Transcript ******* 1

หลักสู ตร “การพูดในที่ชุมนุมชน”
บรรยาย
โดย
อาจารย์ วทัญญู มุ่งหมาย
www.star-is-born.com
สถาบันพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพือ่ กลยุทธ์ ทางธุรกิจ มาตรฐานสากล
ตารางกาหนดการอบรม “การพูดในที่ชุมุนมชน”
โครงการพัฒนาบุคลากร ประจาปี งบประมาณ ๒๕๕๗
วันที่ ..... - ..... เดือน.............. พ.ศ. ๒๕๕๗
ณ. ...................................
วัน / เวลา
รายการ
วิทยากร
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๐.๐๐ น.
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๐.๓๐ น.
วิชาการ “หลักการพูดเบือ้ งต้ น”
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
ฝึ กภาคปฏิบัติ “การปรากฏตัวบนเวที”
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
พัก ๑๕ นาที
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๐.๔๕ – ๑๒.๐๐ น.
ฝึ กภาคปฏิบัติ “แนะนาตัวเอง”
/
ประเมินผล
พักรับประทานอาหาร ๑ ชั่วโมง
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น.
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๔.๐๐ – ๑๔.๔๕ น.
ฝึ กภาคปฏิบัติ “แนะนาตัวเอง” (ต่ อ) /
ประเมินผล
วิชาการ “การสร้ างความเชื่อมั่นและการ
เตรียมการพูด”
พัก ๑๕ นาที
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.
ฝึ กภาคปฏิบัติ “จุดประกายความคิด” /
ประเมินผล
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
ตารางกาหนดการอบรม “การพูดในที่ชุมุนมชน”
โครงการพัฒนาบุคลากร ประจาปี งบประมาณ ๒๕๕๗
วันที่ ..... - ..... เดือน.............. พ.ศ. ๒๕๕๗
วัน / เวลา
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๐.๐๐ น.
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๐.๓๐ น.
รายการ
วิทยากร
วิชาการ “ศิลปะการเรียบเรียง”
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
ฝึ กภาคปฏิบัติ “เล่าเรื่องประทับใจ” /
ประเมินผล
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
พัก ๑๕ นาที
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๐.๔๕ – ๑๒.๐๐ น.
ฝึ กภาคปฏิบัติ “เล่าเรื่องประทับใจ”(ต่ อ) /
ประเมินผล
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
พักรับประทานอาหาร ๑ ชั่วโมง
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น.
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๔.๐๐ – ๑๔.๔๕ น.
วิชาการ “การทาหน้ าทีพ่ ธิ ีกร”
ฝึ กภาคปฏิบัติ “บทบาทสมมติ”
ประเมินผล
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
/
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
พัก ๑๕ นาที
วัน .................... พ.ศ. ..........
เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.
ฝึ กภาคปฏิบัติ “บทบาทสมมติ” (ต่ อ) /
ประเมินผล
อ.วทัญญู มุ่งหมาย และคณะ
หลักการพูดในทีช่ ุ มนุมชน
ความสาคัญของการพูดในที่ชุมนุมชน
“พูดดีเป็ นศรี แก่ ตัว” เป็ นสุ ภาษิตของไทยที่ใช้ ได้ ทุกยุคทุกสมัย ยิง่ ปัจจุบันโลกเราแคบ
เข้ าด้ วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ เราสื่ อสารกันได้ อย่ างรวดเร็ว มิตรภาพที่พลโลกมีต่อกันก็
แผ่ ไพศาลไปทั่ว ภาษาพูดและวิธีการพูดก็นับวันทวีความสาคัญยิง่ ขึน้ การพูดดีนอกจากเป็ นศรี
แก่ ตัว ยังเป็ นศรีต่อประเทศและเป็ นประโยชน์ ต่อชาติบ้านเมืองอีกด้ วย
ความหมายของการพูดในที่ชุมนุมชน
การพูดในที่ชุมนุมชน หมายถึง การสื่ อสารความคิดจากผู้พูดไปยังผู้ฟัง โดยมีภาษาและ
อากัปกิริยาเป็ นสื่ อ เพือ่ ให้ บังเกิดผลตามที่ผู้พูดต้ องการ
การพูดในที่ชุมนุมชนจึงเป็ นทั้งศาสตร์ และศิลป์ เราจึงมีคาว่ า “วาทวิทยา” และ
“วาทศิลป์ ” ซึ่งเป็ นวิชาที่มีประโยชน์ และมีความจาเป็ นยิง่ คนเราทุกคนไม่ ว่าจะอยู่ในสายอาชีพ
ใด การพูดดีพูดเป็ น จะเป็ นทั้งอาวุธและอาภรณ์ ประดับตัว และจะเป็ นเครื่องส่ งเสริม
ความก้ าวหน้ าความสาเร็จ ทั้งในทางสั งคมและการงานอย่ างแน่ นอน เพราะการพูดดีจะ
ประหยัดเวลาทาให้ มีความเข้ าใจดีต่อกัน ช่ วยให้ อยู่ในสั งคมโดยได้ รับมิตรไมตรีจิต ดังบท
ประพันธ์ ของหลวงวิจิตรวาทการ ที่ว่า
“วาทการนั้นเป็ นเช่ นของสู ง
เป็ นเครื่ องจูงใจคนดัง่ มนต์ ขลัง
เป็ นทัง้ ศาสตร์ และศิลป์ ทรงพลัง
อีกเป็ นทัง้ ศาสตราแลอาภรณ์
เราจะใช้ วิชาล้าค่ านี้
เพือ่ สร้ างสรรค์ สิ่งดีเป็ นนุสรณ์
เพือ่ เทิดธรรมพัฒนาประชากร
เพือ่ บ้ านเกิดเมืองนอนแผ่ นดินไทย”
สุ นทรภู่ กวีเอกของไทยได้ กล่ าวถึงความสาคัญของการพูดไว้ มาก ดังความตอน
หนึ่งจาก “นิราศภูเขาทอง”
“ถึงบางพูดพูดดีเป็ นศรี ศักดิ์
มีคนรักรสถ้ อยอร่ อยจิต
แม้ นพูดชั่วตัวตายทาลายมิตร
จะชอบผิดในมนุษย์ เพราะพูดจา”
อีกตอนหนึ่งว่ า.....
