWS) (ต่อ)
7) ด้านการค้าระหว่างประเทศ : บริษทั ทีต่ ดิ ต่อกับกลุม่ ประเทศ NAFTA ต้อง
เผชิญปั ญหากับภาษีและกฎระเบียบทีส่ ลับซับซ้อนสาหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน
ความเข้มงวดในเรือ่ งพิธีศุลกากร และการกาหนดโทษของการฝ่ าฝื นค่อนข้าง
รุนแรง ดังนัน้ ความเสีย่ งในการทาการค้ากลุม่ ประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง
บริษทั ต่างๆ จึงได้อาศัย ES สาเร็จรูปทีช่ อื่ ว่า “Origin” เป็ นเครือ่ งมือช่วยใน
การให้คาแนะนาในเรือ่ งกฎระเบียบต่างๆ
33
การใช้สารสนเทศของผูบ้ ริหารระดับต่างๆ
 ผูบ้ ริหารระดับสูง
 ผูบ้ ริหารระดับกลาง
 ผูบ้ ริหารระดับล่าง
34
การใช้สารสนเทศของผูบ้ ริหารระดับต่างๆ
ลาดับชัน้
ผูบ้ ริหารระดับสูง
ความรับผิดชอบ
พัฒนาแผนระยะยาว กาหนด
เป้ าหมาย วางแผนและกลยุทธ์
ผูบ้ ริหารระดับกลาง พัฒนาแผนระยะสัน้ กาหนด
เป้ าหมาย วางแผนและกลวิธี
ผูบ้ ริหารระดับล่าง พัฒนางานแบบวันต่อวัน
วางแผนและควบคุมดูแลการ
ปฏิบตั ิงาน
พนักงานปฏิบตั งิ าน งานในหน้าทีป่ ระจา
การ
ตัดสินใจ
ความต้องการชนิด
ของสารสนเทศ
ไม่มี
ESS ,MIS
โครงสร้าง DSS ,OIS
กึ่งโครงสร้าง MIS, DSS
OIS
มีโครงสร้าง MIS, OIS
มีโครงสร้าง TPS ,OIS
35
คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
1. ตรงกับความต้องการ
2. ทันเวลาต่อการนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
3. มีความเทีย่ งตรง
 ความถูกต้อง
 ความสมบูรณ์
 ความปลอดภัย
4. ประหยัด
5. มีประสิทธิภาพ
36
การวิเคราะห์ระบบงาน (System Analysis)
การวิเคราะห์ระบบงาน คือ
การศึ ก ษาถึ ง ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระบบงานปั จ จุ บ ัน
(Current System) เพื่อออกแบบระบบการทางานใหม่ (New
System) นอกเหนือจากออกแบบสร้างระบบงานใหม่แล้ว
เป้ าหมายในการวิเคราะห์ระบบ
 ปรับปรุงแก้ไขระบบงานเดิมให้มีทศิ ทางทีด่ ขี ้ นึ
 สร้างระบบใหม่
37
เหตุผลที่ตอ้ งการวิเคราะห์ระบบ





ปรับปรุงบริการแก่ลูกค้า
เพิ่มประสิทธิภาพการทางาน
เพิ่มกระบวนการควบคุมการทางาน
ลดต้นทุนการดาเนินการ
ต้องการสารสนเทศมากขึ้น
38
นักวิเคราะห์ระบบ System Analyst : SA
นักวิเคราะห์ระบบ เป็ นผูป้ ระสานการติดต่อบุ คคล
ต่างๆ เพื่อรวบรวมข้อมูล ความต้องการในองค์กรที่ประสบกับ
ปั ญหาการดาเนินงานเพื่อทาการปรับปรุงหรือสร้างระบบใหม่
หน้าทีห่ ลัก
1. วางแผนงาน
2. วิเคราะห์ความต้องการด้านสารสนเทศ
3. ประมวลผลของหน่วยงาน
4. การเขียนข้อกาหนดของระบบใหม่
5. ระบุอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ทเี่ หมาะสม
39
นักวิเคราะห์ระบบ System Analyst : SA
ผูจ้ ดั การ
เจ้าของระบบ
โปรแกรมเมอร์
นักวิเคราะห์ระบบ
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเทคนิค เช่น
DBA
ผูใ้ ช้ระบบ
ผูข้ ายและจัด
จาหน่าย
40
ความรูแ้ ละทักษะของนักวิเคราะห์ระบบ
1.
2.
3.
4.
ทักษะและความรูท้ างเทคนิค
ทักษะและความรูท้ างธุรกิจ
ทักษะและความรูด้ า้ นคนและทีมงาน
ความซือ่ สัตย์และจรรยาบรรณในอาชีพ
41
ความรูแ้ ละทักษะของนักวิเคราะห์ระบบ
1.
ทักษะและความรูท้ างเทคนิค
 เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ แ ละการท างานของระบบ
คอมพิวเตอร์
 อุปกรณ์ต่อพวง เช่น อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล สื่อจัดเก็ บ
ข้อมูล และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล
 เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสือ่ สาร
 เทคโนโลยีฐานข้อมูลและระบบการจัดฐานข้อมูล
 ภาษาคอมพิวเตอร์ทใี่ ช้สาหรับโปรแกรม
 โปรแกรมระบบปฏิบตั กิ ารและโปรแกรมยูทลิ ิต้ ี
42
ความรูแ้ ละทักษะของนักวิเคราะห์ระบบ
2. ทักษะและความรูท้ างธุรกิจ (Business Knowledge and Skills)
 มีฟังก์ชนั หน้าทีท่ างธุรกิจอะไรบ้าง ทีต่ อ้ งปฏิบตั งิ าน
 โครงสร้างองค์กรมีรูปแบบอย่างไร
 การจัดการองค์กรมีรูปแบบอย่างไร
 ชนิดหรือรูปแบบของระบบงานที่ใช้ในองค์กร เช่นระบบ
การเงิ น (Finance) ระบบการผลิ ต (Manufacturing)
ระบบการตลาด (Marketing) หรืออืน่ ๆ
43
ความรูแ้ ละทักษะของนักวิเคราะห์ระบบ
3. ทักษะและความรูด้ า้ นคนและทีมงาน (People Knowledge and
Skills)
 การคิด (Think)
 การเรียนรู ้ (Learn)
 ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง (React to change)
 การสือ่ สาร (Communicate)
 งาน (Work)
44
ความรูแ้ ละทักษะของนักวิเคราะห์ระบบ
4. ความซือ่ สัตย์และจรรยาบรรณในอาชีพ (Personal Integrity and
Ethics)
 ความรับผิดชอบ
 ข้อมูลเป็ นความลับ ไม่เปิ ดเผยข้อมูลของหน่วยงาน
45