บทที่ 3 - Krunungning

Download Report

Transcript บทที่ 3 - Krunungning

บทเรียนออนไลน์ (Electronic-Learning)
ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง ( 2545 )
 ลักษณะแรก บทเรียนออนไลน์ หมายถึง การเรียนเนื้อหา หรือสารสนเทศ
สาหรับการสอน หรือการอบรม ซึ่งใช้การนาเสนอด้วยตัวอักษร ภาพนิ่ง
ผสมผสานกับการใช้ภาพเคลื่อนไหว วีดทิ ัศน์และเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยี
ของเว็บ (Web Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมทั้งใช้เทคโนโลยี
การจัดการคอร์ส (Course Management System) ในการบริหารจัดการ
งานสอนต่างๆ
 ลักษณะที่สอง บทเรียนออนไลน์ คือ การเรียนในลักษณะใดก็ได้ ซึ่งใช้การ
ถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือสัญญาณโทรทัศน์
สัญญาณดาวเทียม
ศุภชัย สุขะนินทร์ และ กรกนก วงศ์พานิช ( 2545 ) กล่าวว่า
บทเรียนออนไลน์ คือ การเรียนทางไกลเป็นการเรียนที่ใช้
เทคโนโลยีต่างๆ ที่มีมาใช้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต อาศัยเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตช่วยเป็นบริการการศึกษาที่ไร้ขอบเขต สามารถที่จะ
ทากิจกรรมในห้องเรียนแบบออนไลน์ได้ และเป็นที่นิยมเพราะไม่มี
ข้อจากัดเรื่องเวลา ระยะทางและสถานที่สอน นอกจากนั้นยัง
สามารถตอบสนองต่อศักยภาพ และความสามารถของผู้เรียนได้
เคอร์ตัส ( Krutus , 2000 ) กล่าวว่า บทเรียนออนไลน์ เป็น
รูปแบบของเนื้อหาสาระที่สร้างเป็นบทเรียนสาเร็จรูปที่อาจใช้เป็น
สื่อกลางในการส่งผ่าน หรือใช้การส่งผ่านเครือข่ายภายในหรือ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้บทเรียนออนไลน์อาจอยู่ในรูปแบบของ
คอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรม ( Computer-Based Training: CBT )
และการใช้เว็บเพื่อการฝึกอบรม ( Web - Based Training :
WBT ) หรือใช้ในการเรียนทางไกล
มีคาต่างๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องและมีความสัมพันธ์กบั บทเรียนออนไลน์
อย่างแยกจากกันมิได้เพราะจะเป็นกระบวนการที่สอดคล้องกัน
ตามระดับของการใช้ประโยชน์ เช่น
 Distance Learning การเรียนทางไกลคือผู้เรียนและผู้สอนไม่ได้
อยู่ด้วยกันไม่ว่าจะเรียนด้วยวิธไี หนก็ตาม
 E-Learning การเรียนที่มีลักษณะเป็นการเรียนทางไกลสามารถใช้
สื่อการสอนในรูปแบบของคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต
เอ็กซ์ทราเน็ต ทีวี ดาวเทียม ซีดีรอม หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
อื่นๆ
