Transcript Slide 1

กด ปุ่ ม Enter หรือ Space Bar เพื่อเปลี่ยนภาพ
กดปุ่ ม Page Up (PgUp) เพื่อย้ อนภาพ
ปั ญหาท็อปฮิต ในการเรียนภาษาอังกฤษ

รู้ทงั ้ ศัพท์ และ grammar แต่ ทาไมยังเขียนภาษาอังกฤษไม่ ได้ หรือ
แต่ งประโยคได้ ไม่ ถูกต้ อง

ไม่ ร้ ูจะเลือกใช้ ศัพท์ คาไหนดี เพราะคาแปลคล้ ายๆ กัน

ทาไมเขียนแล้ วสานวนไม่ สละสลวย ไม่ เหมือนที่เจ้ าของภาษาเขียน

วางตาแหน่ งของคาไม่ ถูกต้ อง ไม่ ร้ ูจะเรียงลาดับอย่ างไรดี

grammar ก็ถกู แล้ ว แต่ ทาไมอาจารย์ ยังบอกว่ าผิด

เปิ ดพจนานุกรมหาตัวอย่ างประโยคตัง้ หลายเล่ ม ก็ไม่ เจอสักที
ปั ญหาที่ครู พบบ่ อยที่สุด ในงานเขียนของนักเรี ยน





ใช้ คาศัพท์ ผิด ไม่ เหมาะสมกับประโยคที่เขียน
หยิบกลุ่มคาศัพท์ มาใช้ ร่วมกันไม่ ถูกต้ อง
เรียงลาดับคาในประโยคไม่ ถูก
แปลตรงตัวจากภาษาไทยเป็ นภาษาอังกฤษ ทาให้
 รู ปประโยคผิด
 ผิดความหมาย
 สานวนไม่ เหมือนเจ้ าของภาษา
ผิด grammar
ปั ญหาทัง้ หมดนี ้ มาจากคาเพียงคาเดียวคือ
Collocation
ซึ่งผู้เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษต่ างเห็นตรงกันว่ า
Collocation คือ สาเหตุท่ แ
ี ท้ จริงของปั ญหา
Collocation คืออะไร
Collocation คือ

การจัดวางคาหรื อกลุ่มคาที่ต้องใช้ ควบคู่กันในประโยคที่เจ้ าของ
ภาษานิยมใช้ ซึ่งไม่ เกี่ยวกับหลักไวยากรณ์

ถ้ าตาแหน่ งของคาเปลี่ยนไป หรือถ้ าคาใดคาหนึ่งในกลุ่มคาถูก
แทนที่ด้วยคาอื่น ถึงแม้ จะมีความหมายเหมือนกัน
(synonym) หรื อใกล้ เคียงที่สุด ก็จะทาให้ วลีหรื อประโยค
นัน้ ดูผิดไปในสายตาของเจ้ าของภาษา
ตัวอย่ าง collocations ในภาษาไทย

เราใช้
 ย่ านธุรกิจ
ไม่ ใช่
 เขตเศรษฐกิจ
ไม่ ใช่
 ตัดถนนเส้ นใหม่
ไม่ ใช่
 เขียวอื๋อ ดาปี๋ แดงแจ๊ ด ไม่ ใช่
 บ่ ายสองโมง
ไม่ ใช่
 ห้ าโมงเย็น
ไม่ ใช่
เขตธุรกิจ
ย่ านเศรษฐกิจ
ต่ อถนนเส้ นใหม่
เขียวแจ๊ ด ดาอื๋อ แดงปี๋
สองโมงบ่ าย
เย็นห้ าโมง
ไม่ ร้ ู collocations ทาให้ ผิดความหมาย


เธอเป็ นคนใจเย็น
She is cold-hearted.

