การพัฒนาบุคลิกภาพ โดย นายเกษม บาตรโพธิ์ ผู้อานวยการสถาบันการศึกษาและพัฒนาต่ อเนื่องสิ รินธร ประวัติวทิ ยากร ชื่อ – สกุล : นายเกษม บาตรโพธิ์ วัน เดือน ปี เกิด : 22 กุมภาพันธ์ 2506 การศึกษา : ประถมศึกษา.
Download
Report
Transcript การพัฒนาบุคลิกภาพ โดย นายเกษม บาตรโพธิ์ ผู้อานวยการสถาบันการศึกษาและพัฒนาต่ อเนื่องสิ รินธร ประวัติวทิ ยากร ชื่อ – สกุล : นายเกษม บาตรโพธิ์ วัน เดือน ปี เกิด : 22 กุมภาพันธ์ 2506 การศึกษา : ประถมศึกษา.
การพัฒนาบุคลิกภาพ
โดย
นายเกษม บาตรโพธิ์
ผู้อานวยการสถาบันการศึกษาและพัฒนาต่ อเนื่องสิ รินธร
ประวัติวทิ ยากร
ชื่อ – สกุล : นายเกษม บาตรโพธิ์
วัน เดือน ปี เกิด : 22 กุมภาพันธ์ 2506
การศึกษา : ประถมศึกษา ที่ โรงเรียนวัดรวงคุรุรัฐประชาสามัคคี
มัธยมศึกษาตอนต้ น ที่ โรงเรียนหนองงูเหลือมพิทยาคม
มัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ โรงเรียนโนนสู งศรีธานี
ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสู ง(การประถมฯ) ทีว่ ทิ ยาลัยครู
นครราชสี มา
ปริญญาตรี(อุตสาหกรรมฯ) วิทยาลัยครูนครราชสี มา
ปริญญาโท ( บริหารการศึกษา) ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ประสบการณ์ ทางาน
พ่อค้า ขาย มีด จอบ เสี ยม
พนักงานโรงแรม เล่นตลก เล่นลิเก ชกมวย
ทานา ทาไร่ ปอ ทาไร่ มน
ั สาปะหลัง
ทหารเกณฑ์ผลัด 2 ค่ายภาณุ รังษี จ.ราชบุรี
ครู อาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรี ยน 9 ปี
วิทยากรบรรยายเรื่ องต่างๆ เช่น การทางานเป็ นทีม จิตวิทยาผูใ้ หญ่
ชีวติ กับการทางาน พิธีกรพิธีการ การใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ อยูด่ ี
มีสุขตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ครู กศน.มืออาชีพ ฯลฯ
หน้ าที่ราชการ
ข้าราชการครู ศนจ.นครพนม (4 ปี )
รก.หน.ศบก.เมืองยาง จ.นครราชสี มา (4 เดือน )
หน.ศบอ.สุ วรรณคูหา จ.หนองบัวลาภู ( 1ปี )
หน.ศบอ.พระทองคา จ.นครราชสี มา (6 ปี )
ผอ.กศน.อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสี มา ( 5 ปี )
ผอ.กศน.อาเภอขามสะแกแสง จ.นครราชสี มา ( 2ปี )
ปั จจุบน
ั ผอ.สถาบันบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิ รินธร
ความหมาย ….