 Online Learning หรือ Web –Based Learning หรือ Web-
Based Instruction ความหมายเหมือนกันคือการเรียนทางไกล
ผ่านเว็บไม่ว่าจะรูปแบบของอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือเอ็กซ์
ทราเน็ต
 Computer-Based Learning หรือ Computer-Assised
Instruction : CAI การเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอน
เป็นรูปแบบของระบบการเรียนรู้ทางไกลจากสื่อ E-Learning
ภาพความสัมพันธ์ของระบบการเรียนทางไกล
แบบบทเรียนออนไลน์
 บทเรียนออนไลน์เป็นรูปแบบการเรียนที่เกิดขึ้นซึ่งแบ่งออกได้
เป็น 3 ลักษณะคือ เน้นเนื้อหา เน้นสื่อประสมอย่างง่าย และเน้น
ความเป็นมัลติมีเดียเชิงโต้ตอบ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วย
(Module) เมื่อศึกษาด้วยตนเองแล้ว ผู้เรียนมีหน้าที่ในการ
อธิบาย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมทั้งการสอบถามปัญหา
ต่างๆ กับเพื่อนร่วมชั้นออนไลน์ หลังจากนั้นผู้สอนอาจนัดหมาย
ผู้เรียนมาพบ (ในชั้นเรียนหรือในลักษณะออนไลน์ก็ได้)
 สรุปได้ว่าบทเรียนออนไลน์ หมายถึง การเรียนเนื้อหาซึ่งใช้การ
นาเสนอในลักษณะของสื่อประสมเชิงโต้ตอบ โดยอาศัย
เทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ในการถ่ายทอด
เนื้อหา รวมทั้งการบริหารจัดการงานสอนต่างๆ ซึ่งเป็นแหล่ง
ความรู้ที่ผู้สอนเตรียมไว้เป็นสารสนเทศให้ผู้เรียน เป็นการศึกษา
ที่ไม่มีข้อจากัดเรื่องเวลา ระยะทางและสถานที่สอน สามารถที่
จะทากิจกรรมโต้ตอบในห้องเรียนแบบออนไลน์ และสามารถ
ตอบสนองต่อศักยภาพ และความสามารถของผู้เรียนได้
ลักษณะสำคัญของบทเรียนออนไลน์
(ถนอมพร เลาหจัสแสง ,2545)
 Anywhere,Anytime หมายถึง บทเรียนออนไลน์ต้องช่วยขยายโอกาสในการเข้าถึง
เนื้อหาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง ในที่นี้รวมถึงการที่ผู้เรียนสามารถเรียกดูเนื้อหา
ตามความสะดวกของผู้เรียนได้ด้วย
 Multimedia หมายถึง บทเรียนออนไลน์ควรต้องมีการนาเสนอเนื้อหาโดยใช้
ประโยชน์ในการสื่อประสมเพื่อช่วยในการประมวลผมสารสนเทศของผู้เรียน เพื่อให้
เกิดความคงทนในการเรียนรู้ได้ดีและมีประสิทธิภาพทางการเรียนสูงขึ้น
 Non –linear หมายถึง บทเรียนออนไลน์มกี ารนาเสนอเนื้อในลักษณะที่ไม่เป็นเชิง
เส้นตรง กล่าวคือผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาตามความต้องการโดย E-Learning
จะต้องจัดการเชื่อมโยงที่ยืดหยุ่นแก่ผู้เรียน
 Interaction หมายถึง บทเรียนออนไลน์ควรต้องมีการเปิดโอกาสให้
ผู้เรียนมีการโต้ตอบมีปฏิสัมพันธ์หับเนื้อหาหรือกับผู้อื่นได้ กล่าวคือ