She is cool-tempered.
(แปลว่ า เธอเป็ นคนใจร้ าย)

เขาผ่ านไป
He passed away.
He passed by.
(แปลว่ า เขาเสียชีวิต)

เขาทานยา
He takes drug.
He takes medicine.
(แปลว่ า เขาติดยาเสพติด)

เธอเป็ นคนง่ ายๆ
She is an easy woman.
(แปลว่ า เธอเป็ นคนใจง่ าย)
She is easy-going.
ไม่ ร้ ู collocations ทาให้ ใช้ คาควบคู่กันผิด
ถูก
ผิด
thick hair
dense hair
thin soup
weak soup
strong wind
powerful wind
powerful machine
strong machine
crowded market
heavy market
heavy traffic
crowded traffic
answer the telephone
receive the telephone
ไม่ ร้ ู collocations ทาให้ เรี ยงลำดับคำผิด
 บนท้ องฟ้ามีดวงดาวมากมาย
(wrong)
(right)
(wrong)
(right)
(wrong)
(right)
(wrong)
(right)
(wrong)
(right)
On the sky there are many stars.
There are many stars in the sky.
 หน้ าบ้ านฉันมีรถสีแดงคันหนึ่งจอดอยู่
In front of my house there is a red car park.
A red car is parking in front of my house.
 เขาทาสีขาวบนกาแพง
He painted white colour on the wall.
He painted the wall white.
 คุณช่ วยอะไรฉันหน่ อยได้ ไหม
Can you do a favour to me?
Can you do me a favour?
 เขาประกาศเปิ ดการประชุม
He declared open the meeting.
He declared the meeting open.
ไม่ ร้ ู collocations
ทำให้ ประโยค ยำวเยิ่นเย้ อไม่ สละสลวย

(1/2)
ฉันหลงรักเขาตัง้ แต่ ครัง้ แรกที่เห็นหน้ าเขา
(เยิ่นเย้ อ)
I fell in love with him since the first time I saw his face.
(เหมาะสม)
I fell in love with him at first sight.

(เยิ่นเย้ อ)
(เหมาะสม)

(เยิ่นเย้ อ)
(เหมาะสม)
เธอเป็ นเพื่อนที่ฉันคบหามาตลอดชีวิต
She is the friend who I have contacted for my whole life.
She is my life-long friend.
เราสามารถมองเห็นภูเขาได้ ในเวลาที่อากาศดี
We can see the mountain when the weather is good.
The mountain is visible in good weather.
ไม่ ร้ ู collocations
ทำให้ ประโยค ยำวเยิ่นเย้ อไม่ สละสลวย

ประชาชนสามารถพูดในสิ่งที่เขาต้ องการ
(เยิ่นเย้ อ)
People have the ability to say what they need.
(เหมาะสม)
People have freedom of expression.

(เยิ่นเย้ อ)
(เหมาะสม)

(เยิ่นเย้ อ)
(เหมาะสม)
(2/2)
มันเป็ นทางเดียวที่เราจะเข้ าไปในอาคารนีไ้ ด้
It is the only way we can go into the building.
It is the only access to the building.
ตารวจถูกตัง้ ข้ อหาใช้ อานาจหน้ าที่ในทางที่ผิด
The police officer was charged with using his power in the
wrong way.
The police officer was charged with abuse of power.
ในความเป็ นจริง ในบทความภาษาอังกฤษจะมี
collocations ประกอบอยู่โดยเฉลี่ยไม่ ต่ากว่ า 50%
Example (ตัวสี คือ collocations) :
I have spent the better part of my life in studying
English, especially its usage in writing. I have not had the
privilege of an education in an English-speaking country, nor an
opportunity to study with a teacher whose mother tongue is
English. I had indeed learned some English while in China, but had
forgotten almost everything about it before I came to Thailand
in 1948 at the age of 22. so I had to do it all by myself the hard
way right from the pronunciation of the alphabet and the
spellings of the names of the days of the week and those of the
months.
แล้ วทาไมจึงไม่ มีการสอน collocation ในโรงเรี ยน

