การ จัด พิมพ์ สาร นิพนธ์ - คณะนิเทศศาสตร์
Download
Report
Transcript การ จัด พิมพ์ สาร นิพนธ์ - คณะนิเทศศาสตร์
รูปแบบการจัดพิมพ์สารนิพนธ์
สันปก
• ปกให้พิมพ์ชื่อเรื่ องบทสารนิพนธ์ ชื่อผูเ้ ขียน และ พ.ศ.เรี ยง
ตามลําดับ โดยจัดระยะห่างให้ เหมาะสมตามความยาวของสันปก
• ชื่อเรื่ องสารนิพนธ์ให้พิมพ์เฉพาะภาษาไทย หากชื่อเรื่ องมีความยาว
มากกว่า 1 บรรทัดให้พิมพ์ แบบปิ ระ มิดหงายชื่อผูท้ าํ สารนิพนธ์ให้
พิมพ์เฉพาะภาษาไทย โดยไม่ตอ้ งใส่ คาํ นําหน้าชื่อ (นาย นาง
นางสาว) ยกเว้นผูม้ ีฐานันดรศักดิ์ และยศทางทหารหรื อตํารวจ ปี
การศึกษาให้พิมพ์ปีที่ส่งสารนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
ตัวอย่าง
ปกนอก
• ปกนอกให้ใช้ปกแข็งสี น้ าํ เงิน พิมพ์ดว้ ยตัวพิมพ์สีทอง ฟอนท์ 18 หนา
• ข้อความส่ วนบน ประกอบด้วย ชื่อเรื่ องสารนิพนธ์ภาษาไทย
• ข้อความส่ วนกลาง ประกอบด้วย ชื่อและนามสกุลผูเ้ ขียนสารนิพนธ์ภาษาไทย
• ข้อความส่ วนล่าง ประกอบด้วย ข้อความดังนี้
สารนิพนธ์น้ ีเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา………………… คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม วิทยา
เขตชลบุรี
•
ปี การศึกษา 2554
ลิขสิ ทธิ์ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม วิทยาเขตชลบุรี
กระดาษรองปก
กระดาษรองปกใช้กระดาษขาวปราศจากข้อความใดๆ ทั้งสิ้ น มีท้ งั ปกหน้า
และปกหลัง
ปกในภาษาไทย
ปกในภาษาไทยข้อความเหมือนปกนอกทุกประการ
ใบรับรองสารนิพนธ์
คณะนิเทศศาสตร์จะเป็ นผูอ้ อกใบรับรองสารนิพนธ์ สําหรับวันที่สอบ
ผ่านคือวันที่ รองคณบดีคณะนิเทศศาสตร์ลงนามในใบรับรองบท
นิพนธ์
• บทคัดย่ อภาษาไทย
• บทคัดย่อภาษาไทยประกอบด้วยหัวข้อสารนิพนธ์ ชื่อนักศึกษา อาจารย์
ที่ปรึ กษาสารนิพนธ์ระดับการศึกษา คณะและปี การศึกษา
• กิตติกรรมประกาศ
เป็ นหน้าที่ผศู้ ึกษากล่าวขอบคุณชื่อบุคคลที่มีส่วนร่ วมให้ความ
ช่วยเหลือจน สารนิพนธ์สาํ เร็ จด้วยดีซ่ ึ งได้แก่ อาจารย์ที่ปรึ กษาสาร
นิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึ กษาสารนิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) และผูร้ ่ วมมือในการ ให้
ข้อมูล รวมทั้งแหล่งทุน (ถ้ามี)
• สารบัญ
สารบัญเป็ นหน้าที่แสดงเลขหน้าตามลําดับของส่ วนประกอบสําคัญในสาร
นิพนธ์โดยใช้อกั ษรโรมัน ตั้งแต้บทคัดย่อ จนถึงหน้าสารบัญและเริ่ มใช้เลข
อารบิคตั้งแต่เนื้อหาบทที่ 1 ไปจนถึงหน้า สุ ดท้ายของสารนิพนธ์ท้ งั เล่ม
• สารบัญตาราง (ถ้ ามี)
สารบัญตารางเป็ นรายการแสดงเลขหน้าตามลําดับของตารางต่างๆ รวมทั้ง
ตารางในภาคผนวกที่มีอยูใ่ นสารนิพนธ์น้ นั ด้วย
• สารบัญภาพ (ถ้ ามี)
สารบัญภาพเป็ นรายการแสดงเลขหน้าตามลําดับของรู ปภาพ รวมทั้งแผนที่