บุคลิกภาพหมายถึง …
ผลรวมในพฤติกรรมเฉพาะตัวของ
บุคคลทั้งด้ านร่ างกาย อารมณ์ สั งคม
และสติปัญญา ทีแ่ สดงออกให้ ผู้อนื่ เห็น
และเข้ าใจ
ประเภทของการพัฒนาบุคลิกภาพ
1. การพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย
2. การพัฒนาบุคลิกภาพทางวาจา
3. การพัฒนาบุคลิกภาพทางอารมณ์
มาดต้ องตา
วาจาต้ องใจ
ภายในเป็ นเยีย่ ม
เปี่ ยมใจก่ อนจาก
การพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย
ความสะอาด การแต่ งกาย
การแต่ งกาย
เสื้อผ้ าเหมาะสมกับขนาดและลักษณะของร่ างกาย
เสื้อเชิ้ตแขนยาว ควรผูกไท
สี เสื้อ สี กางเกง
ความยาวของขากางเกง
ขนาด ลวดลาย สี สัน เนคไท
การแต่ งสูท
การแต่ งผ้ าไทย
เครื่องประดับ
ชิ้นเอกหนึ่งเดียว
ปากกาไม่ ควรเกิน 2
สร้ อยข้ อมือ
เข็มกลัดสาหรับสตรี
เข็มหรือเหรียญทีร่ ะลึก
การแต่ งเครื่องแบบ
กระโปรง เสื้อ (สตรี)
รองเท้ า ถุงเท้ า
เข็มขัด ป้ ายชื่อ
ตรากระทรวง
เครื่องหมาย
เหรียญที่ระลึก
การประดับเครื่องราชฯ
1. ชุดปกติ กากี คอพับและ
ปกติขาว
ให้ ประดับแพรแถบย่ อ
ตามที่ได้ รับพระราชทานมา
2. ชุดเต็มยศ
2.1 ชนิดติดหน้ าอก
2. ชุดเต็มยศ
2.2 ชนิดสวมคอ
ไม่ มีดารา
และมีดารา
2.3 สุ ภาพสตรี ประดับที่
หน้ าบ่ าซ้ าย มิใช่ หน้ าอก
การเข้ าสั งคม
-
การจับมือ
การมอบนามบัตร
การพูดโทรศัพท์ กบั ผู้อาวุโส
มารยาทในที่สาธารณะ
มารยาทในการชมการแสดง
การนั่งอย่ างเป็ นทางการ
การแต่งกาย
เนคไท
•ไม่ใช้กบั เสื้อแขนสัน้
•ไม่มีลายใหญ่ๆ
•ผูกให้ยาวถึงส่วนบนหัวเข็มขัด
การแต่งกาย
เสื้อเชิ้ต
•แขนยาว
•สีขาว หรือสีออ่ น
การแต่งกาย
สูท
•สูทธรรมดา
•เบลเซอร์
•กลัดกระดุมหรือไม่
การแต่งกาย
ผ้าไหม
•สีเสื้ออ่อนกว่าสีกางเกง
•ไม่ใส่เสื้อไหมแขนยาวในโอกาสธรรมดา
•ชุดไหม (สาหรับชาย)
การแต่งกาย
อืน่ ๆ
•เสื้อกล้าม
•ถุงเท้า
•กกน.
การสร้ างความประทับใจเมื่อแรกพบ
1. แต่ งกายดี
2. ทักทายด้ วยความจริงใจ
3. เรียกชื่อให้ ถูกต้ อง
4. ยิม้ แย้ มแจ่ มใส
การสร้ างความประทับใจเมื่อแรกพบ (ต่อ)
5. มีมารยาทในการสนทนา เช่ น
ไม่ พูดตัดบท
6. เป็ นนักฟังมากกว่ าพดู
7. มีมารยาทในการรับนามบัตร
มาตรฐานการต้ อนรับ
ยิม้ สบตา มองหน้ า ทักทาย
ยิม้ 3 อย่ างบาท
- มุมปาก
- สายตา
- ใบหน้ า
มาตรฐานการบริการ
สั มผัสที่เบิกบาน
+ บริการทีถ่ ูกต้ อง
จิตใจผู้รับบริการ
+
ประโยชน์ ผู้รับบริการ
ความพึงพอใจ
มาตรฐานการพูด
ใช้ ปิยวาจา คานึงถึงความร้ ูสึกผ้ อู ื่น
ไม่ ให้ ผู้อนื่
เสี ยหน้ า
เสี ยหาย
เสี ยใจ
เสี ยความรู้สึก
มารยาทในการรับโทรศัพท์
* กล่ าวคาว่ า “สวัสดี”
* อย่ าให้ ผ้ ใู หญ่ รอสาย
* ต้ องทราบข้ อมูลหน่ วยงานชัดเจน
*
*
*
*
อย่ าโอนเกิน 2 ครั้ ง
อย่ าเรี ยกใครว่ า ลงุ ป้ า น้ า
อย่ าวางหูก่อนผ้ ใู หญ่
อย่ าโทร. 11.45 น.