เพราะในความเป็ นจริง หลักสูตรภาษาอังกฤษที่เราเรียน
แต่ เดิมถูกกาหนดโดยครูท่ เี ป็ นเจ้ าของภาษาซึ่งเรียนรู้
Collocation จากการเลียนแบบภาษาของพ่ อแม่ และ
คนแวดล้ อม จึงไม่ เคยตระหนักถึงปั ญหาของ Collocation
ที่มีต่อผู้ท่ เี รียนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สอง
คาศัพท์
การเรียน
แบบดัง้ เดิม
ไวยากรณ์
ข้ อยกเว้ น
มากมาย
การเรียนแบบดัง้ เดิม เน้ นที่
คาศัพท์
โดยเชื่อว่ าการรู้คาศัพท์ มากจะทาให้ นักเรียนใช้ ภาษาอังกฤษ
ได้ ดี นักเรียนจึงท่ องจาคาศัพท์ เป็ นคาๆ มากมาย
แต่ ทราบหรือไม่ ว่า พจนานุกรมที่โด่ งดังอย่ าง Oxford
ใช้ คาศัพท์ ไม่ ถึง 3,000 คา ในการอธิบาย
ความหมายของคาศัพท์ ทงั ้ เล่ ม
การเรียนแบบดัง้ เดิม เน้ นที่
ไวยากรณ์
ไวยำกรณ์ เป็ นสิ่งที่นักเรียนไทยที่เรียนระดับ
intermediate ขึน
้ ไปไม่ ค่อยมีปัญหำ
เพรำะถูกเน้ นในกำรเรียนกำรสอนมำก
การเรียนแบบดัง้ เดิม เน้ นที่
ข้ อยกเว้ นมากมาย
ข้ อยกเว้ นมำกมำยที่จำได้ ไม่ หมด ในควำมเป็ นจริง
ก็คือส่ วนหนึ่งของ Collocation นั่นเอง
แต่ คำว่ ำ Collocation ไม่ ได้ ถูกเน้ นในกำรเรียน
เพียงแต่ ทุกคนรู้ว่ำ ถ้ ำผิดข้ อยกเว้ น ก็ถือว่ ำ
ผิด grammar
ในความเป็ นจริง ภาษาเป็ นเรื่องของการเลียนแบบ
เราไม่ สามารถประดิษฐ์ คาหรือกลุ่มคาขึน้ มาเองได้
ในการสื่อสาร ถ้ าเราสังเกตจากเด็กที่กาลังหัดพูด เด็กจะพูดคา
เดี่ยวก่ อน แล้ วพัฒนาการสื่อสารตามรูปแบบนี ้
คาเดี่ยว
วลี
(กลุ่มคา-Collocation)
ประโยค
โดยเด็กจะเลียนแบบพ่ อแม่ และคนแวดล้ อม
หลายๆประโยค
เชื่อมต่ อกัน
สาเหตุทงั ้ หมดนี ้
คือ
คาตอบ ของการเรียนภาษาอังกฤษ
ที่ยังไม่ สัมฤทธิ์ผล
…แม้ จะเรียนมาหลายปี
สำเหตุทงั ้ หมดนีน้ ำมำสู่…
แนวคิดใหม่
ในการเรียนภาษาอังกฤษให้
สัมฤทธิ์ผล
แนวคิดใหม่
ผู้เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษพบว่ า ปั ญหาของการเขียนภาษาอังกฤษ
ได้ ไม่ ดี ไม่ ได้ มาตรฐานของเจ้ าของภาษา ไม่ ได้ เกิดขึน้ เฉพาะกับ
คนไทย แต่ เกิดขึน้ กับประเทศต่ างๆ ทั่วโลกที่เรียนภาษาอังกฤษ
เป็ นภาษาที่สอง
ผู้เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษต่ างหาวิธีการต่ างๆ ในการสอน
ภาษาอังกฤษให้ สัมฤทธิ์ผล แต่ ก็ยังไม่ เป็ นที่น่าพอใจ
จนกระทั่งในทศวรรษที่ 1980 ได้ มีผ้ ูเชี่ยวชาญหลายท่ านหันมาสนใจ
และศึกษาถึงการให้ ความสาคัญของ Collocationในการสอน
ในหลักสูตร
ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษ
เกี่ยวกับความสาคัญของ collocation
John Rupert Firth (The Father of Collocation)
Michael Lewis & John Mchardy Sinclair:
มีบทบาทสาคัญต่ อการเรี ยนรู้
ภาษาอังกฤษ ทัง้ การพูดและการเขียน เพราะทาให้ ผ้ ูท่ ี
Collocation
เรียนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สองสามารถสื่อความหมายโดย
การเชื่อมต่ อคา หรือใช้ คาควบคู่กันได้ โดยไม่ มีปัญหาหรือมี
ปั ญหาน้ อยลง และดูเป็ นธรรมชาติเหมือนเจ้ าของภาษามากขึน้
จาก "Do English language learners know collocations?” เขี ยนโดย Malgorzata Martynska,
วารสาร Investigationes Linguisticae, Vol. XI, Poznan, December 2004
การรู้ collocation เป็ นจานวน
มากๆ ทาให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถใช้ ภาษาได้ ดี
และชัดเจนกว่ าการรู้ grammar
rules ซึ่งไม่ ครอบคลุมหลักของการจัด
วางคาหรื อการใช้ คาร่ วมกัน
จาก The Lexical Approach. The State of ELT And A Way Forward,
Language Teaching Publications, 1994
Michael Lewis
Joseph G. Stockdale III
ในอนาคต collocation จะถูกให้
ความสาคัญมากขึน้ ในการสอนภาษาอังกฤษ
ซึ่งครู ผ้ ูสอนสามารถศึกษาและหยิบยกตัวอย่ าง