“เป็ นมนุษย์ สุดนิยมเพียงลมปาก จะได้ ยากโหยหิวเพราะชิวหา
แม้ พูดดีมีคนเขาเมตตา
จะพูดจาจงพิเคราะห์ ให้ เหมาะความ”
ทาไมจึงต้ องฝึ กพูด
การพูดเป็ น การพูดดี หรือที่เรียกว่ า วาทศิลป์ นั้น เป็ นสิ่ งที่ฝึกหัดได้ อย่ างไม่ ต้องสงสั ย
จากการศึกษาประวัตนิ ักพูดเอกของโลก เรายิง่ เห็นว่ าศิลปะการพูดเป็ นสิ่ งที่หัดได้
เดมอสเธนิส นักพูดฝี ปากเอกของกรีก ได้ พูดปลุกปลอบใจทหารที่กาลังระส่ าระสาย ให้
ต่ อสู้ กองทัพอันเกรียงไกรของพระเจ้ าฟิ ลลิปแห่ งแคว้ นเมซิโตเนีย จนได้ รับชัยชนะ
ตามประวัติแต่ เดิม เดมอสเธนิสเป็ นคนพูดติดอ่ าง ไปพูดในที่ชุมนุมชนก็ถูกเย้ ยหยัน
เหยียดหยามมาแล้ ว เขาจึงหลบจากเอเธนส์ ไปฝึ กอยู่นอกเมือง เป็ นการฝึ กด้ วยตนเอง จนพูด
คล่ องดีแล้ วจึงกลับเข้ ามา
ลินคอล์ น ประธานาธิบดีผู้ยงิ่ ยงของสหรัฐอเมริกา เจ้ าของวาทะ “รั ฐบาลของประชาชน
โดยประชาชน และเพือ่ ประชาชน” อันเป็ นรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
สุ นทรพจน์ ของท่ าน ณ เก็ตติสเบอร์ ก ได้ รับเกียรติบรรจุในหนังสื อเอ็นไซโคลปิ เดีย
ลินคอล์ น เมื่อเริ่มเป็ นทนายไปว่ าความครั้งแรก ปากสั่ นขาสั่ นเหงือ่ ตกเป็ นเมล็ด
ข้ าวโพด จนศาลสงสารสั่ งให้ นั่งลง หลังจากนั้นท่ านก็ได้ ฝึกตนเอง และประสบความสาเร็จใน
การพูดอย่ างยอดเยีย่ ม
ตัวอย่ างเหล่ านี้ จะเป็ นนิทศั น์ อุทาหรณ์ อย่ างดีทแี่ สดงให้ เห็นว่ า ศิลปะการพูด
เป็ นสิ่ งทีฝ่ ึ กฝนกันได้ ไม่ ใช่ สิ่งเหลือวิสัย ส่ วนที่จะมีความช่าชองนั้นจะต้ องฝึ กฝนจนเกิด
ความชานาญ
คนทีย่ งั ถีบจักรยานไม่ เป็ น ย่ อมรู้สึกว่ าหัดยากอยู่ แต่ เมือ่ ลองหัดดูแล้ วก็จะเห็น
ว่ าไม่ ใช่ เรื่องยากนัก เมือ่ เป็ นใหม่ ๆก็หัดแต่ เพียงไม่ ให้ ล้ม บางครั้งก็ต้องเลีย้ วไปตามใจ
ของรถเพราะเรายังบังคับไม่ ได้ มีอะไรกีดขวางก็ชนเอาบ้ างจนกว่ าจะรู้สึกถนัดมีความ
ชานาญแล้ ว เราก็จะบังคับรถได้ ตามความต้ องการ แม้ จะเป็ นทางแคบๆ ถือว่ าจักรยาน
นั้นเชื่องแล้ วฉันใด การฝึ กพูดก็ฉันนั้น
การฝึ กพูดในทีช่ ุ มนุมชนมีวตั ถุประสงค์ แบ่ งได้ เป็ น 5 ประการใหญ่ ๆ คือ
1. ฝึ กเพือ่ ให้ ร้ ูจักการสื่ อสารด้ วยคาพูดทีถ่ ูกต้ อง
2. ฝึ กเพือ่ เตรียมตัวเป็ น “ผู้นา” ที่ดี
3. ฝึ กเพือ่ วางรากฐานของประชาธิปไตย
4. ฝึ กเพือ่ สร้ างมนุษย์ สัมพันธ์
5. ฝึ กเพือ่ พัฒนาบุคลิกภาพ
ข้ อควรคานึงเบือ้ งต้ นสาหรับการเป็ นผู้พูด
บุคคลซึ่งจะเป็ นผู้พูดในที่ชุมนุมชนที่ดไี ด้ ควรต้ องมีลกั ษณะอันจะเอือ้ อานวยต่ อการ
พัฒนาตนเองให้ เป็ นผู้พูดที่ดยี งิ่ ๆขึน้ ไปทั้งทางตรงและทางอ้ อม ทั้งนีเ้ พราะการเป็ นผู้พูดในที่
ชุมนุมชนที่ดตี ้ องอาศัยการเอาใจใส่ และความพากเพียรของบุคคลนั้นเป็ นสาคัญ ข้ อควรคานึง
เบือ้ งต้ นของการเป็ นผู้พูดที่ดี คือ
1. ต้ องมีความศรัทธา มีศรัทธาเลือ่ มใส ต้ องการเป็ นนักพูดที่ดี มีแรงบันดาลใจที่จะพากเพียร
พยายามในการพัฒนาตนเองจนประสบความสาเร็จ
2. ต้ องใฝ่ ความรู้ ผู้ที่ใฝ่ ความรู้ หมั่นศึกษาพัฒนาตนเองอย่ างสม่าเสมอเปรียบเหมือน แสงสว่ าง
ในหมู่บุคคลทั่วไป ในอันที่จะถ่ ายทอดแสงสว่ างแห่ งความรู้ ให้ แก่ ผู้ฟังจนก่ อให้ เกิดประโยชน์ แก่
ผู้ฟัง
3. ต้ องเป็ นนักสั งเกตและจดจา คนช่ างสั งเกตและจดจามักได้ เปรียบผู้อนื่ เสมอ มักเป็ นผู้พูดที่
มีเกร็ดความรู้ น่าสนใจ โดยเฉพาะจากประสบการณ์ แปลกๆมาเล่ าสู่ กนั ฟัง
4. ต้ องหมั่นฝึ กฝน มีการเปรียบเทียบว่ า การพูดเหมือนการว่ ายนา้ จะอ่ านตารากีร่ ้ อยกีพ่ นั เล่ ม
ก็ตาม ถ้ าไม่ กระโดดลงไปในนา้ จริงๆ ก็ไม่ มีทางว่ ายนา้ เป็ น การพูดก็เช่ นเดียวกัน การพัฒนา
ตนเองในด้ านนี้ จะได้ ผลจากการฟังคาบรรยายเกีย่ วกับแนวทางวิธีการเพียงร้ อยละ 10 ต่ อเมื่อมี
การแสดงให้ ดูเป็ นตัวอย่ างหรือสาธิตก็จะได้ เพิม่ ขึน้ อีกร้ อยละ 20 ส่ วนที่จะได้ ประโยชน์ มากที่สุด
อยู่ที่การฝึ กฝนและหมั่นปฏิบัตถิ ึงร้ อยละ 70
แบบของการพูดในทีช่ ุ มนุมชน
โดยถือเอาโอกาสของการพูดเป็ นบรรทัดฐานการพูดในทีช่ ุ มนุมชน อาจแบ่ ง
ออกเป็ น 2 แบบ ดังนี้
1. การพูดแบบเป็ นทางการ เป็ นการพูดในโอกาสทีเ่ ป็ นพิธีรีตองเป็ น
งานเป็ นการ ต้ องการความแน่ นอนและการเตรียมการจนหาข้ อบกพร่ อง
ไม่ ได้ หรือได้ น้อยทีส่ ุ ด มักเป็ นการพูดในงานพิธีการต่ างๆ เช่ น การกล่ าว
รายงาน การกล่ าวเปิ ดพิธี การกล่ าวคาปราศรัยในโอกาสอันสาคัญ ฯ ผู้
พูดในโอกาสเช่ นนีค้ วรยึดถือความสุ ภาพเรียบร้ อยและมารยาทอันดีงามทั้งในการพูด
และบุคลิกภาพ
2. การพูดแบบไม่ เป็ นทางการ การพูดในทีช่ ุ มนุมชนทีเ่ ราเห็นกันอยู่เสมอๆ ส่ วนใหญ่
เป็ นการพูดแบบไม่ เป็ นทางการ ซึ่งมีบรรยากาศความเป็ นกันเองในระหว่ างผู้พูดกับผู้ฟัง
ไม่ ว่าจะด้ วยอารมณ์ ขนั ลีลาการพูด หรือการวางตัวของผู้พูด การพูดแบบนีผ้ ู้พูดอาจ
เปิ ดโอกาสให้ ผู้ฟังมีบทบาทมากขึน้ โดยการแสดงความคิดเห็นหรือซักถาม เช่ น การ
อภิปราย การสอน เป็ นต้ น
วิธีการพูดในทีช่ ุ มนุมชน
ผู้พูดทีด่ คี วรจะรู้จักเลือกใช้ วธิ ีของการพูดให้ เหมาะสมกับการพูดในแต่ ละแบบ แต่ ละ
จุดมุ่งหมาย แต่ ละโอกาส มีอยู่ 4 วิธีด้วยกัน
1. พูดโดยการอ่ านจากต้ นฉบับ เป็ นการพูดทีไ่ ม่ ต้องการให้ มขี ้ อผิดพลาด มักเป็ นการ
พูดในโอกาสทีม่ คี วามสาคัญยิง่ และเป็ นทางการ โดยผู้พูดจะอ่ านจากร่ างทีเ่ ตรียมมาชนิด
