Cloud - WordPress.com

Download Report

Transcript Cloud - WordPress.com

Cloud Computing
By Apple
ทำไมต้ องเป็ นCloud
สาเหตุที่มีชื่อว่า Cloud Computing
ก็มาจากสัญลักษณ์รูปเมฆ(Cloud)ที่เรา
ใช้แทนเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต ลองดู
ตัวอย่างได้จากโปรแกรม Microsoft
Visio
อย่างเวลาเราจะวาดแผนผัง
เครื อข่าย
สัญลักษณ์ของเครื อข่าย
อินเตอร์เน็ตก็คือรู ปเมฆ
นิยำมของคลำวด์ คอมพิวติง้
คลาวด์คอมพิวติ้ง เป็ นลักษณะของระบบคอมพิวเตอร์
ที่อยูใ่ นรู ปแบบของการระจายตามพื้นที่ต่างๆ มีการ
เชื่อมต่อกันเป็ นระบบคลัสเตอร์ (Cluster Net
work) ผ่านการจัดสรรทรัพยากรด้วยเทคโนโลยี
เวอร์ชวลไลเซชัน่ (Virtualization) เพื่อให้
ตอบสนองงานบริ การต่างๆ ให้รองรับกับจานวน
ผูใ้ ช้งาน
อีกนิยามหนึ่งของคาว่า คลำวด์ คอมพิวติง้ (Cloud Com
puting)
• นิยามที่สามารถเข้าใจได้ง่ายๆของคาว่า การประมวลผลบนก้อนเมฆ หรื อ Cloud c
omputing ที่น่าจะทาให้เข้าใจได้เร็ วที่สุดคือ
“เป็ นการเอาระบบสารสนเทศของบริ ษทั ไปติดตั้ง หรื อโฮสต์บนอินเทอร์เน็ตโดยมีองค์กร
ภายนอก (Third Party)
เป็ นผูจ้ ดั เตรี ยมทรัพยากรคอมพิวเตอร์และดูแลระบบสารสนเทศของลูกค้าที่ได้นามาติดตั้ง
”
แนวโน้ มกำรใช้ งำน Cloud Computing
1) แนวโน้มการใช้งานเว็บ 2.0
2) ความต้องการประสิ ทธิภาพทางด้านการประหยัดพลังงาน
3) แนวโน้มความต้องการนวัตกรรมต่างๆในทางธุรกิจปัจจุบนั
บริ ษทั ต่างๆ
4) ปริ มาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา
ลักษณะเด่ นของระบบคลำวด์
• Capital expenditure: ประหยัดงบประมาณในการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานด้านไอที
• Device and location independence: ไม่จากัด
สถานที่ในการใช้งานและอุปกรณ์ แค่สามารถออนไลน์เข้าอินเทอร์เน็ตได้กส็ ามารถใช้งาน
คลาวด์คอมพิวติ้งได้เลย
• Multi-tenancy: กลุ่มผูใ้ ช้งานมีความต้องการการใช้งานไม่เท่ากัน ทาให้
ประหยัดในการลงทุนเพื่อจัดซื้ ออุปกรณ์ในการใช้งานในคลาวด์คอมพิวติ้ง
• สามารถจัดการหรื อปรับเปลี่ยนระบบได้ง่าย (Sustainability) เพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิ ภาพในการใช้งาน (Performance) หรื อประหยัดการใช้งาน
ทรัพยกรต่างๆ โดยไม่ตอ้ งใช้วิศวกรที่มีความสามารถสู ง ลดภาระด้านการจ้างบุคคล
ลักษณะเด่ นของระบบคลำวด์
• ระบบคลาวด์คอมพิวติ้งจะทาให้ตวั เองกลายเป็ นระบบการทางานต่อเนื่องได้ตลอดเวลา แม้
เครื่ องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายจะล่มไปบ้าง
• Scalability: ระบบคลาวด์ออกแบบให้รองรับการขยายตัวของระบบได้ง่าย
เพื่อรองรับปริ มาณและความต้องการของผูร้ ับบริ การ
• Security: มีระบบการรักษาความปลอดภัย เพื่อให้ผใู ้ ช้บริ การสามารถมัน่ ใจใน
การใช้งาน