collocation มาสอนนักเรี ยนได้ จาก
dictionaries of collocations
จาก "Definition Plus Collocation in Vocabulary Teaching and Learning", The Internet TESL Journal
J. Hill
ถ้ านักเรี ยนคนใดไม่ มีคลังศัพท์ ในลักษณะที่เป็ น
กลุ่มคาหรื อไม่ ร้ ู จัก collocation ของคา
ต่ างๆ ที่ต้องการเขียน นักเรี ยนคนนัน้ ก็จะเขียน
โดยยึด grammar เป็ นพืน้ ฐานซึ่งนาไปสู่
ความผิดมากมายในการใช้ ภาษาอังกฤษ
จาก
"Collocational Competence",
วารสาร ETP, April 1999, Issue II
Mohammed Farghal &
Hussein Obiedat
การผลิตพจนานุกรม collocations
ให้ นักเรี ยนใช้ เป็ นคู่มือเป็ นสิ่งจาเป็ น...
นักแปลจะต้ องรู้ ปริมาณคาศัพท์ และ
collocations เป็ นจานวนมากๆ
เพื่อให้ ได้ งานแปลที่มีคุณภาพและใช้ ภาษา
อย่ างเป็ นธรรมชาติ
จาก "Collocations: A Neglected Variable in EFL",
IRAL: International Review of
Applied Linguistics in Language Teaching, Nov. 95, Vol. 33, Issue 4
ปรีมา มัลลิกะมาส
โดยทั่วไปแล้ วการเรี ยนการสอนภาษาต่ างประเทศมักจะแยกเรื่ อง
คาศัพท์ และไวยากรณ์ ออกจากกัน (grammar/vocabulary
dichotomy) ในการสอนคาศัพท์ ก็มักเน้ นแต่ เรื่ องความหมายของ
คา ขณะที่การสอนไวยากรณ์ จะให้ ความสาคัญกับกฎเกณฑ์ ต่างๆ การ
สอนแบบนีไ้ ม่ ได้ สะท้ อนลักษณะธรรมชาติท่ สี าคัญของภาษาที่
ประกอบด้ วยวลีสาเร็จรู ปเป็ นจานวนมาก เมื่อผู้เรี ยนมองไม่ เห็น
รู ปแบบภาษาที่สูงกว่ าระดับคาและความสัมพันธ์ อันใกล้ ชดิ ระหว่ างคา
ที่ปรากฏร่ วมกันในวลีเหล่ านัน้ ก็ย่อมไม่ สามารถใช้ วลีดังกล่ าวเพื่อให้
ภาษาของตนเป็ นธรรมชาติเหมือนเจ้ าของภาษาได้ เหตุผลดังกล่ าว
ข้ างต้ นแสดงให้ เห็นว่ า คาปรากฏร่ วมน่ าจะมีบทบาทสาคัญในการ
เรี ยนการสอนภาษาอย่ างยิ่ง
จาก "บทบาทของคาปรากฏร่ วมในการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ" เขี ยนโดย ปรี มา มัลลิ กะมาส,
วารสารภาษาปริ ทศั น์ ฉบับที ่ 20 ปี 2545-2546
นักศึกษาจะแสดงความจานงอยู่เสมอถึงความ
จาเป็ นต้ องมีพจนานุกรมที่สามารถบอกพวกเขาได้ ว่า
ศัพท์ คาใดที่ถูกต้ องสาหรับข้ อความนัน้ ๆ วลีใดหรือ
Collocation ใดที่จะช่ วยให้ พวกเขาพัฒนา
ความสามารถในการสื่อสิ่งที่พวกเขาต้ องการสื่อ
Della Summers บรรณาธิการอานวยการของพจนานุกรม
Longman Language Activator – The World’s First Preduction Dictionary
(1993, p. 8)
A.P. Cowie, University of Leeds
ได้ เขียนไว้ ในบทนาของ Oxford
Advanced Learner’s Dictionary of Current English by A.S. Hornby,
Fourth Edition (1989, p. vii)
ที่แสดงให้ เห็นถึงความสาคัญของ Collocationไว้ วา่
เป็ นเวลากว่ า 40 ปี แล้ วที่ Oxford University Press ได้
จัดพิมพ์ Advanced Learner’s Dictionary ของ A.S. Hornby
ขึน้ เป็ นครัง้ แรก ซึ่งนับเป็ นผลงานบุกเบิกอันโดดเด่ นที่เกิดจาก
การวิจัยอันละเอียดลึกซึง้ ในแง่ มุมต่ างๆ ของการใช้
ภาษาอังกฤษ รวมทัง้ โครงสร้ างประโยคและ Collocation
อันเป็ นที่ร้ ูกันดีว่า สร้ างความยากลาบากให้ กับนักศึกษา
ชาวต่ างชาติ
พจนานุกรม “The Oxford Companion To The
English Language” ปี 1992 หน้ า 231-232
เป็ นพืน้ ฐานของภาษาที่มีความ
ละเอียดอ่ อน และผู้ศึกษาจาเป็ นต้ องเรียน เพราะความ
ผิดพลาดในการจัดเรียงคาในการเขียนภาษาอังกฤษนัน้
เป็ นเครื่องบ่ งชีท้ ่ สี าคัญถึงความเป็ นคนต่ างชาติ”
“Collocation
โครงสร้ างประโยคตามที่เคยเรี ยน
ประธาน
กริยา
กรรม
=
ประโยคที่ถูกต้ อง
ตามหลัก Grammar
โครงสร้ างประโยคในความเป็ นจริง
คาศัพท์
Grammar
Collocations
=
ประโยคที่ถกู ต้ อง
ตามมาตรฐานของ
เจ้ าของภาษา
เราจะรู้ Collocations มากๆ ได้ อย่ างไร