คาต่ อคาเลยทีเดียว การพูดโดยการอ่ านทีด่ นี ้ ัน ผู้พูดควรใช้ สายตามองผู้ฟังประมาณ
สองในสาม ของการพูดทั้งหมด ทั้งสาเนียงการอ่ าน ควรอ่ านอย่ างมีจังหวะจะโคน มีการ
เน้ นในทีท่ คี่ วรจะเน้ น
2. พูดโดยการท่ องจา ผู้พดู เขียนเรื่องทีจ่ ะพูดขึน้ มาทุกถ้ อยคา ทบทวน และซักซ้ อมซ้า
แล้ วซ้าเล่ าจนสามารถจาได้ ขนึ้ ใจแล้ วเอาไปพูดในทีช่ ุ มนุมชน มักจะนิยมใช้ กบั ผู้ทเี่ ริ่ม
การพูดใหม่ ๆ แต่ มขี ้ อเสี ยคือ สาเนียงการพูดมักไม่ เป็ นธรรมชาติและอาจหลงลืม
ข้ อความตอนสาคัญๆไป
3. พูดจากความเข้ าใจ โดยมีการเตรียมล่ วงหน้ า การพูดด้ วยวิธีนีเ้ ป็ นวิธีทมี่ ผี ้ ูนิยมกัน
มากทีส่ ุ ด เพราะเปิ ดโอกาสให้ ผู้พูดได้ ใช้ ความสามารถเฉพาะตัวให้ สอดคล้ องกับ
บรรยากาศ ผู้พูดเตรียมเฉพาะสาระของการพูดไว้ ล่วงหน้ า เมือ่ ปรากฏตัวต่ อหน้ าที่
ชุ มนุมชน ผู้พูดจะถ่ ายทอดสาระเหล่ านั้นออกมาโดยใช้ ถ้อยคาและลีลาการพูดทีเ่ ป็ น
ธรรมชาติของตัวเอง
4. พูดแบบกะทันหัน โดยไม่ มกี ารเตรียมล่ วงหน้ า ผู้พูดต้ องอาศัยไหวพริบปฏิภาณ
และความเชื่อมัน่ ในตนเอง โดยพยายามพูดให้ ตรงประเด็นทีม่ กี ารกาหนดขึน้ แนวทาง
ในการสรรหาเนือ้ หาสาระสาหรับการพูดปากเปล่ าโดยไม่ มกี ารเตรียมล่ วงหน้ า มีดงั นี้
ก. พูดถึงความเป็ นมา พิจารณาแง่ มุมเกีย่ วกับอดีต ปัจจุบนั อนาคตของเรื่องที่
จะพูด
ข. พูดเชิงวิเคราะห์ อะไรคือปัญหา แง่ มุมทีส่ าคัญต่ างๆของปัญหาโดยเฉพาะใน
ส่ วนทีเ่ กีย่ วพันกับต้ นเหตุ และผลของปัญหานั้นๆ
ค. เน้ นความผูกพันต่ อทุกคน พยายามชี้แจงให้ เห็นถึงความสาคัญของเรื่องราว
ทีม่ ตี ่ อทุกคนในทีน่ ้ัน พร้ อมทั้งสรุปด้ วยการแนะว่ าทุกคนควรทาอะไรทีเ่ กีย่ วกับเรื่องนั้น
บ้ าง
จุดมุ่งหมายของการพูด
นอกจากจะต้ องรู้ จักเลือกใช้ แบบของการพูดให้ เหมาะกับกาลเทศะแล้ ว ก่ อนการพูดทุก
ครั้ง ผู้พูดที่ดคี วรจะต้ องรู้ หรือกาหนดจุดมุ่งหมายของการพูดในครั้งนั้นๆเอาไว้ ด้วยว่ า ควรพูด
เพือ่ อะไร
1. เพือ่ ให้ ความรู้ ข่ าวสาร และข้ อเท็จจริง การพูดต่ อที่ชุมนุมชนส่ วนใหญ่ เป็ นการพูดเพือ่ ให้
ความรู้ ข่ าวสาร ข้ อเท็จจริง เป็ นการพูดที่ต้องใช้ ความสามารถในการบรรยาย การอธิบาย การ
ชี้แจง การแสดงความหมายและการสาธิตเกีย่ วกับเรื่องราวนั่นเอง
2. เพือ่ ความบันเทิง มักเป็ นการพูดแบบไม่ เป็ นทางการ มุ่งที่จะสร้ างความบันเทิงและ
บรรยากาศรื่นรมย์ ในหมู่ผู้ฟัง เรื่องที่พูดส่ วนใหญ่ เป็ นการพูดเกีย่ วกับการเผชิญภัย ความรัก
ความสาเร็จในชีวติ และเรื่องภูตผีปีศาจ เป็ นต้ น
3. เพือ่ จูงใจ เป็ นการพูดเพือ่ ให้ ผู้ฟังคล้ อยตามผู้พูด กระทาตามผู้พูด หรือมีความประทับใจใน
ตัวผู้พูดและเรื่องที่พูด
4. เพือ่ ให้ เกียรติ คือการพูดในโอกาสต่ างๆ ทั้งที่เป็ นมงคลและอวมงคล เพือ่ ให้ เกียรติแก่ บุคคล
ใดบุคคลหนึ่งหรือหลายบุคคลเนื่องในโอกาสนั้นๆ ดังนั้นเนือ้ หาสาระจึงมักประกอบไปด้ วยการ
ยกย่ องสรรเสริญและการอวยพรกันและกัน
การพูดในแต่ ละครั้งอาจมีจุดมุ่งหมายหลายประการก็ได้ แต่ ควรยึดจุดมุ่งหมายหลัก
ประการใดประการหนึ่ง เพือ่ ทาให้ ผู้ฟังสามารถรู้ ได้ แน่ ชัดว่ าผู้พูดต้ องการอะไร
ข้ อบกพร่ องของการพูดในทีช่ ุ มนุมชน เท่ าทีเ่ ราเห็นอยู่ทวั่ ๆ ไป มีดงั นี้
1. พูดยาวไป ยืดยาว เยิน่ เย้ อ เกินกว่ าเวลาทีก่ าหนดให้ พูด หรือเวลาอันควร ทาให้ ผู้ฟัง
เกิดการเบื่อหน่ ายไม่ สนใจฟัง และยังเป็ นการทาลายเวลาของส่ วนรวมอีกด้ วย
2. พูดสั้ นไป พูดน้ อย ขาดสาระสาคัญ เมือ่ พูดออกไปแล้ วไม่ เกิดประโยชน์ อนั ควร
เพราะผู้ฟังได้ รับข้ อมูลไม่ เพียงพอ ผู้พูดก็จบการพูดเสี ยแล้ ว
3. พูดไม่ ชวนฟัง ผู้พูดไม่ ใคร่ ครวญให้ ดกี ่ อนการพูด ไม่ รู้ จักเอาใจเขามาใส่ ใจเรา พูด
ไปแล้ วผู้ฟังไม่ พอใจ หรือเกิดความเจ็บช้านา้ ใจ ไม่ เกิดประโยชน์ ในทางสร้ างสรรค์
4. พูดไม่ รู้เรื่อง ผู้ฟังจับใจความไม่ ได้ เพราะผู้พูดพูดสั บสนวกวน ขาดการขยายความ
ทีด่ พี อ ไม่ รู้จักใช้ ถ้อยคาทีช่ ่ วยให้ เข้ าใจง่ าย เมือ่ ผู้พูดพูดจบไปแล้ ว ผู้ฟังยังฟังไม่ รู้เรื่องว่ า
ผู้พูดต้ องการอะไรกันแน่
การสร้ างความเชื่อมั่นและขจัดอาการประหม่ า
“ความหวาดกลัวนั้น ทาลายมนุษย์ มากกว่ าสิ่งใดๆในโลกนี”้
ดูเหมือนจะยังไม่ มใี ครเลย ประสบความสาเร็จในการพูดต่ อทีช่ ุ มนุมชน ทั้งๆที่
ปราศจากความเชื่อมัน่ ในตนเอง และไม่ สามารถควบคุมสติอารมณ์ ในขณะพูด
มิใช่ เพียงแต่ ผู้ต้องขึน้ พูดในครั้งแรกเท่ านั้น แม้ แต่ ผ้ ูทคี่ ร่าหวอดอยู่กบั การพูดต่ อ
ทีช่ ุ มนุมชนส่ วนใหญ่ ต่างก็สารภาพว่ ายังคงมีอาการประหม่ าเมือ่ ได้ รับเชิญขึน้ พูด
โดยเฉพาะอย่ างยิง่ เมือ่ ไม่ มโี อกาสรู้ ล่วงหน้ า หรือต้ องไปพูดต่ อหน้ ากลุ่มชนใหม่ ใน
สถานทีไ่ ม่ เคยไปปรากฏตัวมาก่ อน เพียงแต่ ผ้ ูทมี่ ปี ระสบการณ์ การพูดมีวธิ ีซ่อนความ
ตื่นเต้ นและความประหม่ าได้ ดี สามารถควบคุมอาการประหม่ าได้ ในเวลาอันรวดเร็ว
สาเหตุของการขาดความเชื่อมั่นและมีอาการประหม่ า
ปกติผู้ที่ไม่ มีประสบการณ์ ในการปรากฏตัวต่ อที่ชุมนุมชนมักเกิดอาการประหม่ าเป็ น
อย่ างมาก เมื่อต้ องพูดในครั้งแรกๆ มีอาการตัวสั่ น มือขาสั่ น ปากสั่ น จิตใจวอกแวก ฯ มีความไม่
มั่นใจว่ าจะเริ่มการพูด หรือจบการพูดอย่ างไร บางครั้งต้ องทาเสี ยงประหลาดอืน่ ๆก่ อนการพูด