• Maintainability: สามารถปรับปรุ งระบบหรื อซ่อมแซมได้ง่าย เพราะใช้
จัดการจากส่ วนกลางทั้งหมด
ส่ วนประกอบของคลำวด์ คอมพิวติง้
• Client: อุปกรณ์สาหรับเข้าใช้งานคลาวด์คอมพิวติ้ง เช่น Mobile, Thin Client
• Services: บริ การต่างๆที่เปิ ดให้บริ การบนคลาวด์คอมพิวติ้ง เช่น Web service
• Application: บริ การ Software ต่างๆ ที่เปิ ดให้ใช้งานบนคลาวด์ โดยที่ผใู ้ ช้บริ การไม่จาเป็ นต้องลง
Software ไว้บนเครื่ องของตัวเอง อาจมีการใช้งานรวมกับ Services ด้วย
• Infrastructure: โครงสร้างพื้นฐานที่รองรับกับระบบคลาวด์ โดยใช้ร่วมกับเทคโนโลยีเวอร์ชวล
ไลเซชัน่ (Virtualization)
• Platform: เลือกเทคโนโลยีที่จะนามาใช้งาน โดยอาจจะเลือกจาก Open Source หรื อ Open System
ที่มีหลากหลายในท้องตลาด
• Storage: เป็ นปัจจัยหลักในการให้บริ การ โดยอาจจะให้บริ การพื้นที่จดั เก็บข้อมูล หรื อรวมไปถึง
การให้บริ การด้านระบบฐานข้อมูลด้วย
• Standard: ระบบคลาวด์เป็ นระบบที่สร้างจาก Open Source หรื อ Open System เป็ นหลัก ควรเลือก
standard ต่างๆที่สามารถปรับเปลี่ยน หรื อโยกย้ายได้ง่าย
ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องกับระบบคลำวด์ คอมพิวติง้
• Provider (ผูใ้ ห้บริ การ): ผูด้ ูแลและจัดการระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง
• User (ผูท้ ี่เข้ามาใช้การบริ การ): เป็ นผูเ้ ช่าใช้ระบบอย่างเดียว
• Vendor (เจ้าของผลิตภัณฑ์): ผูท้ ี่จาหน่ายระบบโครงสร้างต่างๆ ที่ออกแบบมา
เพื่อใช้งานกับคลาวด์คอมพิวติ้งโดยเฉพาะ
Cloud Computing กับควำมปลอดภัย
(Security)
• ในประเด็นเรื่ องความปลอดภัยนั้น อันที่จริ งในเชิงเทคนิคลูกค้าหรื อผูใ้ ช้บริ การสามารถทาได้
ในระดับหนึ่ง เช่น การทา Virtualization โดยลูกค้ามีสิทธิ์ เต็มที่ใน
ลักษณะของผูด้ ูแลระบบเพื่อการกาหนดความปลอดภัยให้กบั เครื่ อง หรื อ Virtual
Machine ของตน, การใช้ระบบแจ้งเตือนเมื่อมีผดู ้ ูแลระบบพยายามดูขอ้ มูลของ
ลูกค้า และการ Monitoring ทั้งห้อง data center จนถึงขั้น
capture หน้าจอ admin
ประเภทของระบบกำรประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
ระบบกำรประมวลผลแบบกลุ่มเมฆแบบส่ วนตัว (Private Cloud) ระบบที่มี
การใช้งานเฉพาะภายในองค์กรหรื อหน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่งเท่านั้น
ระบบกำรประมวลผลแบบกลุ่มเมฆแบบสำธำรณะ (Public Cloud) ระบบที่มี
การใช้งานแบบสาธารณะ ที่ซ่ ึ งบุคคลโดยทัว่ ไปสามารถเข้าถึงบริ การเหล่านั้นผ่าน
อินเตอร์เน็ตได้ทนั ที อาทิ Google Doc, Windows Office
Live, Amazon Web Service เป็ นต้น
ระบบกำรประมวลผลแบบกลุ่มเมฆแบบผสม (Hybrid Cloud) ระบบที่ทาหน้าที่
เชื่อมโยงการใช้งานระหว่างระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆแบบส่ วนตัวและแบบ