และกราฟ ทั้งหมดที่มีอยูใ่ นสารนิพนธ์
• ตาราง (ถ้ ามี)
ให้แทรกปนไปในแต่ละบทของตัวเนื้อเรื่ องที่มีความสัมพันธ์กนั โดยพิมพ์
คําว่า “ตารางที่” ตามด้วยลําดับตัวเลขไว้มุมซ้ายบรรทัดแรก แล้วพิมพ์
ชื่อตารางในบรรทัดเดียวกัน ถ้าชื่อตารางยาว มากกว่า 1 บรรทัดให้ข้ ึน
บรรทัดใหม่ตรงกับชื่อตาราง ตัวตารางห่างจากชื่อตาราง 1.5 ช่วง
บรรทัดส่ วนบรรทัดใต้ ตารางเป็ นคําอธิบายตาราง ให้พิมพ์ในหน้า
เดียวกัน ถ้าตารางมีความกว้างมากให้
• ย่อส่ วนลงแต่ตอ้ งอ่านได้ชดั เจน หรื อจะพิมพ์ตามแนวขวางของกระดาษ
ก็ได้ ถ้าตารางมีความยาวมาก จนไม่สามารถไว้หน้าเดียวกันได้ ให้พิมพ์
ตารางต่อในหน้าถัดไป โดยพิมพ์ตารางที่พร้อมระบุเลข ลําดับ ตามด้วย
(ต่อ) ไม่ตอ้ งใส่ ชื่อตาราง
ตารางที่ 10 คาเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของปญหาการบริ หารอาคารสถานที่ในภาพรวม
จําแนก ตามขนาดของโรงเรี ยน และที่ต้ งั ของโรงเรี ยน
จากตารางที่ 10
……..…………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
ภาพ (ถามี)
ภาพ หมายถึง รู ปภาพ แผนที่ แผนผัง สําหรับภาพถายที่นาํ มาอางอิงจากที่อื่นใหใช
ภาพถายอัดสําเนาบนกระดาษใหชัดเจนพรอมแจงแหลงที่นาํ มาตามรู ปแบบการ
อางอิงของเนื้อหาแตถาเปนภาพถายของผลการวิจยั ใหใชภาพจริ งทั้งหมดเปนภาพสี
หรื อภาพขาวดําใหใสหมายเลขลําดับ“ภาพที่” พรอมชื่อเชนเดียวกับตาราง แตให
พิมพไวใตภาพ เวนระยะหาง 1.5 ชวงบรรทัด
ตัวเนือ้ เรื่อง
ประกอบด้ วยบทต่ างๆ 5 บท
• บทที่ 1 บทนํา เป็ นส่ วนเริ่ มต้นของส่ วนเนื้อหาจะกล่าวถึง
ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของ
การศึกษา ความสําคัญของการศึกษา ขอบเขตของ
การศึกษา ระยะเวลาในการศึกษาและประโยชน์ที่คาดว่า
จะได้รับ เนื้อหาไม่ควรเกิน 4- 5 หน้า แต่ไม่นอ้ ยกว่า 2
หน้า
บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี และสารนิพนธ์ ที่เกีย่ วอ้ อง
• จะแบ่งออกเป็ นกี่ตอนกี่เรื่ องให้ดูตามความ จําเป็ นของเนื้อเรื่ อง ตอน
ใดต้องกล่าวถึงสิ่ งใดให้ปฏิบตั ิตามที่แต่ละหลักสูตรกําหนดไว้โดย
ต้องมีเอกสารอ้างอิง ประกอบสอดคล้องกับเนื้อหาให้น่าเชื่อถือและ
เป็ นเอกสารที่ทนั สมัย
ต้องเป็ นทฤษฎีที่ตรงกับเรื่ องของตนเอง เช่น สารนิพนธ์เกี่ยวกับการ
ผลิตรายการสารคดี ก็เลือกทฤษฎีเรื่ องรู ปแบบของรายการ ไม่ตอ้ งเอา
ประวัติของวิทยุโทรทัศน์มา
กําหนดไว้ หนังสื อ 3 เล่ม,สารนิพนธ์ 5 เล่ม ตั้งแต่ปี 49 ขึ้นไป
บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา
• ระเบียบวิธีการศึกษา ให้บรรยายขั้นตอนการดําเนินการศึกษาสาร
นิพนธ์ตามความเป็ นจริ งทุกๆประการ ไม่เกิน 3 หน้ากระดาษ
บทที่ 4 ผลการศึกษา