เมื่อปลายปี พุทธศักราช 2545 ในสภาผู้แทนราษฎร ได้ มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สุ ภาพสตรีท่านหนึ่งลุกขึน้ ทาหน้ าที่อภิปรายไม่ ไว้ วางใจฝ่ ายรัฐบาล ขณะที่ยนื พูดอยู่ประมาณ 5
นาที ก็เกิดอาการเสี ยงสั่ นเครือ มือซ้ ายที่ถือกระดาษมีข้อความที่จะอภิปรายก็สั่น ชั่วเวลา
ประมาณ 1 นาทีต่อมา ก็เกิดอาการเซ ตัวเอียง หัวก็ทิ่มเป็ นลม ล้ มลงกับพืน้ กลางสภานั่นเอง
จากตัวอย่ างนี้ แม้ จะเตรียมตัวมาอย่ างดี ก็สามารถเกิดเหตุการณ์ ที่ไม่ คาดฝันได้ ซึ่ง
เหตุการณ์ นีเ้ ป็ นตัวอย่ างที่ดขี องการขาดความเชื่อมั่นในตนเองและมีอาการประหม่ าอย่ างรุนแรง
สาเหตุของการขาดความเชื่อมั่นในตนเองและมีอาการประหม่ า ก็คอื การไม่ คุ้นเคยกับ
การพูดต่ อที่ชุมนุมชน ฉะนั้น จงฝึ กฝน...หรือลุกขึน้ พูดในโอกาสที่เปิ ดให้ จะพบว่ าการพูดต่ อที่
ชุมนุมชนนั้นสามารถสร้ างความเพลิดเพลิน สนุกสนานได้ อย่ างไม่ น่าเชื่อ
วิธีการสร้ างความเชื่อมัน่
1. เตรียมตัว ความประหม่ าในปริมาณพอเหมาะนั้นมีประโยชน์ เพราเป็ น
สั ญชาติญาณทางธรรมชาติในการเตรียมตัวเราให้ พร้ อม เพือ่ เผชิญกับการท้ าทายอันไม่
คุ้นเคย การเตรียมตัวทีถ่ ูกต้ องคือ การเอาใจใส่ กบั เรื่องทีจ่ ะพูดจนเกิดแนวความคิดที่
แตกแขนงออกไป
2. เตรียมพร้ อม ซักซ้ อมการพูด โดยค้ นหาเพือ่ นสั กคนทีม่ คี วามสนใจฟังเรื่อง
ทีเ่ ตรียมจะพูด และพูดให้ เขาฟังในสิ่ งทีเ่ ราศึกษาค้ นคว้ ามาอย่ างละเอียด อาจจะพบว่ า
เราต้ องมีการปรับปรุ งอย่ างไร
3. เตรียมข้ อมูล ต้ องวิเคราะห์ เจาะลึกในเรื่องทีจ่ ะพูด ศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูล และ
ยา้ กับตัวเองว่ าเป็ นเรื่องทีเ่ หมาะสมกับตัวเราอย่ างทีส่ ุ ดแล้ วและไม่ มใี ครรู้ เรื่องนีด้ กี ว่ าเรา
4. เตรียมการพูด ต้ องทุ่มเท มีความใส่ ใจกับจุดใหญ่ ใจความสาคัญของหัวข้ อ
นั้น และต้ องมีทศั นคติทถี่ ูกต้ อง นั่นคือ ต้ องมีความเชื่อมัน่ ต่ อเรื่องทีจ่ ะพูด
การเอาชนะอาการประหม่ า
1. จิบน้าเย็นเพียงเล็กน้ อย
2. สู ดลมหายใจลึกๆยาวๆให้ เต็มปอดสัก 10 วินาที ปริมาณออกซิเจนทีเ่ พิม่ ขึน้
จะช่ วยให้ เกิดความกล้ าช่ วยขจัดความกลัวได้
3. เสริมกาลังใจด้ วยการท่ องในใจว่ า“เป็ นไงเป็ นกัน...คนฟังก็เป็ นมนุษย์
เหมือนกับเรา ไม่ น่ากลัวเลย”
4. พูดด้ วยเสียงอันดังในประโยคแรก เป็ นการตัดไม้ ข่มนาม “ท่ านประธาน ท่ าน
ผู้ดาเนินรายการ...” และเป็ นการปลุกปลอบใจตนเองอีกด้ วย
5. ต้ องสบตาผู้ฟัง และยิม้
สรุปการสร้ างความเชื่อมัน่ และขจัดอาการประหม่ า
1. ต้ องเตรี ยมเรื่องทีจ่ ะพูด หาข้ อมูล เขียนเป็ นหัวข้ อก่ อนหลัง ทาความเข้ าใจใน
แต่ ละหัวข้ อให้ ดี เวลาพูดหรือบรรยายเพียงแต่ มองหัวข้ อก็สามารถพูดได้ โดยไม่ ติดขัด
2. ต้ องซักซ้ อมทบทวนแต่ ละหัวข้ อให้ ดี
3. ท่ าทีต้องสง่ า พูดชัดถ้ อยชัดคา วาจาสุ ภาพ เวลาพูดอย่ าหัวเราะ
“พูดทัง้ ที...ต้ องเชื่อมั่น” ความกลัว ความตื่นเต้ น ความประหม่ า ถือเป็ นปราการ
ด่ านสาคัญทีส่ ุ ด ซึ่งถ้ าท่ านสามารถทาลายกาแพงแห่ งความกลัว ทะลวงปราการแห่ ง
ความประหม่ าได้ ทีเ่ หลือก็ง่ายเสียยิง่ กว่ าพลิกฝ่ ามืออีก
การเตรียมการพูด
ผู้พูดที่ดตี ้ องอาศัยการฟังและการคิดเพือ่ พัฒนาการพูดของเราให้ ดขี ึน้ เราต้ องรู้ จัก
สั งเกตและจดจา ต้ องรู้ จักวิเคราะห์ ผู้ฟัง โอกาสและเวลาที่จะพูดตลอดจนสิ่ งแวดล้ อมต่ างๆ ที่จะ
เป็ นส่ วนทาให้ การพูดของเรามีความน่ าสนใจมากขึน้ เปรียบเหมือนกับแพทย์ เมื่อคนไข้ มา
ขอรับการรักษา แพทย์ จาเป็ นต้ องสอบถามลักษณะอาการคนไข้ และตรวจร่ างกายก่ อนจึงจะรู้ ถึง
สมุฏฐานของการเจ็บป่ วยนั้นได้ และสามารถสั่ งยาหรือรักษาอาการได้ ถูก เช่ นนีเ้ ป็ นการ
วิเคราะห์ ของแพทย์ สาหรับการพูดนั้น การวิเคราะห์ เพือ่ เตรียมการพูดทาให้ รู้ ถึงความต้ องการ
ของผู้ฟัง รู้ ถึงปัญหาที่อาจต้ องเผชิญ สามารถกาหนดความถูกต้ องเหมาะสมสาหรับการพูดใน
แต่ ละครั้งได้ มีแนวทางดังนี้
1. การวิเคราะห์ ผู้ฟัง จัดเป็ นเรื่องสาคัญมากที่สุด เพราะผู้ฟังเป็ นองค์ ประกอบของการพูดที่มี
ผลอย่ างยิง่ ต่ อการพูด ข้ อมูลในการวิเคราะห์ ผู้ฟังทาให้ เราสามารถเลือกเนือ้ หาถ้ อยคาได้
เหมาะสมและสร้ างความประทับใจแก่ ผู้ฟังได้
อายุของผู้ฟัง ความแตกต่ างตามระดับอายุย่อมมีความสนใจฟังในเรื่องที่ต่างกัน ผู้ที่มี
อายุมากย่ อมมีประสบการณ์ มาก มีความโน้ มเอียงไปในทางเอาจริงเอาจัง มีเหตุผล มีความสุ ขุม
ส่ วนคนหนุ่มสาวอาจชอบความสวยความงาม ด้ านเหตุผลก็ลดน้ อยลงไป พระยาอนุมานราชธน
เคยกล่ าวไว้ ในหนังสื อชื่อ “ฟื้ นความหลัง” ถึงนักปราชญ์ ผู้หนึ่ง(ลูเครติอสุ ) กล่ าวว่ า “ความสุ ข
ของเด็กอยู่ที่เล่ น ของหนุ่มสาวอยู่ที่รัก ของคนกลางคนอยู่ที่งาน และของคนแก่ อยู่ที่ความหลัง”
เพศของผู้ฟัง ความสนใจของเพศหญิงและเพศชายย่ อมแตกต่ างกันเสมอ เพศหญิง
ส่ วนใหญ่ มักชอบความสวยความงาม ดอกไม้ การเย็บปักถักร้ อย การทาอาหาร การฝี มือ แฟชั่น
ฯลฯ ส่ วนเพศชายชอบเรื่องตืน่ เต้ น การเผชิญภัย การต่ อสู้ การแสดงออก การแสดงความคิดเห็น
โดยเฉพาะเรื่องการบ้ านการเมือง มีผู้กล่ าวไว้ น่าฟังว่ า “ชายเอาจริงเอาจังในการงาน แต่ สาราญใน
ชีวติ ส่ วนหญิงสาราญในงาน แต่ เอาการในชีวติ ”
จานวนผู้ฟัง การทราบจานวนผู้ฟังล่ วงหน้ า ก็ทาให้ ผู้พูดสามารถเตรียมเรื่องได้