* ต้องมีการออกแบบกิจกรรมที่ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับเนื้อหา
รวมทั้งการจัดเตรียมแบบฝึกหัดและบททดสอบให้ผู้เรียนตรวจสอบความ
เข้าใจด้วยตนเองได้

* ต้องมีการจัดหาเครื่องมือในการให้ช่องทางแก่ผู้เรียนในการ
ติดต่อสื่อสาร เพื่อการปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับ
ผู้สอน วิทยากร ผู้เชี่ยวชาญ หรือเพื่อนๆ
 Immediate Response หมายถึง บทเรียนออนไลน์ต้องมีการออกแบบ
ให้มีการทดสอบ วัดผลประเมินผล ซึ่งให้ผลย้อนกับทันทีแก่ผู้เรียนเพื่อ
เสริมแรงในการเรียนรู้
ส่วนประกอบของบทเรียนออนไลน์
 คาประกาศ / คาแนะนาการเรียนของบทเรียนออนไลน์ เป็น
คาแนะนาสาหรับผู้เข้าสู่หน้าต่างบทเรียนออนไลน์โดยรวมหรืออาจ
เพิ่มข้อความทักทายต้อนรับผู้เรียนเข้าสู่บทเรียนออนไลน์ซึ่งยัง
ไม่ใช่คาประกาศหรือคาแนะนาการเรียนที่เฉพาะเจาะจงสาหรับ
วิชาใดๆ เพราะผู้สอนจะสามารถไปกาหนดประกาศหรือคาแนะนา
ที่สาคัญต่างๆ ด้วยตนเองไว้ในส่วนของวิชาที่ตนเองรับผิดชอบ ซึ่ง
ผู้เรียนจะได้อ่านข้อความหลังจากที่ผู้เรียนเข้าใช้ระบบและเลือกที่
จะไปยังรายวิชานั้นๆ แล้ว
 ระบบสาหรับใส่ชื่อผู้เรียนและรหัสลับสาหรับการเข้าสู่ระบบ (
login)
กล่องสาหรับการใส่ชื่อผู้เรียนและรหัสลับนี้ควรวางไว้ในส่วนบนของ
หน้าที่เห็นได้ชัดเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใช้ระบบของผู้เรียน
 รายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมที่จาเป็นสาหรับการเรียกดูเนื้อหา
อย่างสมบูรณ์ ควรมีการแจ้งให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้าเกี่ยวกับ
โปรแกรมต่างๆ พร้อมทั้งสิ่งจาเป็นอื่นๆ เช่น การปรับคุณสมบัติ
หน้าจอที่ผู้ใช้ต้องทาในการเรียกดูเนื้อหาต่างๆ ได้
 ชื่อหน่วยงานและวิธีการติดต่อกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ ควรมีการ
แสดงชื่อผู้รับผิดชอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งวิธีการในการ
ติดต่อกลับมายังผู้รับผิดชอบเพื่อให้ผู้เข้าใช้งานหรือผู้เยี่ยมชม
สามารถที่จะส่งข้อความ คาติชมรวมทั้งผลป้อนกลับต่างๆ ที่
อาจจะส่งมายังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
 วันที่และเวลาที่ทาการปรับปรุงแก้ไขบทเรียนออนไลน์ล่าสุด ควรมี
การแสดงวันที่และเวลาที่ทาการปรับปรุงแก้ไขบทเรียนครั้งล่าสุด
กิจกรรมที่เกิดขึ้นหรือกิจกรรมที่กาลังจะเกิดขึ้น เพื่อประโยชน์
สาหรับผู้เรียน
 เคาน์เตอร์เพื่อนับจานวนผู้เรียนที่เข้ามาเรียนจริง เคาน์เตอร์
สาหรับการนับจานวนผู้เข้าใช้งานหรือเข้าเยี่ยมชมบทเรียน
ออนไลน์ มีข้อดีคือนอกจากจะช่วยผู้พัฒนาในการนับจานวนผู้เข้า
มายังบทเรียนออนไลน์แล้ว ยังอาจจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้สึก
อยากที่จะกลับเข้ามาเรียนอีก หากมีผู้เรียนเข้ามาร่วมเรียนกัน
จานวนมากๆ
การเปรียบเทียบการเรียนการสอนผ่านบทเรียนออนไลน์กับ
การเรียนการสอนแบบดั้งเดิม
 ความเหมาะสมในการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์กับความ
ต้องการที่จะเรียนรู้และเวลา นักศึกษาที่เข้ามาเรียนรู้จะได้รับ
ความรู้ ที่มีความสาคัญและมีประโยชน์
 การควบคุมการเรียนโดยผู้เรียนเป็นสาคัญ นักศึกษาที่มีความ
ตั้งใจและสนใจจะศึกษาเนื้อหาได้ดี ขึ้นอยู่กับความต้องการ
ของผู้เรียนเป็นสาคัญ
 รูปแบบมัลติมีเดีย จะมีการนาเสนอเนื้อหาของหลักสูตรโดยใช้สื่อ
มัลติมีเดียที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นข้อความ เสียง วีดีทัศน์ และการ
สื่อสารในเวลาเดียวกันผู้สอนและผู้เรียน สามารถเลือกรูปแบบการนาเสนอ
ได้ตามความยืดหยุ่นของเวิลด์ ไวด์ เว็บ เพื่อให้การเรียนเกิดประสิทธิภาพ
มากที่สุด