สังเกตและจดจา วิธีการใช้ คาศัพท์ ร่วมและการเรียง
ลาดับคาของเจ้ าของภาษา จากการอ่ านมากๆ ฟั งมากๆ
ท่ องจาแล้ วนามาฝึ กเขียนบ่ อย ๆ

อยู่ในสภาพแวดล้ อมที่มีการใช้ ภาษาอังกฤษ
… แต่ จะมีสักกี่คนที่ทาได้ เช่ นนี ้ ?
ที่มาของพจนานุกรม
ENGLISH BY EXAMPLE
The Dictionary For Writing
พจนานุกรมเพื่อการแต่ งประโยคพร้ อมคาแปล
นวัตกรรมของวงการศึกษา
ฉบับแรกและฉบับเดียวของประเทศไทย
ที่ผ้ ูเรียนภาษาอังกฤษ จาเป็ นต้ องมี
โดย วงศ์ วรรธนพิเชฐ
ที่มาของพจนานุกรมเพื่อการแต่ งประโยค
English By Example โดย วงศ์ วรรธนพิเชฐ

ภาษาเป็ นเรื่ องของการเลียนแบบ

ประโยคในภาษาอังกฤษเกิดจาก
การนากลุ่มคาแต่ ละกลุ่ม (collocations)
มาเชื่อมต่ อเป็ นประโยค