เหมาะสมยิง่ ขึน้ เพราะปกติมนุษย์ รวมกลุ่มกันมากเพียงใด ความเป็ นตัวของตัวเองก็ลดน้ อยลง
เป็ นลาดับและเกิดอารมณ์ ร่วมของกลุ่มเข้ ามาแทนที่ ดังที่เขาเรียกกันว่ า “จิตวิทยาฝูงชน”
นักการเมืองมักใช้ เป็ นแนวทางแสวงหาประโยชน์ โดยใช้ ผู้ฟังเป็ นเครื่องมือสร้ างความนิยม ใน
การ พิจารณาจานวนผู้ฟังนี้ ผู้พูดควรศึกษาไว้ ก่อน ถ้ ามีผู้ฟังจานวนมาก การพูดในครั้งนั้น
จาเป็ นที่จะ ต้ องมีข้อมูลและหลักวิชามาก การที่จะสร้ างความเป็ นกันเองจะมีอยู่น้อย แต่ ในทาง
ตรงกันข้ าม หากมีคนจานวนไม่ มาก อาจสร้ างบรรยากาศให้ มีลกั ษณะเป็ นกันเอง จะทาได้ ดี
ยิง่ ขึน้ สามารถแทรก อารมณ์ ขันได้ บ่อยครั้ง
มาตรฐานการศึกษา การศึกษาไม่ ใช่ เครื่องวัดภูมิปัญญาของคนทุกคน แต่ จะเป็ น
เครื่องมือที่จะกาหนดหลักโดยทั่วไป ยิง่ มีการศึกษาสู งมาก ย่ อมที่จะมีความรู้ ความเข้ าใจใน
ถ้ อยคาที่มีเนือ้ หาทางวิชาการมากขึน้ การที่จะพูดจูงใจก็ดี ในระดับผู้ที่มีการศึกษาสู ง จาเป็ นต้ อง
ชักจูงด้ วยเหตุผล แต่ ส่วนผู้ที่มีการศึกษาน้ อย จาเป็ นต้ องเน้ นอารมณ์ และความรู้ สึกน่ าเชื่อถือให้
มาก
อาชีพของผู้ฟัง อาชีพจะมีส่วนช่ วยชี้ให้ เห็นถึงสภาพทางสั งคม ชีวติ ความเป็ นอยู่
ประสบการณ์ ความสนใจ ความช่าชอง เป็ นต้ น สิ่ งเหล่ านีจ้ ะช่ วยให้ ผู้พูดได้ เตรียมตัวโดย
พยายามแฝงสาระในการพูดที่เกีย่ วข้ องกับอาชีพของเขาเหล่ านั้น
ทัศนคติของผู้ฟังที่มีต่อเรื่องที่พูด นับว่ าจาเป็ นมากในการเตรียมการพูด เพราะผู้ฟัง
จะให้ ความสนใจและตั้งใจฟังก็เฉพาะเรื่องที่สอดคล้ องกับทัศนคติของตน กล่ าวอย่ างง่ ายๆ คือ
ผู้ฟังจะเชื่อในเรื่องที่ตนเชื่ออยู่แล้ ว จะสนใจในเรื่องที่ตนสนใจอยู่แล้ ว
ทัศนคติของผู้ฟังที่มีต่อผู้พูด ผู้ฟังจะให้ ความสนใจเชื่อถือการพูดของผู้ที่ตนได้ ยนิ กิติ
ศัพท์ มีความเคารพเลือ่ มใสมากกว่ าการพูดของคนธรรมดา หากผู้ฟังไม่ มีความสนิทสนมหรือ
เคยได้ ยนิ รู้ จักผู้พูดมาก่ อน จาเป็ นที่ผู้พูดควรพยายามสร้ างความสนิทสนมในระยะเริ่มพูด
2. การวิเคราะห์ โอกาสและเวลาที่พูด จะช่ วยให้ ผู้พูดได้ รู้ ถึงบรรยากาศและความต้ องการของ
ผู้ฟังในขณะนั้นด้ วย เช่ น ในงานมงคล ซึ่งมีบรรยากาศของความรื่นรมย์ ยนิ ดีในระหว่ างกันและ
กัน ผู้ฟังก็ย่อมต้ องการความรื่นเริงบันเทิงใจมากกว่ าความเอาจริงเอาจังหรืออะไรที่เป็ นพิธีรีตอง
จนน่ าเบื่อหน่ าย หรือแม้ กระทั่งการพูดที่ยดื ยาดจนเกินความจาเป็ น
โอกาส ก่ อนเตรียมการพูด ควรรู้ ว่าจะไปพูดในโอกาสอะไร งานฉลองปริญญาบัตร พัด
ยศ เลือ่ นยศ แสดงมุทิตาจิต เพือ่ จะได้ เตรียมเรื่องให้ เหมาะสม หรือแม้ แต่ เตรียมการแต่ งกายให้
เหมาะสม หากมีผู้พดู หลายท่ านควรมีข้อมูลว่ าคนอืน่ พูดเรื่องอะไร จะได้ หลีกเลีย่ งไม่ ต้องพูดซ้า
กัน
เวลา ควรเลือกเรื่องที่พูดให้ พอดีกบั เวลาที่กาหนดไว้ ไม่ ควรเลือกเรื่องที่กว้ างเกินไป
การเรียบเรียง
ในการพูดในที่ชุมนุมชนแต่ ละครั้ง ผู้พูดจะต้ องมีการเรียบเรียงเนือ้ หาที่จะพูดให้ เป็ นขั้น
เป็ นตอน มีความสละสลวยก่ อน แล้ วจึงนามาฝึ กฝนให้ เกิดทักษะการพูดอย่ างพรั่งพรู การพูดจึง
จะเป็ นที่น่าสนใจแก่ ผู้ฟัง
โครงสร้ างของการเรียบเรียง
การพูดที่ถูกต้ อง จะต้ องพูดให้ ครบตามโครงสร้ างของการพูด ซึ่งมีอยู่ 3 ส่ วน คือ
1. คานาหรือคาเริ่มต้ น ( Introduction ) ประมาณร้ อยละ 5 - 10
2. เนือ้ เรื่องหรือสาระของเรื่อง ( Main body ) ประมาณร้ อยละ 80 - 90
3. สรุปจบหรือคาลงท้ าย ( Conclusion ) ประมาณร้ อยละ 5 - 10
คานาหรือคาเริ่มต้ น (Introduction)
การนาเข้ าสู่ เนือ้ เรื่องเป็ นเรื่องสาคัญของการพูด ความสนใจหรือความตั้งใจฟัง จะเริ่ม
จากส่ วนนี้ จะต้ องได้ รับการเตรียมอย่ างพิถีพถิ ันหรือจัดสรรขึน้ มาเป็ นพิเศษ ควรระวังว่ า การ
สร้ างความสนใจด้ วยการเริ่มเรื่องอันพิเศษพิสดารซึ่งขัดต่ ออารมณ์ ความรู้ สึกของผู้ฟัง เช่ น การ
ตะโกน การทุบโต๊ ะ การร้ องห่ มร้ องไห้ ฯลฯ มักจะไม่ ประสบความสาเร็จ หรือไม่ เป็ นผลดีต่อผู้
พูด ทั้งนี้ ในการเริ่มเรื่องทุกครั้ง ให้ คานึงถึงบรรยากาศของที่ประชุมในขณะนั้นเป็ นสาคัญ
การเริ่มต้ นแบบไม่ ได้ ผล พึงหลีกเลีย่ งมี 4 ประการ ดังนี้
ออกตัว การเริ่มต้ นแบบออกตัว เป็ นพฤติกรรมทีไ่ ม่ ให้ เกียรติผ้ ูฟัง เพราะเป็ น
การพูดทีส่ ารภาพกับผู้ฟังว่ า “ไม่ พร้ อม” ทีจ่ ะพูด จึงต้ องพยายามออกตัวให้ ผ้ ูฟังเห็นใจ
การเริ่มต้ นเช่ นนีไ้ ม่ เป็ นผลดีแก่ ผ้ ูพูดเลย เช่ นเริ่มว่ า“ผมมีความรู้ในเรื่องนี้ไม่ มากนัก
เพราะขาดประสบการณ์ ” หรือ“ผมต้ องบอกเสียก่ อนว่ า ผมไม่ มีเวลาเตรียมตัวมาพูดเลย
ได้ รับเชิญอย่ างกะทันหันจริงๆ”
มัวอ้ อมค้ อม การมัวพูดในเรื่องทีไ่ ม่ เป็ นเรื่อง หรือพูดนอกเรื่อง ทีบ่ างทีเรา
เรียกว่ า “มัวร่ ายทวน” หรือ “ขีม่ ้ าเลียบค่ าย” เป็ นการชักแม่ นา้ ทั้งห้ า วุ่นวาย สั บสน
วกวน
ยอมถ่ อมตน การถ่ อมตนบ้ างเล็กน้ อย และด้ วยความจริงใจ หรือด้ วยความ
สารวมอย่ างแท้ จริงก็พอใช้ ได้ แต่ ไม่ ช่วยให้ บงั เกิดผลดีในการพูด และยิง่ เป็ นการถ่ อมตัว
เสี ยจนเกินเหตุ ย่ อมทาให้ เกิดความ “เอียน” หรือ “เลี่ยน” เสี ยมากกว่ า
คาขออภัย ถึงจะขออภัยไว้ ล่วงหน้ าก่ อนพูด หากมีการผิดพลาดเกิดขึน้ ก็ไม่ มี
ทางทีจ่ ะได้ รับอภัยจากผู้ฟัง เช่ น“เนื่องจากผมไม่ ใช่ นักพูด หากมีสิ่งใดขาดตกบกพร่ องก็
ต้ องขออภัยไว้ ณ ทีน่ ี้..”
