Transcript Document

Chapter 11
ปัญญาประดิษฐ์
Artificial Intelligence
วิชา MIS อ. สุ รินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล
วิวฒั นาการของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
1. วิวัฒนาการเริ่มแรก (กลางปี ค.ศ. 1950)



ระบบประมวลผลรายการข้ อมูล (Transaction Processing System: TPS)
ระบบจัดทารายงานสารสนเทศ (Information Reporting)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System:
MIS)
2. วิวัฒนาการระยะที่สอง (ประมาณปี ค.ศ. 1960-1970)

ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)
วิวฒั นาการของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
3. วิวัฒนาการระยะที่สาม (ช่ วงปี ค.ศ. 1970-1980)



ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง (Executive Support System: ESS)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเป็ นทีม (Group Support System: GSS)
วิวฒั นาการของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
4. วิวัฒนาการระยะที่ส่ ี (ค.ศ. 1980 เป็ นต้ นมา)

ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)
 โครงข่ ายใยประสาทเสมือน/คอมพิวเตอร์ โครงข่ ายใยประสาท

(Artificial Neural Network/Neural Computing)
ตรรกะคลุมเครือ (Fuzzy Logic)
 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing: NLP)

5. วิวัฒนาการระยะที่ห้า (ศตวรรษที่ 21)

ตัวแทนปั ญญา (Intelligent Agent)
ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence:AI)
หมายถึง “การทาให้ คอมพิวเตอร์ สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้
ได้ ทางานได้ เหมือนสมองมนุษย์ ” (ทักษิณา สวนานนท์ ,
2539,น.13)
หมายถึง ศาสตร์ แขนงหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่
ต้ องการประดิษฐ์ เครื่องจักร เช่ น คอมพิวเตอร์ หรือ หุ่นยนต์
ให้ สามารถคิดและมีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ ใน
กระบวนการตัดสินใจแก้ ปัญหาได้ ซึ่งอาจจะต้ องมีการ
วินิจฉัย หาเหตุผล จากความรู้ท่ จี ัดเก็บไว้ และนาความรู้นัน้
มาเชื่อมโยงเพื่อหาข้ อสรุ ป หรือผลลัพธ์ ของปั ญหานัน้ ได้ ใน
ที่สุด
ลักษณะและความสามารถของ AI




1. สามารถเรี ยนรู้ และทาความเข้ าใจประสบการณ์ที่ผา่ นมา
2. สามารถทาความเข้ าใจกับข้ อความที่มีความคลุมเครื อหรื อมี
ความขัดแย้ งกันได้
3. มีความสามารถในการตอบสนองที่รวดเร็วและถูกต้ องต่อ
สถานการณ์ใหม่ๆ
4. สามารถใช้ เหตุผลเพื่อแก้ ปัญหา และให้ คาแนะนาได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ลักษณะและความสามารถของ AI




5. สามารถจัดการกับสถานการณ์ที่มีความยุง่ ยาก ซับซ้ อนได้
6. สามารถทาความเช้ าใจและวินิจฉัย เพื่อสรุปความอย่างมีเหตุ
ผลได้
7. สามารถประยุกต์องค์ความรู้ให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อม
8. สามารถพิจารณาถึงความสาคัญขององค์ประกอบที่แตกต่างกัน
ในแต่ละสถานการณ์ได้
ข้อจากัดของ AI
ความสามารถที่ใช้
เปรี ยบเทียบ
ปัญญาธรรมชาติ
ปัญญาประดิษฐ์ (AI)
ความละเอียดและยุติธรรม ลาเอียงได้ และบางเวลาเกิด ละเอียด รอบคอบ และ
ความไม่รอบคอบได้
ยุติธรรมตามที่ได้ถกู
โปรแกรมไว้
การนาประสบการณ์
นาออกมาใช้ได้เลย
ต้องมีการแปลงสารสนเทศ
ออกมาใช้
ก่อน
ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ไม่มี
การให้เหตุผล
ต้องอาศัยประสบการณ์สูง ถ้าเป็ นปัญหาเฉพาะด้าน
จะสามารถให้เหตุผลได้ดี
การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในศาสตร์แขนงอื่น
1. หุน่ ยนต์ (Robotic)
2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)
3. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing: NLP)
และเทคโนโลยีเสียง (Voice/ Speech Technology)
4. คอมพิวเตอร์ โครงข่ายใยประสาท (Neural Computing)
5. ตรรกะคลุมเครื อ (Fuzzy Logic)
6. ตัวแทนปั ญญา (Intelligent Agent)
7. ระบบช่วยสอนอันชาญฉลาด (Intelligent Tutoring System)
8. ระบบความเป็ นจริงเสมือน (Virtual Reality System)
หุ่นยนต์ (Robotic)

การนาหุน่ ยนต์ ระบบความรู้สกึ และกลไกการเคลื่อนไหวมารวมกัน ทาให้
สามารถผลิตเครื่ องจักรที่มีความฉลาด และมีความสามารถที่หลากหลาย
เช่นในโรงงานอุตสาหกรรม การทาฟั น โรงพยาบาล

ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น การทาสีรถยนต์ การเคลื่อนย้ ายวัตถุ การตรวจสอบ
ข้ อบกพร่องของเครื่ องจักร การทดสอบวงจรไฟฟ้า
หุน่ ยนต์ที่มีความฉลาดจะมีอปุ กรณ์รับความรู้สกึ (Sensory System) เช่น
กล้ องที่ใช้ รวบรวมสารสนเทศ และสภาพแวดล้ อมเกี่ยวกับการทางานของ
หุน่ ยนต์
 สามารถแปลผลสารสนเทศที่มีการเก็บรวบรวมไว้ แล้ ว ทาการตอบสนองและ
ปรับตัวให้ เข้ ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้ อมได้ ดีกว่าการทาตาม
คาสัง่ เพียงอย่างเดียว
ประโยชน์ เพิ่มผลิตผล และลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายกับมนุษย์

การใช้ คอมพิวเตอร์ ควบคุมแขนและมือของหุน่ ยนต์เพื่อช่วยในการประกอบ
แผงวงจร (Circuit Board) ที่ Bell Laboratories
ASIMO หุ่นยนต์เลียนแบบ
มนุษย์ของบริ ษทั ฮอนด้า
อาซิโม (ASIMO) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ หรื อหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์
ของบริ ษทั ฮอนด้า ประเทศญี่ปุ่น
เทคโนโลยี i-WALK ช่วยให้อาซิ โมสามารถเดินและวิง่ ได้อย่างอิสระเสรี
ขึ้นบันไดและเต้นราได้ มีระบบบันทึกเสี ยงเพื่อตอบสนองคาสัง่ ของมนุษย์
สามารถจดจาใบหน้าคู่สนทนาได้อย่างแม่นยา
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1
http://www.youtube.com/watch?v=nQE9FY-_MZg&feature=related
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)

คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่รวบรวมเอาความรู้ ความชานาญและ
วิธีคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผลของมนุษย์ที่เป็ นผู้เชี่ยวชาญแล้ วนามาสร้ าง
เป็ นฐานความรู้(knowledge base)โดยทาหน้ าที่เป็ นผู้เชี่ยวชาญ
ให้ คาปรึกษา ให้ คาแนะนา บอกวิธีแก้ ปัญหาให้ กบั มนุษย์ในเรื่ อง
ต่างๆ โดยที่ระบบผู้เชี่ยวชาญจะเป็ นระบบโต้ ตอบ ตอบสนอง
คาถาม ให้ คาแนะนาและช่วยในกระบวนการตัดสินใจ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)