สมบัติผู้ดี 4 ก่ อน
ชายย่ อมทักหญิง
ก่ อน
ผ้ เู ห็นก่ อนย่ อมเป็ นผ้ ทู กั ก่ อน
ผ้ ลู าย่ อมเป็ นผ้ เู คารพ ก่ อน
ผ้ นู ้ อยย่ อมเคารพผ้ ใู หญ่ ก่ อน
มารยาทในการรับประทานอาหาร
- บุฟเฟ่ ต์
- โต๊ ะจีน
- มารยาทในการรับประทานอาหารทั่วไป
มารยาทในการรับประทานอาหาร
ไม่ เข้ าไปนั่งก่ อนผู้ใหญ่ และสตรี
ไม่ โยกเก้ าอี้
ไม่ เท้ าคาง ไม่ กางศอก
แก้ วนา้ อยู่ทาง…….
ขนมปัง อย่ ูทาง…….
การทานกล้ วยหอมของสตรี
ไม่ ใช้ มีดตักอาหารเข้ าปาก
ผ้ าเช็ดมือ (ทาอย่ างไร)
อย่ าคนกาแฟ
อย่ าชิมกาแฟ
อย่ าทิง้ ช้ อนไว้ ในถ้ วย
อย่ าพลิกปลา
มารยาทในการรับประทานอาหาร แบบบุฟเฟ่ ต์
@ ลกุ ไปตักต่ อเมื่อมีการเชิญชวนแล้ ว
@ ให้ สตรี หรื อผ้ อู าวโุ สตักก่ อน
@ ต้ องตักด้ วยตนเอง ไม่ เผือ่ ผ้ อู ื่น
@ ตักให้ พอดี ตักได้ หลายรอบ
@ อาหารเป็ นชิ้น 1 คน ต่ อ 1 ชิ้น
มารยาทในการเข้ าร่ วมพิธี
วันเฉลิมพระชนมพรรษา (5 ธันวาคม)
นั่งตามชั้นยศ ไม่ นั่งตามวัย
ไม่ รับศีลเสียงดัง
ไม่ ประนมมือขณะพระสงฆ์ ถวายอดิเรก
หลักทักษิณาวัตร
เวียนทางขวา ถือว่ าเป็ นสิริมงคล
(เวียนตามเข็มนาฬิ กา หรื อเลข หนึ่ง
ไทย ๑)
ถ่ ายรูปกับผ้ ใู หญ่ ให้ ผ้ ใู หญ่ อย่ ขู วา
การประนมมือ
* ประนมมือในพิธีสงฆ์
ถ้ าลดมือในระหว่ างกลาง ให้ สารวม
* ไม่ ประนมมือขณะพระสงฆ์ ถวายอดิเรก
* ไม่ ประนมมือขณะพระสงฆ์ ทาอปุ โลกน์
การไหว้ 3 ระดับ
ระดับ 1 ไหว้ พระ
ระดับ 2 ไหว้ ผ้ ใู หญ่
ระดับ 3 ไหว้ คนเท่ ากัน
ระดับที่ 1 การไหว้ พระ
- ปลายนิว้ จรดส่ วนบนหน้ าผาก
- หรือ หัวแม่ มอื อยู่ระหว่ างคิว้
- ชาย ยืนค้ อมตัวลงให้ ตัวพร้ อมยกมือไหว้
- หญิง ย่ อเข้ า พร้ อมยกมือไหว้
ระดับที่2การไหว้ ผ้ มู ีพระคณุ / ผ้ สู ู งอายุ
- ปลายนิว้ อยู่ระหว่ างคิว้
- ชาย ยืนค้ อมตัวลงเล็กน้ อย
- หญิง ย่ อลง พร้ อมไหว้
ระดับที่3 การไหว้ บุคคลทัว่ ไป
- ประนมมือปลายนิว้ จรดจมูก
- ชาย ค้ อมตัวลงเล็กน้ อย