การเริ่มต้ นที่ได้ ผล
การเริ่มต้ นทีด่ ี ควรจะสามารถทาให้ ผู้ฟังสนใจทีจ่ ะฟังด้ วย “ลีลาถ้ อยคาที่
เหมาะสม ตรงประเด็น ชวนติดตาม ทาให้ ผ้ ฟู ังเห็นประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับจากการฟัง”
มีข้อแนะนาในการเริ่มเรื่อง ดังนี้
พาดหัวข่ าว การเริ่มต้ นแบบนีม้ ลี กั ษณะตื่นเต้ น เร้ าใจ เช่ น “สิบล้ อมรณะ
คนขับเมายาบ้ าซิ่งแหกโค้ งชนรถนักเรียนตายเกลื่อนกลางถนน”
กล่ าวคาถาม เป็ นการดึงความสนใจของผู้ฟังให้ หยุดสนใจในเรื่องอืน่ เช่ น
“ท่ านทราบหรือไม่ ว่า ขณะนี้คนไทยป่ วยเป็ นโรคเอดส์ จานวนกีค่ น และมีคนต้ องตาย
เพราะโรคนี้วันละกีค่ น”
ความสงสั ย การพูดด้ วยข้ อความกระตุ้นให้ เกิดความอยากรู้อยากเห็น สงสั ย
ข้ องใจ หรือไม่ น่าเชื่อ มักจะน่ าติดตามเสมอ เช่ น “ เด็กทารกนั่นแหละ เป็ นบิดาของ
ผู้ใหญ่ ”
ให้ รื่นเริง เป็ นการพูดเพือ่ สร้ างบรรยากาศให้ ผู้ฟังมีความรู้สึกสนุกในการฟัง
เชิงกวี เป็ นการนาสานวนกวี คาคม สุ ภาษิต คาพังเพย โคลง กลอน ถ้ อยคาเชิง
กวีเป็ นถ้ อยคาหลักแหลม ลึกซึ้ง สามารถพุ่งเข้ าสู่ จิตใจของผู้ฟังได้ อย่ างรวดเร็ว
เนือ้ เรื่องหรือสาระของเรื่อง (Main body)
การดาเนินเรื่องทีด่ จี ะต้ องมีความสั มพันธ์ กบั การเริ่มเรื่อง เรี ยบเรียงเรื่องอย่ างมี
ระเบียบ เป็ นขั้นเป็ นตอน มีหลักการเบือ้ งต้ นทีง่ ่ ายสาหรับการปฏิบัติในการเรียบเรียง
เรื่อง ดังนี้
“เรียงลาดับ จับประเด็น เน้ นตอนสาคัญ บีบคัน้ อารมณ์ เหมาะสมเวลา”
-พูดไปตามลาดับเหตุการณ์ หรือเวลา ไม่ วกวนกลับไปกลับมา
-เน้ นจุดมุ่งหมายของเรื่องเพียงจุดเดียว อย่ าออกนอกประเด็น หรือนอกเรื่อง
-เรื่องราวตอนสาคัญต้ องเพิม่ นา้ หนักของเสี ยงหรือลดระดับ พูดยา้ พูดซ้า หรือ
การหยุดนิดหนึ่งก่ อนทีจ่ ะถึงข้ อความสาคัญ เพียงเพือ่ ให้ เกิดความสนใจเป็ นพิเศษ
-มีตัวอย่ าง อุทาหรณ์ เบาๆสอดแทรกไว้ ในตอนต้ น จุดสนใจสู งสุ ดไว้ ตอนท้ าย
-มีความยืดหยุ่นพร้ อมทีจ่ ะตัด หรือเพิม่ ได้ เมือ่ มีเหตุการณ์ เฉพาะหน้ า
สรุปจบหรือคาลงท้ าย ( Conclusion)
การสรุ ปจบเป็ นช่ วงการพูดทีม่ คี วามสาคัญทีส่ ุ ด การพูดในแต่ ละครั้งจะประสบ
ความ สาเร็จมากน้ อยขึน้ อยู่กบั การสรุปจบเป็ นส่ วนใหญ่ บ่ อยครั้งทีเ่ ราพบว่ าผู้พูดบาง
คนพูดมีเนือ้ หาสาระดีมาตลอด แต่ ไม่ สามารถสรุ ปจบให้ ประทับใจ ทาให้ เรื่องทีพ่ ดู มา
ทั้งหมดด้ อยราคาลงไปมาก ดังนั้นผู้พูดไม่ ควรสรุ ปจบด้ วย “การขออภัย ขอโทษ ถ่ อม
ตัว ออกตัว หมดแค่ นี้ ไม่ มีเวลา ขอจบที ขอยุติที ขอขอบคุณ”
การสรุ ปจบทีไ่ ด้ ผลดี จบแบบ “สรุปความ ตามเชิงกวี มีสานวนขบขัน เปิ ดเผย
ตอนสาคัญ ฝากให้ คดิ สะกิดชักชวน”
จบแบบสรุปสาระทีส่ าคัญอย่ างสั้ นๆ เช่ น “ภาษาเป็ นสิ่งสาคัญของบ้ านเมือง
ขอให้ ช่วยกันรั กษามาตรฐานของภาษาไทย อย่ าให้ ทรุดโทรม”
จบตามเชิงกวี ด้ วยการนาสุ ภาษิต คาพังเพย โคลง กลอน หรือถ้ อยคาคมคาย มา
กล่ าวในตอนจบ เป็ นการจบทีเ่ ข้ าถึงจิตใจผู้ฟัง เกิดคุณค่ า เช่ น “เสรีภาพที่ผอมบาง ย่ อม
ดีกว่ าทาสทีอ่ ้ วนท้ วน”
จบด้ วยสานวนขบขัน ทาให้ ผู้ฟังมีความสุ ขสนุกสนาน และจะจดจาบรรยากาศ
นั้นได้ นานแสนนาน
จบแบบเปิ ดเผยตอนสาคัญ
เป็ นการพูดเรื่องราวทีท่ าให้ ผู้ฟังสงสั ยว่ าเรา
กาลังพูดถึงอะไร แล้ วจึงมาเฉลยให้ ผู้ฟังรู้ในตอนสรุปจบ
จบแบบฝากให้ คดิ เช่ น “ชีวิตมนุษย์ ทจี่ ะนับว่ าสมบูรณ์ มีค่าในตัวเอง และต่ อ
ผู้อื่น ไม่ ควรจากัดการศึกษาของตนไว้ เพียงทีก่ ฎหมายของรั ฐกาหนด แต่ ควรศึกษาหา
ความรู้จนตลอดชีวิตของตน การหยุดนิ่งไม่ ขวนขวายหาความรู้อยู่เสมอ ก็เท่ ากับทาตน
ให้ ถอยหลังพ้นไปจากแสงประทีปแห่ งปัญญานั่นเอง”
จบแบบชักชวนหรือเรียกร้ องให้ ผู้ฟังเห็นคล้ อยตาม และมีแนวโน้ มว่ าจะปฏิบตั ิ
ตาม เช่ น “... ในวันแม่ แห่ งชาติ และวันเฉลิมพระชนม์ พรรษานี้ ทุกๆท่ านคงจะได้ ระลึก
ถึงองค์ สมเด็จแม่ แห่ งชาติ ด้ วยความสานึกตระหนักในพระมหากรุณาธิคณ
ุ แล้ วร่ วมกาย
ร่ วมใจกันโดยสมานฉันท์ เพือ่ ถวายชัยมงคลและบูชาพระมหากรุณาธิคณ
ุ ทัง้ นั้นด้ วย
ปฏิบตั ิบูชาโดยนัยทีก่ ล่ าวแล้ ว”
การทาหน้ าทีพ่ ธิ ีกร
พิธีกรคือ
 ผู้นาด้ านพิธีการ
 ผู้ควบคุม หรือกากับรายการภาคพิธีการ
 รับผิดชอบการดาเนินรายการภาคพิธีการเพียงผู้เดียว (หรือคู่)
 ทาหน้ าทีเ่ ฉพาะลักษณะงาน เป็ นงานๆไป