สาธารณะ เข้าด้วยกันเพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
สถำปัตยกรรมกำรให้ บริกำรของระบบกำรประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
1. ซอฟต์แวร์ในรู ปแบบของบริ การ (Software as a Service (S
aaS)
2. แพลตฟอร์มในรู ปแบบของบริ การ (Platform as a Service (
PaaS)
3. โครงสร้างพื้นฐานในรู ปแบบของบริ การ (Infrastructure as a S
ervice (IaaS)
เปรียบเทียบข้ อดี ข้ อเสี ย ของCloud Computing
ข้ อดี
1.ลด ต้นทุนค่าดูแลบารุ งรักษาเนื่องจากค่าบริ การได้
รวมค่าใช้จ่ายตามที่ใช้งาน จริ ง เช่น ค่าจ้างพนักงาน
ค่าซ่อมแซม ค่าลิขสิ ทธิ์ ค่าไฟฟ้ า ค่าน้ า ค่าน้ ามัน
เชื้อเพลิง ค่าอัพเกรด และค่าเช่าคู่สาย เป็ นต้น
2.ลดความเสี่ ยงจากการเริ่ มต้นหรื อทดลองโครงการ
3.มีความยืดหยุน่ ในการเพิ่มหรื อลดระบบตามความ
ต้องการ
4.ได้เครื่ องแม่ข่ายที่มีประสิ ทธิภาพ มีระบบสารอง
ข้อมูลที่ดี มีเครื อข่ายความเร็วสูง
5.มีผเู้ ชี่ยวชาญดูแลระบบและพร้อมให้บริ การ
ช่วยเหลือ 24 ชัว่ โมง
ข้ อเสี ย
1.เนื่อง จากเป็ นการใช้ทรัพยากรที่มาจากหลายที่
หลายแห่งทาให้อาจมีปัญหาในเรื่ องของ ความ
ต่อเนื่องและความเร็วในการเข้าทรัพยากรมากกว่า
การใช้บริ การ Host ที่ Local หรื ออยูภ่ ายในองค์การ
ของเราเอง
2.ยังไม่มีการรับประกันในการทางานอย่างต่อเนื่อง
ของระบบและความปลอดภัยของข้อมูล
3.ความไม่มีมาตรฐานของแพลทฟอร์ม ทาให้ลูกค้า
มีขอ้ จากัดสาหรับตัวเลือกในการพัฒนาหรื อติดตั้ง
ระบบ
Cloud Computing VS Apple
สถำปัตยกรรมกำรให้ บริกำรของระบบกำรประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
ซอฟต์แวร์ในรู ปแบบของบริ การ (Software as a Service (SaaS)
• Mail (จดหมาย)
• Contact (เบอร์โทรศัพท์)
• Calendar (ปฏิทิน)
• Reminders (กาหนดการต่างๆ )
• Bookmarks (บันทึกwebsite สาคัญ)
• Notes (เอกสารที่จดไว้)
• Photo Stream (รู ปภาพ)
• Document & Data (เอกสารการทางาน และ ข้อมูล)
• Find My iPhone (พิกดั ต่างๆ) *** ในกรณี เครื่ องหาย
สถำปัตยกรรมกำรให้ บริกำรของระบบกำรประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
แพลตฟอร์มในรู ปแบบของบริ การ
(Platform as a Service (PaaS)
- iOS 5
โครงสร้างพื้นฐานในรู ปแบบของบริ การ
(Infrastructure as a Service (IaaS)
An Illustrated History of Apple
History of the Apple Logo
โลโก้ นิวตัน: ปี 1976-1976
โลโก้ Apple อันแรกออกแบบในปี 1976
โดยโรนัลด์ เวนน์ (หนึ่งในผูร้ ่ วมก่อตั้ง Apple)
โลโก้เป็ นภาพของเซอร์ ไอแซค นิวตันที่นงั่ อยูใ่ ต้
ต้นไม้ และมีผลแอ๊ปเปิ้ ลห้อยอยูเ่ หนือหัวของเขา ใน
กรอบเล็กๆของรู ป เขียนไว้วา่ "นิวตัน...จิตที่ท่อง
ไปในกระแสแห่งความคิดอันประหลาดตลอดกาล..