หมายถึง


โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ในการนาเสนอองค์ความรู้ของผู้เชี่ยวชาญเพื่อ
แก้ ปัญหา และให้ คาแนะนาอย่างเป็ นเชิงเหตุและผล
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่แสดงความสามารถได้ เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญใน
สาขาต่างๆ หรื อในงานเฉพาะอย่าง (ทักษิณา สวนานนท์, 2539,น. 99)
ตัวอย่ างระบบผู้เชี่ยวชาญของ Software ExSys Corvid
เริ่มเปิ ดโปรแกรม
ต่ อ
ตัวอย่ างระบบผู้เชี่ยวชาญของซอฟต์ แวร์ ExSys Corvid
คาถาม
คุณเคยเป็ นเจ้าของกล้องวิดีโอมาก่อนหรื อไม่
คาตอบ
ราคาสู งสุ ดที่คุณสามารถจ่ายได้
- เคย...
-ไม่เคย...
$900
คาถามอื่นๆ...
...
จากนัน้ จะต้ องมีการตอบคาถาม ดังตาราง
ต่ อ
ตัวอย่ างระบบผู้เชี่ยวชาญของซอฟต์ แวร์ ExSys Corvid
สุดท้ าย ExSys Corvid จะ
แสดงทางเลือกที่น่าสนใจให้
ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ
1. ความรู้เฉพาะด้ านของมนุษย์ที่เป็ นผู้เชี่ยวชาญ สามารถนามาสร้ างเก็บไว้ ใน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ เช่น เก็บความรู้ ความชานาญของพ่ อครั วไว้
2. ขยายความสามารถในการตัดสินใจ
3. ช่วยแก้ ปัญหาการขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญ
4. ลดข้ อจากัดของมนุษย์ เช่น การป่ วย การเสียชีวิต
5. เหมาะสาหรับการฝึ กหัด เช่น บริษัทการบินใช้ สถานการณ์ จาลองในการ
ฝึ กบินของนักบิน และใช้ ระบบผู้เชี่ยวชาญฝึ กการตัดสินใจใน
ระหว่ างการฝึ กหัด
6. เพิ่มคุณภาพ ให้ คาปรึกษาที่เป็ นกลางและถูกต้ อง
ข้อจากัดของระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
1. องค์ความรู้ที่ต้องการนามาจัดเก็บในระบบนันหาได้
้
ยากในบางครัง้
2. การถ่ายทอดความเชี่ยวชาญเป็ นเรื่ องยาก
3. ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถทางานได้ ดีที่สดุ หากเป็ นปั ญหาที่มีขอบเขตไม่กว้ างนัก
4. คาศัพท์ ที่ผ้ เู ชี่ยวชาญให้ ไว้ ในระบบ ในบางครัง้ เป็ นคาที่ผ้ ใู ช้ ไม่สามารถทาความ
เข้ าใจได้
5. ต้ องใช้ คา่ ใช้ จ่ายในการพัฒนาระบบสูงมาก
6. การใช้ ES จะใช้ แก้ ปัญหาที่ได้ รับการออกแบบและใส่ข้อมูลในโปรแกรมแล้ ว
เท่านัน้ ดังนัน้ ES จึงไม่สามารถจัดการปั ญหาที่เกิดขึ ้นใหม่ นอกจากนี ้ ES ไม่
สามารถเรี ยนรู้จากประสบการณ์ที่ผา่ นมาและไม่สามารถใช้ ความเชี่ยวชาญที่
มีอยูเ่ พื่อจัดการกับปั ญหาใหม่ๆ แบบที่มนุษย์ทาได้
ตัวอย่ างของ ES ที่นาไปใช้ ในงานด้ านต่ างๆ
1. ด้ านการแพทย์ : การให้ คาแนะนาแก่หมอในการสัง่ ยาปฏิชีวนะให้ คนไข้ ซึ่งต้ อง
คานึงถึงปั จจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่ วยของคนไข้ แหล่งติดเชื ้อ
ราคาของยา
2. ด้ านการผลิต : การให้ คาแนะนาแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ ้นส่วน
เครื่ องบิน
3. ด้ านธรณีวิทยา : ให้ คาแนะนาแก่นกั ธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน ้ามัน เพื่อ
พิจารณาในการขุดเจาะน ้ามัน
4. ด้ านกระบวนการผลิต : ให้ คาแนะนาในการกาหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต
(Expert Systems Scheduling) ซึง่ ทาให้ บริ ษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้
สอดคล้ องกับความต้ องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรื อเงื่อนไขของโรงงานที่
เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริ ษัท General Motors ได้ นามาใช้
5. ด้ านกระบวนการทางานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการ
ทางานตังแต่
้ การประมวลการสมัครของลูกค้ า การอนุมตั ิเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชาระ
เกินกาหนด ES ที่ใช้ ระบบนี ้เรี ยกว่า Authorization Assistant และทาให้ บริ ษัทประหยัด
เงินได้ หลายล้ านดอลล่าร์ ในแต่ละปี (Haag et al.,2000)
http://elearning.northcm.ac.th/mis/content.asp?ContentID=76&LessonID=11
3. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing:
NLP) และเทคโนโลยีเสียง (Voice/ Speech Technology)
 เป็ นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้ กบ
ั เครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้
สามารถนาเข้ าข้ อมูลด้ วยเสียงพูด อาจเป็ นภาษาใดก็ได้ ตามที่
ผู้พฒ
ั นาได้ โปรแกรมไว้
 การประมวลผลภาษาธรรมชาติเป็ นการพัฒนาให้ คอมพิวเตอร์
สามารถโต้ ตอบกับมนุษย์ได้ ด้วยเสียงพูด

ข้ อจากัดของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
สามารถจดจาคาศัพท์และความหมายได้ ในจานวนจากัด
ตัวอย่างของ Software ที่มีการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
โปรแกรม Speak-to-Mail Speech Recognition มีคณ
ุ สมบัติดงั นี ้
1. ส่ง E-mail ด้ วยเสียง
2. สัง่ ให้ คอมพิวเตอร์ พิมพ์ข้อความด้ วยเสียงได้
3. ระบุที่อยูผ่ ้ รู ับได้ ทงั ้ cc,bcc และแนบไฟล์ (Attachment) ได้ ด้วยเสียง
4. จัดการกับ Address book ได้ ด้วยเสียง เช่น การเรี ยงลาดับ Address เป็ นต้ น
5. สามารถสัง่ ให้ คดั ลอกข้ อความไปวางไว้ ที่โปรแกรม Microsoft Word ได้ ด้วย
เสียง โดยการทางานในส่วนนี ้จะใช้ เครื่ องมือที่เรี ยกว่า “SpeakPad ”
Assignment งานสาหรับทุกคน
1. ให้ หาระบบ AI ที่เราพบเห็นในชีวิตประจาวันหรื อข่าว
นิตยสาร
2. อาชีพ หรื อความรู้เกี่ยวกับอะไรบ้ างที่ควรนามาพัฒนาเป็ น
Expert System
http://video.mthai.com/player.php?id=5M1183105017M0
http://www.youtube.com/watch?v=u6hw6UCtmls&feature=related