 ทาหน้ าทีเ่ ฉพาะส่ วนพิธีการเท่ านั้น
 ทาหน้ าทีต
่ ามกาหนด หรือตามรายการเท่ านั้น (ไม่ ทานอกรายการ)
 เป็ นผู้สร้ างและควบคุมบรรยากาศของภาคพิธีการ
 เป็ นผู้พูดคนแรกและคนสุ ดท้ ายของภาคพิธีการ
การทากาหนดการ
ในการจัดงานพิธีการต่ างๆ จะต้ องมีการกาหนดขั้นตอนของงานว่ า ตอนไหน
เวลาใด ใครจะต้ องทาอะไร อย่ างไร เพือ่ ความเป็ นระเบียบเรียบร้ อยและงานดาเนินไป
อย่ างราบรื่น ข้ อกาหนดดังกล่ าว เรียกว่ า “กาหนดการ” (Program)
ผู้ทาหน้ าทีพ่ ธิ ีกรทุกคนต้ องทา “กาหนดการ” เป็ น เพราะกาหนดการของงาน
เปรียบเสมือนเข็มทิศคอยชี้บอกให้ ดาเนินการไปตามขั้นตอน โดยมีหลักการกว้ างๆ ดังนี้
1. รูปแบบของกาหนดการ ประกอบด้ วย ชื่อของงาน สถานทีจ่ ัดงาน วันเวลา
ของพิธีการ ประธานในพิธี การแต่ งกายของผู้ร่วมงาน
2. การกาหนดขั้นตอนของงาน ว่ าเวลาใดทาอะไร เวลาใดเปิ ดงาน เวลาใดเริ่ม
พิธีการ ต่ อจากภาคพิธีการแล้ วจะเป็ นภาคอะไร เช่ น ภาคบันเทิง เป็ นต้ น
3. รายละเอียดของแต่ ละขั้นตอน เพือ่ กาหนดว่ า ใครจะต้ องขึน้ มาทาหน้ าที่
อย่ างไร นานเท่ าใด เพือ่ ให้ บุคคลทีม่ หี น้ าทีจ่ ะต้ องปฏิบตั ิตามกาหนดการทีไ่ ด้ ทราบ
ล่ วงหน้ าก่ อนทีจ่ ะได้ รับเชิญขึน้ เวที
การเตรียมงานของพิธีกร
เตรียมงานเฉพาะงานบนเวที หมายความว่ า คณะกรรมการจัดงานหรือเจ้ าภาพ
ได้ ตระเตรียมลาดับขั้นตอนของงานไว้ เรียบร้ อยแล้ ว พิธีกรเพียงแต่ ทาหน้ าทีบ่ นเวทีใน
วันงานเท่ านั้น
การเตรียมตลอดงาน หมายความว่ า เจ้ าของงานหรือผู้รับผิดชอบการจัดงาน มี
การมอบหมายให้ บุคคลที่ทาหน้ าทีพ่ ธิ ีกร รับผิดชอบทางภาคพิธีการทั้งหมด ตั้งแต่ เริ่ม
งานจนกระทัง่ เสร็จงาน ดังนั้น การเตรียมงานจึงต้ องแบ่ งเป็ น 3 ขั้นตอน คือ
การเตรียมก่อนวันงาน
 การเตรียมการปฏิบัตห
ิ น้ าที่ในวันงาน และ
 การสรุ ปหรือการประเมินผลเมื่อเสร็ จงาน

บทบาทบนเวทีของพิธีกร
การทางานหรือการปฏิบัตหิ น้ าที่อนั แท้ จริงของพิธีกร คือ “การแสดงบทบาทบนเวที”
นับตั้งแต่ เริ่มพิธีไปจนกระทั่งเสร็จพิธี พิธีการจะดีหรือไม่ พิธีกรจะมีฝีมือขนาดไหน ดูกนั ที่
บทบาทบนเวทีเป็ นสาคัญ
การแสดงบทบาทของพิธีกรมี 3 ทางเท่ านั้น คือ ทางใจ ทางกาย และทางวาจา
บทบาททางใจ (Mind Action)
บทบาททางใจนับว่ ามีความสาคัญมาก แม้ ว่าจะเป็ นเพียงความรู้ สึกนึกคิดที่อยู่ภายใน
ไม่ สามารถมองเห็นหรือจับต้ องได้ แต่ มีผลต่ อการแสดงบทบาทอืน่ ๆด้ วย สภาพจิตใจของผู้ที่
ขึน้ มาปรากฏตัวบนเวที แตกต่ างกับตอนที่ยงั ไม่ ได้ ขนึ้ เวที เช่ น อาจจะรู้ สึกประหม่ า หูออื้ ตาลาย
มือสั่ น ขาสั่ น ปากสั่ น หัวใจเต้ นแรง สิ่ งเหล่ านีถ้ ือว่ าเป็ นเรื่องปกติที่อาจจะเกิดขึน้ ได้ กบั ทุกคน
ไม่ ต้องตกใจ พยายามควบคุมสติ และสร้ างความรู้ สึกเชื่อมั่นในตัวเองว่ า เราพร้ อม เราเข้ าใจและ
ขึน้ ใจกับการทาหน้ าที่หรือบทบาทบนเวทีของเรา ไม่ ว่าจะมีอารมณ์ ใดมากระทบ ต้ องเยือกเย็น
อดทน ไม่ วู่วามหรือขาดสติ
ความรู้ สึกต่ างๆดังกล่ าว ไม่ มีหลักการหรือวิชาการใดๆ เป็ นสู ตรสาเร็จที่จะแนะนา หรือ
อบรมที่จะให้ ไม่ บังเกิดขึน้ ขึน้ อยู่กบั ความคุ้นเคย ความเคยชิน หรือการมีโอกาสได้ กระทา หรือ
ปฏิบัตบิ ่ อยๆ ที่เรียกว่ าต้ องมี “ชั่วโมงบิน” มากๆ อาการหรือความรู้ สึกเหล่านั้นจะค่ อยๆคลาย
หรือหายไปเอง
บทบาททางกาย (Body Action)
บทบาททางกาย สามารถมองเห็นได้ ในลักษณะเป็ นรู ปธรรม สิ่ งทีเ่ ป็ นรู ปธรรม
สามารถปรับปรุ งหรือปรุงแต่ งให้ ดไี ด้ เช่ น
การแต่ งกาย เหมาะเจาะเหมาะสมกับงาน
 จัดท่ าทีให้ สง่ าผ่ าเผย สุ ภาพ ดูเป็ นกันเองกับผู้อน
ื่
 ใบหน้ าเบิกบานยิม
้ แย้ ม
 แววตาเป็ นประกายแจ่ มใส มองไปยังผู้ฟังให้ ร้ ู สึกว่ ากาลังพูดอยู่กบ
ั ผู้ฟังจริงๆ
 ยืนให้ มน
ั่ คงก่อนจะกล่าวถ้ อยวาจาออกไป
 สารวมการออกท่ าทาง ไม่ หลุกหลิก มือไม้ ไม่ ว่ น
ุ วาย
 หลีกเลีย
่ งลักษณะก้มๆเงยๆอ่านบท

บทบาททางวาจา (Verbal Action)
บทบาททางวาจาเป็ นบทบาทสาคัญเป็ นพิเศษ แนวทางในการแสดงบทบาททาง
วาจาของพิธีกร คือ
ใช้ ประโยคสั้นๆ เข้ าใจง่ าย
 ใช้ ถ้อยคาสานวนแบบบรรยายโวหาร ไม่ ใช่ แบบพรรณนาโวหาร
 กล่ าวไปตามบท (ทีเ่ ตรี ยมไว้ ) ไม่ กล่ าวนอกบท หรื อพูดพล่ ามเพ้ อเจ้ อ
 ไม่ มข
ี ยะของถ้ อยคา เช่ น นะครับ นะคะ นะฮะ มากเกินไป ไม่ พูดเอ้ออ้า อึกอัก ไม่ พูด เนี่ย
 หลีกเลีย