Collocation เป็ นปั จจัยที่สาคัญก็จริ ง แต่ ถ้าผู้เรี ยนไม่ ได้ อยู่
ในสภาวะแวดล้ อมที่ต้องใช้ ภาษานัน้ ๆ ตลอดเวลา
ก็ไม่ สามารถจดจาและใช้ กลุ่มคาได้ อย่ างเป็ นธรรมชาติตามเจ้ าของภาษา
ที่มาของพจนานุกรมเพื่อการแต่ งประโยค
English By Example โดย วงศ์ วรรธนพิเชฐ

การขาดความสามารถในการใช้ กลุ่มคา (collocations)
ที่เหมาะสม ซึ่งมีส่วนสาคัญในการสร้ างประโยค ทาให้ ผ้ ูเรี ยน
ไม่ สามารถแต่ งประโยคที่กระชับ และสละสลวยได้

ดังนัน้ การมีพจนานุกรมที่มีตัวอย่ าง Collocations มากๆ จึงเป็ นสิ่งที่จาเป็ น
โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง พจนานุกรมที่มีตัวอย่ างการใช้ คาพร้ อมคาแปลใน
หลากหลายสถานการณ์ อย่ าง English by Example นักเรี ยนจะพบว่ า
ด้ วยพจนานุกรมฉบับนี ้ การเขียนเป็ นงานที่ง่ายขึน้ เข้ าใจความหมายได้
ถูกต้ อง และสามารถศึกษาพัฒนาภาษาอังกฤษได้ ด้วยตนเอง
ประโยชน์ ที่คุณได้รับจาก
พจนานุกรม
English By Example
The Dictionary For Writing
พจนานุกรมเพี่อการแต่ งประโยค
ภาษาอังกฤษ พร้ อมคาแปล
ประโยชน์ ท่ คี ุณได้ รับจากพจนานุกรม
English By Example