- หญิง ย่ อเข้ าลงเล็กน้ อย
พร้ อมไหว้
การกราบผูใ้ หญ่
- กราบครั้งเดียว
- นั่งพับเพียบ ทอดมือ 2 ข้ าง ลงพร้ อมกัน
- แขนทั้ง 2 ข้ าง คร่ อมเข่ าข้ างเดียว
- ประนมมือค้ อมตัวลง
- หน้ าผากแตะส่ วนบนของมือ
- ไม่ กระดิกนิว้ หัวแม่ มือรับหน้ าผาก
การประเคน
* นั่งหรือยืน แล้วแต่ สถานที่
* ยกให้ พ้นจากพืน้ ราว 1 คืบ
* น้ อมถวายด้ วยอาการเคารพ
* ไหว้ หรือกราบ แล้วแต่ สถานที่
การกรวดนา้
* ใช้ ที่กรวดน้า รินให้ เป็ นสาย
* อย่ าใช้ มือรองรับน้า
* เริ่มรินเมื่อพระสงฆ์ “ยะถา”
* รินหมดเมื่อพระสงฆ์ “สั พพี”
* คาอุทศิ “อิทงั เม ญาตินัง โหตุ สุ ขติ า
โหนตุ ญาตโย”
การแสดงความเคารพศพ
- ต้ องกราบพระพุทธรู ปก่ อน แล้ วจึงเคารพศพ
- เคารพศพพระ จุดธูป 3 ดอก กราบแบบ
เบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง
- ศพคฤหัสถ์ (อาวุโส) ธูป 1 ดอก กราบ 1 ครั้ง
- บุคคลทัว่ ไป(เสมอกัน) ไหว้ ระดับ 3
(ปลายนิว้ จรดจมูก)
- ศพเด็ก ให้ ยนื สงบนิ่ง สารวมครู่ หนึ่ง
ประธานในพิธีสวดพระอภิธรรม
มีขั้นตอน ดังนี้
1. จุดธูปเทียน บูชาพระพุทธ กราบ 3 ครั้ง
2. จุดธูปเทียน บูชาพระอภิธรรม กราบ 3 ครั้ง
3. จุดธูป 1 ดอก เคารพศพ
การทอดผ้ าบังสุกลุ
ไหว้ , คานับ
ศพพระให้ ไหว้ ระดับ 1
วางผ้ าทางขวาง
ยืนประนมมือ
ยังไม่ วางดอกไม้ จันทน์
ข้ อควรคานึงเกีย่ วกับโต๊ ะหมู่บูชา
1. ใช้ ดอกไม้ สด
2. ใช้ เทียนสี เหลืองในงานมงคล
3. ความสู งของธูป - เทียน
4. พระพุทธรู ปปางมารวิชัย
เหมาะในทุกงานพิธี
เป็ นประธานจุดธูปเทียน
1. รั บเทียนชนวน
จับให้ สูงกว่ ามือผ้ ยู นื่
2. จดุ เทียนเล่ มซ้ ายมือก่ อน
จึงจดุ เล่ มขวามือ แล้ วจึงจดุ ธูป
3. กราบด้ วยเบญจางคประดิษฐ์
- มีแท่ นกราบ
- ไม่ มีแท่ นกราบ
4. คานับ 1 ครั้ ง ตรงกลาง
ทั้งชาย หญิง ในและนอกเครื่ องแบบ
มารยาทในการประช ุม
- เข้ าประชุมให้ ตรงเวลา เลิกประชุมโดย
พร้ อมเพรียง
- ยกมือก่ อนพูดทุกครั้ง