แหล่งทรัพยากรข้อมูล คือ ข้อมูลสามารถได้จากหลายๆแหล่ง เช่น
การศึกษา ธุรกิจ หรือรัฐบาลเป็นต้น จากทั่วทุกมุมโลก เว็บถือได้ว่า
เป็นพื้นฐานที่มีขนาดใหญ่และเก็บข้อมูลหลากหลายชนิด ผู้ออกแบบ
การเรียนการสอนจะต้องออกแบบให้ผู้เรียนได้ถึงแหล่งทรัพยากร ซึ่ง
ไม่ได้มีอยู่ในชั้นเรียนแบบดั้งเดิม ตัวแปรที่สองคือข้อความหลายมิติ
การเชื่อมโยงไปยังที่ตั้งอื่น โดยอาศัยข้อความหลายมิติ ซึ่งเข้าไป
ค้นหาได้อย่างง่ายดายกว่า การค้นหาข้อมูลในชั้นเรียนแบบดั้งเดิม
ความทันสมัย เนื้อหาที่ใช้เรียนในชั้นเรียนแบบการเรียนการสอนแบบ
ออนไลน์ สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ดังนั้นผู้สอนในชั้นเรียนแบบ
การเรียนการสอนแบบออนไลน์นั้นสามารถจะเสนอข้อมูลที่มีความ
ทันสมัยให้แก่ผู้เรียน ประโยชน์ที่ได้รับนั้น จะสามารถนามาประยุกต์เข้า
กับหลักสูตรให้ทันสมัยตอลดเวลา
 ความสามารถในการประชาสัมพันธ์เว็บ ให้โอกาสนักศึกษาที่จะส่งงานที่
ได้รับมอบหมายบนเว็บได้
 เพิ่มทักษะทางเทคโนโลยี นักศึกษาที่เรียนด้วยการเรียนการสอนแบบ
บทเรียนออนไลน์ จะได้เพิ่มพูนทักษะทางเทคโนโลยี เนื้อหาที่นักศึกษา
เรียนจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสม และเพิ่มแหล่ง ทรัพยากรต่างๆ
ให้นักศึกษาเพิ่มพูนความรู้ นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์และฝึกฝน
ทักษะ ได้จากเทคโนโลยีอันหลากหลาย

มิติกำรนำไปใช้ในกำรเรียนกำรสอน/กำรอบรม
 สื่อเสริม (Supplementary) หมายถึง การนาบทเรียนออนไลน์ไปใช้ใน
ลักษณะสื่อเสริม กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถศึกษาเนื้อหาในการเรียน เป็น
การเรียนเสริมจากบทเรียน ซึ่งผู้สอนเพียงต้องการจัดหาทางเลือกใหม่อีก
ทางหนึ่งสาหรับผู้เรียนในการเข้าถึงเนื้อหาเพื่อให้ประสบการณ์พิเศษ
เพิ่มเติมแก่ผู้เรียน
 สื่อเติม (Complementary) หมายถึง การนาบทเรียนออนไลน์ไปใช้ใน
ลักษณะเพิ่มเติมจากวิธีการสอนในลักษณะอื่น ๆ เช่น นอกจากการ
บรรยายในห้องเรียนแล้ว
 สื่อหลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึง การนา
บทเรียนออนไลน์ไปใช้ในลักษณะแทนที่การบรรยายในห้องเรียน
ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลน์ ในปัจจุบัน บทเรียน
ออนไลน์ส่วนใหญ่ในต่างประเทศจะได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อ
วัตถุประสงค์ในการใช้เป็นสื่อหลักสาหรับแทนครูในการสอนทางไกล
ด้วยแนวคิดที่ว่ามัลติมีเดียที่นาเสนอทางบทเรียนออนไลน์สามารถ
ช่วยในการถ่ายทอดเนื้อหาได้ใกล้เคียงกับการสอนจริงของครูผู้สอน
โดยสมบูรณ์ได้
มิติกำรนำไปใช้เกี่ยวกับผูเ้ รียน
 ผู้เรียนปกติ(Resident Students)
หมายถึง ผู้เรียนที่เดินทางมาเรียนในสถานทีแ่ ละเวลาเดียวกัน ซึ่งส่วนใหญ่ผู้เรียน
มักจะอาศัยอยู่ไม่ไกลเกินไปจากสถานที่ ซึ่งตกลงกันไว้ในการที่จะมาเรียน
ร่วมกัน จะเรียกว่า ผู้เรียนปกติ ในการประยุกต์ใช้ e- Learning กับผู้เรียนปกติ
จะต้องพิจารณาให้มากในเรื่องของการออกแบบเนื้อหาการสอน ให้มีความ
น่าสนใจเพียงพอที่จะดึงดูดความสนใจผู้เรียน เนื่องจากผู้เรียนประเภทนี้มี
ทางเลือกอื่นๆ ในด้านของสื่อการสอนหรือติดต่อสือ่ สารกับเพื่อน หรือครู
นอกจากนี้ยังควรพิจารณาให้เหมาะสมในด้านของระดับการนาไปใช้ เนื่องจาก
หากใช้ในลักษณะสื่อเสริมเท่านั้น ผู้เรียนก็สามารถที่จะพิจารณาเลือกศึกษา
เนื้อหาเดียวกันโดยการใช้สื่ออื่นๆ ได้
 ผู้เรียนทางไกล (Distant Learners)
ผู้เรียนทางไกล หมายถึง ผู้เรียนที่สามารถเรียนจากสถานที่ซึ่งต่างกันรวมทั้งใน
เวลาที่ต่างกันได้ด้วย (Anywhere, Anytime) ดังนั้นผู้เรียนจะมีอิสระหรือ
ความยืดหยุ่นในด้านของสถานที่และเวลาการเข้าถึงเนื้อหาที่ต้องการศึกษา
มากกว่าผู้เรียนปกติ แต่ในขณะเดียวกัน ผู้เรียนทางไกลก็มักจะมีข้อจากัดใน
ด้านของทางเลือกที่จากัดของวิธีการเรียนการสอนหรือโอกาสในการ
ติดต่อสื่อสารกับเพื่อนหรือครู
วิธีการเรียนการสอนผ่านบทเรียนออนไลน์
ผู้เข้าเรียนเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต

ผู้เข้าเรียนไปยังที่อยู่เว็บเพจที่ต้องการศึกษา

บางเว็บเพจให้ผู้เรียน จาเป็นต้องสมัครลงทะเบียนให้ได้รหัส เพื่อใช้
เข้าไปยังเว็บเพจของหลักสูตรการเรียนการสอนผ่านเว็บ ก่อนที่จะเข้าไป
เรียนในเว็บนั้นๆ ได้

ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาที่เสนอ

ผู้เรียนมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้า ที่ทางโปรแกรมการเรียนได้
สร้างขึ้น อาจจะเป็นการพิมพ์คาตอบ คลิกเลือกข้อมูล หรืออาจเป็นการ
สนทนาโต้ตอบกันได้
 การทดสอบผู้เรียนหลังจากที่ผู้เรียนได้เรียนเรียบร้อยแล้ว

ประโยชน์ของบทเรียนออนไลน์
เพิ่มประสิทธิภาพในเรียนการสอน โดยการใช้สื่อ Multimedia
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และคลังความรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสนับสนุน
การเรียนการสอนของครูและนักเรียน
 เกิดเครือข่ายของความรู้ คลังความรู้ที่สร้างและจัดเก็บบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตจะเป็นเครือข่ายที่มวลมนุษย์สามารถแลกเปลี่ยนความรู้กัน
และกันได้ เป็นความรู้ที่ทันสมัยกว่าในตาราทั่วไปเพราะความรู้บน
เครือข่ายมีการปรับปรุง ( Update ) เป็นประจาเพราะสามารถ
ดาเนินการได้ง่ายอย่างรวดเร็ว

ส่งเสริมผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้เรียนสามารถเรียนรู้สืบค้นวิชา
ความรู้ต่างๆ ได้ด้วยตนเองโดยอาศัยสื่อและ IT ทางการศึกษา โดย
มีครูเป็นผู้แนะนาและให้คาปรึกษา
 สร้างความเท่าเทียมทางการศึกษาระหว่างชนบทกับเมือง การ
ลงทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาในชนบทโดยฝึกอบรมครูอาจารย์ให้มี
ความรู้ด้าน IT มีสื่อการเรียนการสอน Multimedia มีการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานและอุปกรณ์ IT ที่สามารถเชื่อมต่อเข้าไปศึกษา
ความรู้ในอินเทอร์เน็ตซึ่งสิ่งเหล่านี้จะช่วยให้เด็กในชนบทได้เรียนรู้
เช่นเดียวกับเด็กในเมือง เพิ่มโอกาสและกระจายโอกาสทาง
การศึกษาให้เท่าเทียมกัน

ใช้ทรัพยากรทางการศึกษาร่วมกัน เนื่องจากคลังความรู้บน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตไว้บริการคนเท่าโลกซึ่งสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ร่วมกันได้
 สอดคล้องและสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษา เนื่องจากเป็นการนา
IT มาส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาการศึกษาในระบบ นอกระบบ
และตามอัธยาศัย ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542

แบบฝึ กหัดบทที่ 3
 1.อธิบายองคประกอบของบทเรี
ยน
์
ออนไลน์
 2.อธิบายมิตก
ิ ารนาไปใช้ในการเรียนการ
สอน/การอบรม
่ วกับผู้เรียน
 3.อธิบายมิตก
ิ ารนาไปใช้ในเกีย
 4.บอกประโยชนของบทเรี
ยนออนไลน์
์