มีตัวอย่ างมาก ในสถานการณ์ ต่างๆที่หลากหลาย ทาให้ ผ้ ูใช้ ไม่ ต้องเปิ ด
พจนานุกรมหลายเล่ ม ประหยัดเวลาในการเขียน
ง่ ายต่ อการค้ นหา เพราะทุกความหมาย และหน้ าที่ของคาศัพท์ รวมทัง้
ตัวอย่ างการใช้ ถูกแบ่ งแยกอย่ างชัดเจน
ประหยัดเวลาผู้ใช้ ไม่ ต้องเสียเวลาอ่ านความหมายของศัพท์ เพื่อหา
ตัวอย่ างที่ต้องการเขียน ซึ่งบางครั ง้ อ่ านความหมายแล้ วก็ยังไม่ เข้ าใจ
เพิ่มพูนคลังศัพท์ ผู้ใช้ สามารถเรี ยนรู้ ความหมายใหม่ และสานวนใหม่ ๆที่
เกิดจากการรวมคาศัพท์ เข้ ากับคาอื่นๆ เป็ นกลุ่มคาใหม่ จากตัวอย่ างใน
พจนานุกรมเล่ มนี ้
เข้ าใจความหมายได้ ถูกต้ อง ทุกตัวอย่ างมีคาแปลภาษาไทยที่ถูกต้ องกากับ
ทาให้ เข้ าใจความหมายได้ ไม่ ผิดเพีย้ น
ความเห็นของครูภาษาอังกฤษ
(2004 – 2007) เกี่ยวกับ
ครูเคท [คุณเนตรปรียา (มุสิกไชย) ชุมไชโย]
จาก “ฝึ กภาษาอังกฤษกันยังไงทาไมไม่ สาเร็จสักที”
...ครูเคทนึกขึน้ ได้ ว่าที่บ้านก็มีพจนานุกรมอังกฤษ-ไทยอยู่
เล่ มหนึ่งที่ น่ าสนใจชื่อว่ า English By Example : A Dictionary of
English Collocations with Thai Translations เรี ยบเรี ยงโดย วงศ์
วรรธนพิเชฐ... สนใจคาว่ า Collocations ที่คุณวงศ์ เขียนไว้ ในคานา
ว่ า "ไม่ เกี่ยวกับหลักไวยากรณ์ แต่ เป็ นเรื่องความนิยมที่เจ้ าของภาษา
เห็นว่ าถูกต้ อง ดังนัน้ ถึงแม้ ว่าบางคนจะรู้หลักไวยากรณ์ เป็ นอย่ างดีก็
ตาม แต่ ก็อาจเขียนภาษาอังกฤษไม่ ถูกต้ องตามมาตรฐานได้ เช่ นกัน"
ซึ่งประเด็นนีค้ รูเคทเห็นด้ วยเป็ นอย่ างยิ่ง...การใช้ พจนานุกรม
Collocations เล่ มที่ว่านีม
้ ีข้อดี คือ คุณจะได้ เรียนรู้แบบวิธีการที่ฝรั่ง
เขาใช้ กัน...”
“
คุณเตือนตา นิมิตรกุล
นักแปล
ICS Translation Bureau
"...ดิฉันเห็นพจนานุกรมเล่ มนีค้ รั ง้ แรกก็ร้ ู สกึ ดีใจมาก และอยากให้
อาจารย์ ทงั ้ หลายแนะนาวิธีการใช้ แก่ ลูกศิษย์ ... ดิฉันเชื่อว่ าถ้ าเราสอน
ภาษาอังกฤษโดย เน้ นที่เรื่องของ Collocations ตัง้ แต่ แรก แทนที่จะให้
นักเรี ยนคิดว่ าภาษาอังกฤษคือ การเรี ยน grammar อย่ างเดียว นักเรี ยนจะใช้
ภาษาอังกฤษได้ ง่ายขึน้ กว่ านี ้ และสอดคล้ องกับการเรี ยน "ภาษา" ซึ่งมีลักษณะ
ของการเลียนแบบ
การที่ไม่ พูดถึงเรื่ อง Collocations ทาให้ นักเรี ยนใช้ วธิ ีแปลข้ อความ
จากภาษาหนึ่งเป็ นภาษาหนึ่ง บางครั ง้ จึงไม่ ตรงกับที่ต้องการ หรื อที่เจ้ าของ
ภาษาใช้ ทาให้ เกิดความไม่ เข้ าใจเป็ น "ปั ญหา" ที่บางครั ง้ เจ้ าตัวเองก็ไม่ ร้ ู ว่าตน
มี "ปั ญหา" ดีใจแทนคนรุ่ นใหม่ ท่ ีมีหนังสือดีๆ ให้ อ่าน และหวังว่ าจะทาให้ ทุก
คนเขียนภาษาอังกฤษได้ ง่ายขึน้ กว่ าเดิมค่ ะ... "
ROHIT AGAWAL
Lecturer, English Department, Thongsook College
“...this dictionary is the book which can
guide and support the students in order
to arrange words into correct sentences.
I am very impressed with this dictionary
and have recommended all my students
to use it.”
อาจารย์ มณฑนา ตรี สรานุวัฒนา
หัวหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ
โรงเรียนเซนต์ ฟรังซี ซาเวียร์ คอนแวนต์ , กรุ งเทพฯ
“English By Example: A Dictionary of
English Collocations with Thai Translations
ช่ วยในการเขียน บางครัง้ ใช้ เป็ นตัวอย่ างเปรียบเทียบ
การเขียนของนักเรียน อาจนาไปสอนและออกข้ อสอบ
บ้ างค่ ะ”
อาจารย์ วิภาดา ประสารทรัพย์
คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
เป็ น Dictionary ที่มีประโยชน์ ต่อนักเรียนไทย
เพราะได้ เห็นตัวอย่ างการใช้ คาศัพท์ อย่ างเข้ าใจ ซึ่ง
บางครัง้ อาจยังไม่ เข้ าใจดีในการเปิ ดพจนานุกรม
English-English ค่ ะ”
“
คุณพัชชา ธีรเจริญสุข
ผู้อานวยการสถาบันภาษา
NCE World Education
(ซ.อโศก)
ตามความคิดเห็นของ
ดิฉันในฐานะที่เป็ นครูสอนภาษาอังกฤษและผู้ศึกษา
ภาษาอังกฤษคนหนึ่ง ดิฉันเห็นว่ าเป็ น Dictionary
ที่ช่วยให้ ผ้ ูท่ ตี ้ องการฝึ กฝนการเขียนภาษาอังกฤษ
สามารถนาคาศัพท์ มาใช้ เขียนได้ อย่ างถูกต้ อง”
“English By Example
ผศ. บุญเชิด หนูอ่ มิ
ผู้อานวยการศูนย์ ภาษา มหาวิทยาลัยบูรพา
“สาหรั บผมแล้ ว Dictionary
เล่ มนีเ้ ป็ น Dictionary
ที่ดีเล่ มหนึ่ง เพราะมีคาอธิบายภาษาไทยที่ชัดเจน และมี
ตัวอย่ างประโยคสาหรับการใช้ คาเพื่อให้ ผ้ ูอ่านสามารถใช้
คาได้ อย่ างถูกต้ องกับสถานการณ์ ในแต่ ละกรณี ซึ่งเหมาะ
กับผู้ท่ ตี ้ องการใช้ ภาษาอังกฤษให้ ถูกต้ อง”
อาจารย์ ราศีทพ
ิ ย์ กัลยาศิริ
หัวหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ
โรงเรี ยนวัดเขมาภิรตาราม จ.นนทบุรี
มีประโยชน์ มากในการแต่ ง
ประโยคภาษาอังกฤษ ใช้ ง่าย และมีข้อมูลที่ทนั สมัย”
“English By Example
ผศ. ลิลลี่ ลิมปะสุวัณณ
อดีต Director of International Program
Santirat Institute of Business Administration
"...ปั ญหาที่ทาให้ บางคนท้ อแท้ ก็คือ ไม่ ค่อยเข้ าใจการใช้
คาศัพท์ และสานวนภาษา คาศัพท์ คาหนึ่งๆ มีความหมายได้
หลายอย่ างทาให้ ย่ ุงยาก ในการนาไปใช้ พูดหรือเขียน
Dictionary: English By Example ช่ วยขจัดปั ญหานีไ้ ด้ อย่ าง
มาก เพราะมีคาแปลและสานวนการใช้ ให้ เราหยิบไปใช้ ได้ เลย
นับว่ าเป็ น Dictionary ที่มีประโยชน์ อย่ างยิ่ง ช่ วยเป็ นกาลังใจ
ให้ เราพัฒนาการใช้ ภาษาอังกฤษได้ อย่ างถูกต้ อง"
ตัวอย่ าง Collocations ที่มีความหมาย
ที่คุณอาจคาดไม่ ถงึ (จาก English By Example)
(1/3)