• ผลการศึกษา เสนอข้อมูล จะเป็ นรู ปตารางข้อมูลหรื อแผนภูมิ
หรื อกราฟ แล้วแต่ความเหมาะสม ของข้อมูลให้ครบถ้วนตาม
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ต้องจัดหมวดหมู่ของ ข้อมูลที่คน้ พบ
และวิเคราะห์ขอ้ มูล ไว้ใต้ตารางทุกตอน
• ex ศึกษากระบวนการผลิตสารคดี ต้องศึกษาทุกตอน วิเคราะห์
ทุกตอนที่ผลิตหรื อการเขียนข่าว ก็ตอ้ งศึกษาทุกข่าวที่เขียน
วิเคราะห์ทุกข่าว
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา ปัญหาอุปสรรคและอ้ อเสนอแนะ
• เป็ นบทสุ ดท้ายที่ผศู ้ ึกษาสรุ ปสาระสําคัญของการศึกษา โดยเขียนเป็ น
ความเรี ยงต่อเนื่อง ส่ วนข้อเสนอแนะผูศ้ ึกษาต้องเสนอแนะการนําผล
การศึกษาไปใช้เป็ นประโยชน์ รวมทั้งเสนอแนะเกี่ยวกับการเสนอแนะ
เกี่ยวกับการทําสารนิพนธ์เรื่ องต่อไป
การสรุ ปผลการศึกษา ไม่ควรเกิน 3 หน้า
บรรณานุกรม
เปนสวนสําคัญของสารนิพนธที่แสดงถึงการศึกษาคนควา ผูศึกษาตองรวบรวมสารสนเทศทุก
รายการมาเรี ยงลําดับไวเพื่อความนาเชื่อถือ
ภาคผนวก
ในสารนิพนธจะนําเอกสารที่เสริ มขอมูลใหสมบูรณขึ้น เชน แบบสอบถาม หนังสื อนําสง เพื่อ
เก็บขอมูล รวมทั้งตารางวิเคราะหความนาเชื่อถือ แบบสอบถาม มารวมไวที่ภาคผนวก โดยมี
หนาบอกตอน “ภาคผนวก” เหมือนบรรณานุกรม กรณี ที่มีเนื้อหามาก อาจแบงเปนภาคผนวก
ก , ข , … ตาม ความเหมาะสม และมีหนาบอกตอนคัน่ ทุกภาคผนวก โดยเริ่ ม “ภาคผนวก ก”
กอน
หมายเหตุ การนับเลขหนาใหนับหนาบอกตอนตอเนื่องจากเนื้อหาจนถึงหนาสุ ดทาย
• ประวัตผิ ้ ูเขียนสารนิพนธ์
เป็ นส่ วนสุ ดท้ายของงานสารนิพนธ์ ให้ลงรายการประวัติ
ของผูศ้ ึกษา
หมายเหตุ - ใหใชอักษรโรมันกํากับเลขหนาตัง้ แตหนาบทคัดยอ
ภาษาไทยถึงหนาสารบัญและใหใชเลขอารบิคกํากับเลขหนาตัง้ แต
หนาบทที่ 1 ถึงหนาประวัตผิ จู ดั ทําสารนิพนธในการเขียนภาษาอังกฤษ
ในเลมสารนิพนธใหใชลักษณะการเขียนเหมือนกันทัง้ เลมเชน ถาขึน้ ตน
ดวยตัวพิมพใหญตัวแรกคําตอไปใหขึน้ ดวยตัวพิมพใหญเหมือนกันทัง้
เลม เชน (Media)
หรือถาใชตัวพิมพเล็ก คํา ตอไปตองใชตัวพิมพเล็กเหมือนกันทัง้
เลม เชน (media)
รู ปแบบการเขียนอ้ างอิง
• รู ปแบบการอ้างอิงแทรกในเนื้อหา (ใช้บ่อย)
• การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหาใช้วงเล็บ โดยมีชื่อผูแ้ ต่ง ปี ที่พิมพ์ และ
เลขหน้าที่อา้ ง
• (ชื่อ / ชื่อสกุล, / ปี , / หน้าที่อา้ ง)
สําหรับภาษาไทย
• (วิจิตร ศรี สอ้าน, 2543, หน้า 15)
• (ชื่อสกุล, / ปี , / หน้าที่อา้ ง)
สําหรับภาษาอังกฤษ
• (McDonald, 2003, pp. 12-18)
การลงชื่อผู้แต่ ง
• 2.1 ผูแ้ ต่งคนไทย และผูม้ ีบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ ยศทางตํารวจและทหารและ
นักบวชให้เขียนตามปกติ