่ งการใช้ ถ้อยคาประเภทเสียดสี กระทบกระเทียบเปรียบเปรย เผ็ดร้ อน เหยียดหยาม ประชดประชัน
หยาบโลน สองแง่ สองง่ าม คาผวนไม่ สุภาพ คายกตนหรืออวดตน คาตลกคะนอง คาสั พยอกหยอกล้อ หรือ
ถ้ อยคาทีท่ าให้ ผู้ฟังรู้ สึกขาขัน

รู ปแบบการพูดของพิธีกร (บนเวที)
การพูดของพิธีกร มีท้ งั การพูดในรูปแบบ และการพูดไม่ มีรูปแบบ
การพูดในรูปแบบ หมายถึง เป็ นถ้ อยคาสานวนที่พธิ ีกรต้ องพูด เพราะเป็ นแบบเช่ นนั้น











การพูดไม่ มีรูปแบบ หมายถึง ถ้ อยคาทั่วไปที่พธิ ีกรจะนามาพูดหรือไม่ นามาพูดก็ได้
และเวลาพูดจะเรียบเรียงถ้ อยคาอย่ างไรก็ได้ ตามความเหมาะสม
สาระสาคัญที่พธิ ีกรต้ องพูด คือ
คาปฏิสันถาร
ชื่อพิธีการ
ผู้จัดให้ มีขนึ้ ซึ่งพิธีการ
วัตถุประสงค์ ของพิธีการ
ผู้ทาหน้ าที่ประธานในพิธี
คากล่ าว “เปิ ดประชุม” และคากล่ าว “ปิ ดประชุม” (บางพิธีหรือบางโอกาส)
แจ้ งรายการภาคพิธีการ (บางงานหรือบางโอกาส)
การกล่ าวแนะนาบุคคล (บางงานหรือบางโอกาส)
การกล่ าวเชิญบุคคลขึน้ ปฏิบัตหิ น้ าที่บนเวทีตามรายการ หรือกาหนดการ
การกล่ าวสรุป (บางงานและบางโอกาส)
การกล่ าวขอบคุณ (บางงานและบางโอกาส)







การแนะนาบุคคล
การแนะนาบุคคลเป็ นบทบาทสาคัญอย่ างหนึ่งของพิธีกร งานบางงานมีบุคคลสาคัญ
มาร่ วมงาน ถ้ ามีการแนะนาเท่ ากับเป็ นการให้ เกียรติพเิ ศษ บางงานเป็ นหน้ าที่ของพิธีกรเป็ นผู้
แนะนา บางงานพิธีกรอาจจะกาหนดหรือตกลงให้ ผู้อนื่ เป็ นผู้แนะนา
บางงาน หากขาดการแนะนาผู้ร่วมโต๊ ะประธานในพิธี ก็ดูจะทาให้ งานขาดความสาคัญ
หรือขาดความศักดิ์สิทธิ์ หรือขาดบรรยากาศที่ดไี ป อย่ างไรก็ตาม มิได้ หมายความว่ าจะต้ องมี
การแนะนาบุคคลดังกล่ าวทุกงานไปก็หาไม่
แนวทางการแนะนาบุคคล
กล่ าวถึงความเป็ นมาของพิธีการ หรือกิจกรรมอันเป็ นเหตุให้ มีการเชิญบุคคลที่จะแนะนา
เป็ นความสาคัญหรือความยากง่ ายของโอกาสเชิญ (ส่ วนมากเน้ นว่ าเชิญได้ ยาก)
กล่ าวถึงความสั มพันธ์ ของกิจกรรมหรือพิธีการกับผู้ที่ได้ รับการแนะนา
แนะนาเอกลักษณ์ หรือลักษณะเด่ น (ที่ด)ี ของผู้ที่ได้ รับการแนะนา
แนะนารู ปแบบหรือแนวทางบทบาทของผู้ได้ รับการแนะนา เช่ น เทคนิค หรือแนวทางการ
บรรยาย หรือการแสดง
แนะนาวุฒิการศึกษา ตาแหน่ งหน้ าที่การงาน ประสบการณ์ ผลงานหรือความสาเร็จที่ภูมิใจ
แนะนายศ นาม-นามสกุล ในตอนท้ าย พร้ อมกับกล่ าวเชิญ
เทคนิคการสรุ ป
การกล่ าวสรุปเป็ นสิ่ งสาคัญอย่ างหนึ่งของพิธีกรในบางงานหรือบางพิธีการ เช่ น
งานเกีย่ วกับการบรรยาย หรือการอภิปรายทางวิชาการ แต่ การสรุปอาจจะเป็ นดาบสอง
คม คืออาจจะเกิดผลดี หรือผลเสี ยต่ อกิจกรรม หรือต่ อพิธีการ หรือพิธีกรผู้สรุปก็ได้
ขึน้ อยู่กบั หลักเกณฑ์ หรือศิลปะการสรุ ปของผู้สรุ ป
การสรุ ป มิได้ หมายความว่ าต้ องมีทุกงาน หรือทุกรายการ แล้ วแต่ ลกั ษณะของ
งาน ซึ่งพิธีกรจะต้ องใช้ ดุลยพินิจตามความจาเป็ น หรือตามความเหมาะสม
ลักษณะของการสรุปทีด่ ี
 การสรุ ป ไม่ ใช่ การบรรยายซ้ อนบรรยาย
 สรุ ปด้ วยการเสริมแนวคิดให้ สมบูรณ์ หรือเข้ มข้ นยิง่ ขึน
้
 สรุ ปด้ วยการยกตัวอย่ าง อุทาหรณ์ อุปมาอุปมัย ให้ เห็นประเด็นเด่ นชั ดยิง่ ขึน
้
 สรุ ปโดยการตอกยา้ จุดเด่ น หรือประเด็นสาคัญ
 สรุ ปด้ วยสโลแกน หรือคาคม คาขวัญ
ศิลปะการกล่ าวขอบคุณ
ในงาน หรือพิธีการบางอย่ าง ตามกาหนดการของงาน อาจจะกาหนดให้ มกี าร
กล่ าวขอบคุณบุคคล การกล่ าวขอบคุณทีด่ เี ป็ นการแสดงมรรยาททีด่ ี และเป็ นที่
ประทับใจผู้รับการขอบคุณ ในการกล่ าวขอบคุณบางกรณีหรือบางงานพิธี พิธีกรอาจจะ
ต้ องกล่ าวด้ วยตนเองในนามของผู้ร่วมงาน ในนามของหน่ วยงาน หรือในนามของ
เจ้ าของงาน หรืออาจจะเชิญบุคคลใดบุคคลหนึ่งขึน้ มากล่ าวขอบคุณก็ได้
แนวทางการกล่ าวขอบคุณ
 กล่ าวทักผู้รับการขอบคุณเพียงผู้เดียว
 อาการกล่ าว หรือถ้ อยคาทีก
่ ล่ าว ให้ รู้ สึกว่ ากล่ าวกับผู้รับการขอบคุณเท่ านั้น
 แสดงความรู้ สึกว่ าได้ รับเกียรติทไี่ ด้ รับมอบหมายให้ เป็ นผู้กล่ าวขอบคุณ
 กล่ าวถึงความประทับใจทีม
่ ตี ่ อบทบาทของผู้รับการขอบคุณ
 ลงท้ ายด้ วยข้ อความ “ในนามของ........”
 ไม่ ควรชั กชวนให้ ปรบมือ (หากปรารถนาจะให้ มก
ี ารปรบมือ พิธีกรจะต้ องมีศิลปะลง
ท้ ายคาขอบคุณด้ วยถ้ อยคาทีท่ าให้ ผ้ ูฟัง หรือผู้ร่วมพิธีอยากปรบมือเอง หรือพิธีกร
อาจจะใช้ วธิ ีปรบมือนาขึน้ ก่ อน)
Thank you