put his hand in his pocket

ask for her hand
(เขา)พร้ อมที่จะจ่ ายเงิน
ขอเธอแต่ งงาน

pull his leg
ล้ อเขาเล่ นโดยการหลอกให้ เขาเชื่อเรื่ องที่กุขนึ ้

eat his word

a long face
(เขา)ยอมรั บว่ าตนพูดผิด
หน้ าเศร้ า
ตัวอย่ าง Collocations ที่มีความหมาย
ที่คุณอาจคาดไม่ ถงึ (จาก English By Example)
(2/3)

a dog’s life
ชีวติ ที่ไม่ มีความสุข

Every dog has his day.
ชั่วเจ็ดทีดีเจ็ดหน

She has made a dogีี s dinner of these accounts.
เธอทาบัญชีพวกนีย้ ่ ุงไปหมด

keep one’s nose clean
หลีกเลี่ยงการทาผิด

bang your head against a brick wall
พยายามในสิ่งที่ไม่ มีทางจะเป็ นไปได้
ตัวอย่ าง Collocations ที่มีความหมาย
ที่คุณอาจคาดไม่ ถงึ (จาก English By Example)
(3/3)

hold one’s head high
ภูมใิ จในความสาเร็จของตน

a cool head
ความสุขุมเยือกเย็น

have one’s hands tied
ไม่ มีอสิ ระที่จะทาในสิ่งที่ตนอยากทา
BETTER ENGLISH
BETTER
JOB
ขอบคุณ
Thank You