.ตามลาพัง"
History of the Apple Logo
โลโก้ สำยรุ้ ง: ปี 1976-1998
โลโก้นิวตันอยูไ่ ด้ไม่นานนัก เมื่อร็ อบ จานอฟ
ออกแบบโลโก้ให้ทนั สมัยขึ้น ส่ วนเรื่ องรอย
กัดที่อยูบ่ นโลโก้น้ นั มีเอาไว้เพื่อให้คนไม่
เข้าใจผิดว่าโลโก้น้ ีเป็ นรู ปมะเขือ
เทศ นอกจากนี้ คาว่ากัด (bite) นั้นยังเป็ น
การเล่นคาให้พอ้ งกับคาว่า byte ซึ่ งเป็ นคา
แสลง แปลว่า บริ ษทั ที่ทาธุรกิจเกี่ยวกับ
เทคโนโลยี
History of the Apple Logo
โลโก้โมโนโครม: ปี 1998 ปัจจุบัน
เมื่อสตีฟ จอบส์ กลับเข้ามาทางานที่ A
pple ในปี 1997 เป็ นช่วงที่
บริ ษทั ไปได้ดี มีเงินไหลมาเทมา จอบส์
และคณะเล็งเห็นว่า โลโก้ Apple นี้
สามารถสร้างข้อได้เปรี ยบให้บริ ษทั ได้
พวกเขาจึงลองเปลี่ยนโลโก้ให้มีขนาด
ใหญ่ข้ ึนเพื่อให้มนั ดูสะดุดตา
ทาไมต้องเป็ น iCloud
iCloud จะเป็ นตราสิ นค้าหรื อคาเรี ยกบริ การของ Apple ที่มีการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าแล้ว
และเป็ นผูถ้ ือสิ ทธิ์ห้ามบุคคลอื่นนาไปใช้ซ้ าอีกตามระยะเวลาที่ระบุไว้
:: รู้จักกับ iCloud และ iCloud API ::
ข้อควรรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับบริ การ iCloud ของแอปเปิ ลมีดงั นี้
เป็ นบริ การสาหรับจัดเก็บข้อมูล ให้บริ การโดยแอปเปิ ล
• ข้อมูลนั้นจะต้องเป็ นข้อมูลของผูใ้ ช้ หรื อ User Data
• ต่างจากบริ การ Cloud ของบริ ษทั อื่นๆ ตรงที่ iCloud API จะต้องเรี ยกใช้งาน
จากโปรแกรมที่ลงบน อุปกรณ์ iOS เราไม่สามารถเขียนโปรแกรมจากที่อื่นเข้ามาเรี ยกใช้งานได้
• เป็ นบริ การฟรี ผูใ้ ช้แต่ละคนจะมีพ้นื ที่จดั เก็บข้อมูล 5GB (คาดว่าจะสามารถจ่ายเงินเพื่อเพิ่ม
เนื้อที่ได้ในอนาคต)
• พื้นที่ 5GB นี้แชร์ร่วมกันหมดสาหรับทุกโปรแกรม
• ตามเอกสารของแอปเปิ ล ผูใ้ ช้สามารถเข้ามาลบไฟล์ต่างๆ ใน iCloud ได้เอง คาดว่าน่าจะมี
หน้าเว็บสาหรับจัดการข้อมูลเองได้
• iCloud Service จะทางานเป็ น Background Process
บนอุปกรณ์ iOS สามารถเปิ ด/ปิ ดได้
บริ การ iCloud จะแบ่งการเก็บข้อมูลของเราเป็ น 2
ประเภท