- ไม่ ควรมีอารมณ์ ข่ ุนมัว ค้ านทุกเรื่อง
- หลีกเลีย่ งแสดงความคิดเห็นของตน หรือ
หมู่คณะเป็ นใหญ่
มารยาทในการประช ุม (ต่อ)
- เมือ่ ทีป่ ระชุ มไม่ ตกลง ไม่ เอาความคิด
ของตน อย่ าแสดงความไม่ พอใจ
- ยอมรับเหตุผล ข้ อเท็จจริง
- ยอมรับมติทปี่ ระชุ ม
- ถึงเวลาพักเที่ยง ไม่ ควรเสนอเรื่องใดๆ
ในทีป่ ระชุ ม
พิธีมงคลสมรสแบบวัฒนธรรม
เครื่องพิธี ประกอบด้ วย
1. โต๊ ะหมู่บูชา
- ตกแต่ งพอสวยงาม
- หันหน้ าไปทางทิศใดก็ได้ ยกเว้ นทิศตะวันตก
- จัดกระถางธูป 3 ดอก
- เทียน 1 คู่
- หน้ าโต๊ ะปูผ้าสาหรับบ่ าว-สาวกราบ
2. ตั่งรดนา้
- ตกแต่ งพอสวยงาม
- หันหน้ าไปทางทิศใดก็ได้ ยกเว้ นทิศ
ตะวันตก
- หน้ าตั่งวางขันนา้ พานรองเปล่ า
- ห้ ามใช้ กระโถนรองรับนา้
3. โต๊ ะวางเครื่องพิธี
- ตั้งชิดตั่งรดนา้ ด้ านขวามือเจ้ าบ่ าว
- บนโต๊ ะจะวาง หม้ อนา้ มนต์ , สั งข์ รดนา้ ,
พานใส่
- มาลัยคู่,โถแป้ งกระแจะเจิมหน้ าบ่ าว-สาว,
ผ้ าเช็ดมือเล็กๆ
4. โต๊ ะของขวัญ
5. โต๊ ะเล็กตั้งของชาร่ วย
ขัน้ ตอนการดาเนินตามพิธี
1. จัดบ่ าว-สาว เข้ าสู่ ห้องพิธี นาตัวบูชาพระ
- บ่ าว-สาว จุดเทียนคนละเล่ ม
- บ่ าว-สาว จุดธูปพร้ อมกัน
- กราบพระพร้ อมๆ กัน 3 ครั้ง
2.
บ่ าว-สาว นั่งบนตั้งรดนา้
- หญิงนั่งซ้ าย ชายนั่งขวา
- ทั้งคู่วางมือลงบนทีร่ อง (หมอน)
- ฝ่ ามือประนมให้ พ้นจากที่รอง
- ก้มศรีษะ หมอบลงเล็กน้ อย
- เพือ่ นเจ้ าบ่ าว 2 คน ยืนหลังเจ้ าบ่ าว
- เพือ่ นเจ้ าสาว 2 คน ยืนหลังเจ้ าสาว
3.เริ่มพิธี
1. ประธานกราบหรือไหว้ พระรัตนตรัย
2. สวมพวงมาลัย
3. สวมมงคลคู่
4. รดนา้ พระพุทธมนต์
5. เจิมด้ วยหัวแม่ มือขวา
4. ขั้นตอนมงคล
- เมื่อแขกรดนา้ หมดแล้ว
- ประธานประกอบพิธีถอดมงคล
- ยืนตรงหน้ าบ่ าว-สาว
- มือทั้งสองจับมงคลบนศรีษะ
- กล่าวคาอวยพร แล้วยกมงคลขึน้ พร้ อมๆ กัน
- บ่ าว-สาว ลุกจากที่
- กราบทีโ่ ต๊ ะหมู่บูชา
- เสร็จพิธี
การกล่ าวอวยพร งานมงคลสมรส
ควรเริ่มต้ นด้ วย....