• ไฟล์เอกสารต่างๆ (Document Storage) ไม่วา่ จะเป็ นรู ป วิดีโอ
ไฟล์พรี เซ็นเทชัน่ ไฟล์ PDF ทั้งหมดถือว่าเป็ นไฟล์เอกสาร ขนาดของไฟล์ไม่จากัด
• สถานะของโปรแกรม (Key-Value Data Storage) เช่น
ตอนนี้เราเล่นเกมส์ Angry Bird ไปถึงด่านที่ 5 มีนกเหลืออยู่ 2 ตัว และ
หมูที่ยงั ไม่ตายอีก 1 ตัว เป็ นต้น ขนาดของข้อมูลต้องไม่เกิน 10 กิโลไบต์
รู้จักกับ iCloud สุ ดยอด Cloud App ที่เกิดมำ
เพือ่ ปวงชนชำว Apple!
iCloud นั้นอย่างที่รู้ๆกันก็คือ มันมีมาพร้อมกับ iOS 5
อยูแ่ ล้ว
กำรใช้ งำน iCloud ผ่ ำน Browser
กำรใช้ งำน iCloud ผ่ ำน iOS device
กำรใช้ งำน iCloud ผ่ ำน Mac OS X Lion 10.7.2
iReview : วิธีใช้ งำน iCloud Feature ใหม่ สำหรับ iOS 5!
หน้าจอ Login on www.icloud.com
หน้าจอหลักเมื่อเราเข้าไปที่เว็บไซต์ iCloud.com ก็จะให้เรา Sign In
เข้าระบบก่อน เมื่อเข้ามาแล้วก็จะเจอกับ iCon ของ Mail, Contacts
, Calendar, Find My iPhone, iWork ครับ
ในส่ วนของ Mail จะเปิ ดให้ใช้สาหรับ E-mail ของ
@Me.com เท่านั้นนะครับ
การจัดการข้อมูลของอีเมลล์กส็ ามารถทาได้เหมือน E-mail
ปกติครับ
สามารถเขียนข้อความพร้อมส่ งไปยัง E-mail ที่เราต้องการ
ได้
ต่อไปเป็ นส่ วนของ Contacts เมื่อเข้าไปก็จะเจอ รายชื่อผู ้
ติดต่อของเราทั้งหมดที่อยูใ่ นเครื่ องเรา
สามารถเพิ่มและแก้ไข Contact ได้เลย โดยจะปรับปรุ ง
ข้อมูลในตัวเครื่ องทันที
ในส่ วนของ Calendar ก็สามารถเพิ่ม Event ใน
iCloud ได้โดยจะเชื่อมกับเครื่ องเหมือนกัน
และ Find My iPhone ตัวนี้เป็ นตัวที่เราจะ
สามารถค้นหาเครื่ องของเราว่าอยูท่ ี่ไหนได้ครับ
สามารถส่ งข้อความพร้อมเสี ยง และสัง่ Lock หน้าจอได้อีก
ด้วย
สุ ดท้าย iWork ซึ่งต้องเสี ยเงินในทุกๆ Feature ตัว
ละ 9.99$ ครับ
สาหรับอุปกรณ์ Mobieสามารถเข้าไปตั้งค่าใน iDevice
ได้วา่ จะ Sync ข้อมูลกับ iCloud ตัวไหนบ้าง
“Innovation distinguishes between
a leader and a follower.”
นวัตกรรมแยกผู้นำกับผู้ตำมออกจำกกัน
Steve Jobs
ที่มา : http://www.apple.com/support/icloud/getstarted/