รู้ สึกเป็ นเกียรติทไี่ ด้ รับเชิญมากล่ าวอวยพร
กล่ าวถึงความสั มพันธ์ ของผู้พูด กับคู่สมรสฝ่ ายใด ฝ่ ายหนึ่ง
เน้ นถึงความดีงามของคู่สมรส
กล่ าวแสดงความยินดี ทีท่ ้งั สองได้ สมรสกัน
ให้ ข้อคิดในการครองเรือนของคู่สมรส
กล่ าวอวยพร ชักชวนดื่ม แสดงความยินดี
กล่ าวถึงความสั มพันธ์ ของเนือ้ หากับวิทยากร
กล่ าวถึงความสาคัญของวิทยากร
กล่ าวถึงลักษณะเด่ น หรือผลงานเด่ นๆ
แนะนาวุฒิการศึกษา หรือประสบการณ์ ทสี่ าคัญ
แนะนาชื่อ-สกุล ในตอนท้ ายพร้ อมกล่ าวเชิญ
อ่ านตามวิทยากรเขียนทุกตัวอักษร
อ่ านชื่อผิด เช่ น ราไพ อ่ านเป็ น อาไพ
พชร อ่ านเป็ น พะ-ชอน
อิสระเสนา อ่ านเป็ น อิ-สอน-สะ-เหนา
ไม่ ร้ ู ตาแหน่ งปัจจุบัน
หยิบด้ านลบมาแนะนา
ยกยอตัวเอง พร้ อมแนะนาวิทยากร
หันหน้ าไปทางผู้รับการขอบคุณ และกล่ าวทัก
กล่ าวถ้ อยทาทีใ่ ห้ ความรู้ สึกว่ ากล่ าวกับผู้รับขอบคุณเท่ านั้น
กล่ าวถึงความประทับใจ
ลงท้ ายด้ วย “ ในนามของ ”
ไม่ ชักชวนให้ ปรบมือ
การใช้ ไมโครโฟน
1. ห่ างจากปาก 4-6 นิว้
2. ปรับให้ ตรงระดับปาก
3. อย่ า...ถือ / เลือ่ นไมโครโฟนชิดปาก
การใช้ ไมโครโฟน (ต่ อ )
4. อย่ า...ก้ มตัวลงพูดกับไมโครโฟนตา่
5. อย่ า...เชิดหน้ าพูดกับไมโครโฟนสู ง
6. อย่ า...ทดสอบไมโครโฟนโดยการเคาะ,
ผิวปาก,ทาเสี ยงจุ๊ๆ,ถามว่ าได้ ยนิ ไหม
การใช้ ไมโครโฟน (ต่อ)
7. อย่ า...ตะโกนใส่ ไมโครโฟน
8. อย่ า...ลูบคลาไมโครโฟนเล่ น
9. อย่ า...หลุกหลิก/หันไปอธิบายด้ านอืน่
จนเสี ยงขาดหาย
การใช้ ไมโครโฟน (ต่ อ)
10. สร้ างความคุ้นเคยกับไมโครโฟน
11. ถ้ าจะลุก หรือเคลือ่ นทีค่ วรถือ
ไมโครโฟนไปด้ วย
12. ถ้ าเสี ยงเบา ให้ เลือ่ นไมโครโฟน
เข้ ามาชิดปากได้
พฤติกรรมที่ไม่พึงปฏิบตั ิ
ล้วง
แคะ
แกะ
เกา
พฤติกรรมที่ไม่พึงปฏิบตั ิ
ท้ าวคาง
ถ่ างขา
อ้ าปาก
ขาก/บ้ วน
“ความฝันไม่ มวี นั หมดอาย”ุ
ฝันให้ ไกล ไปให้ ถึง