• 2.2 ผูแ้ ต่งชาวต่างประเทศให้ลงเฉพาะนามสกุล หากจะกล่าวถึงผูแ้ ต่งไปในเนื้อหา
ด้วยให้ เขียนเป็ นภาษาไทย ส่ วนในวงเล็บใช้ภาษาอังกฤษ
• 2.3 ผูแ้ ต่งที่เป็ นองค์การ สมาคม หน่วยงานทางราชการ ให้ลงชื่อหน่วยงานที่เป็ น
ผูจ้ ดั ทํา เช่น ธนาคารกสิ กรไทย สมาคมนักบัญชี กระทรวงศึกษาธิ การ
3. การอ้างอิงผูแ้ ต่งไม่เกิน 2 คน ให้ลงชื่อผูแ้ ต่งทุกคน ทุกครั้งที่อา้ งอิง ใช้คาํ ว่า และ
หรื อ & ก่อนชื่อผูแ้ ต่งคนที่ 2 ถ้ามีผแู ้ ต่ง 3 ถึง 5 คน ให้ลงชื่อผูแ้ ต่งทุกคนในครั้ง
แรกที่อา้ งอิง ให้ใช้ , คัน่ ระหว่าง ชื่อ ใช้คาํ ว่า และ หรื อ & ก่อนชื่อผูแ้ ต่งคนสุ ดท้าย
ครั้งต่อๆไปที่อา้ งอิง ให้ลงชื่อผูแ้ ต่งคนแรก ตามด้วยคําว่า และคณะ ในภาษาไทย
หรื อ et al. ในภาษาอังกฤษ ถ้ามีผแู ้ ต่ง 6 คนขึ้นไป ให้ลงชื่อเฉพาะผูแ้ ต่งคนแรก
ตามด้วยคําว่า และคณะ ในภาษาไทย หรื อ et al. ในภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ครั้งแรกที่
อ้างอิง
ตัวอย่าง ผูแ้ ต่งหลายคน
• บุญชม ศรี สะอาด และบุญส่ ง นิลแก้ว
• อนันต์ อนันตกูล, ติณ ปรัชญพฤทธิ์ , ลิขิต ธีรเวคิน และทินพันธ์
นาคะตะ วรเดช จันทร์ศร และคณะ
• Bergman & Moore Green, Salkind & Akey Phillip et al.
ตัวอย่างอื่นๆดูจากคู่มือการพิมพ์สารนิพนธ์ หน้าเว็บคณะนิเทศศาสตร์
หลักเกณฑ์การเขียนบรรณานุกรม
• 1.เขียนคําว่า บรรณานุกรม ไว้กลางหน้ากระดาษ
• 2. เมื่อเริ่ มต้นเขียนให้ชิดขอบกระดาษที่เว้นไว้ประมาณ 1.5 นิ้ว
หากบรรทัดเดียวไม่จบบรรทัด ถัดไปให้ยอ่ เข้ามา 7 ช่วง
ตัวอักษร
• 3. เมื่อรวบรวมแหล่งสารสนเทศที่อา้ งอิงไว้ได้ครบถ้วนทั้ง
หมดแล้วให้นาํ มาเรี ยงลําดับตามตัวอักษรของรายการแรกโดย
เรี ยงตามแบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (รายละเอียดดู
ได้จากคู่มือการพิมพ์สารนิพนธ์)
การเขียนบรรณานุกรม
กรณีทเี่ ป็ นหนังสื อ
• ชื่อ / ชื่อสกุล. / / (ปี ที่พิมพ์). / / ชื่อเรื่อง / (ครั้งที่พิมพ์). / / เมืองที่พิมพ์: /
ผูร้ ับผิดชอบในการพิมพ์.
EX
เปลื้อง ณ นคร. (2543). สร้ างกําลังใจ :หลักในการพัฒนาตนเองและสร้ างกําลังใจสู่
ความสําเร็จ (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุ งเทพฯ: ข้าวฟ่ าง.
การเขียนบรรณานุกรมจากสารนิพนธ์
• ชื่อผูเ้ ขียน. / / (ปี ที่พิมพ์). / / ชื่อเรื่อง. / /ระดับวิทยานิพนธ์ / ชื่อสาขาวิชา, / คณะ /
ชื่อมหาวิทยาลัย.
เรวดี เรี ยนดี (2538). การใช้ ระบบอินเตอร์ เน็ตของนิสิตนักศึกษาในเขตจังหวัด
ชลบุรี. สารนิพนธ์นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการโฆษณา, คณะนิเทศ
ศาสตร์ , มหาวิทยาลัยศรี ปทุม วิทยาเขตชลบุรี.
รายละเอียดแบบอื่นดูได้จากคู่มือ
การพิมพ์ สารนิพนธ์
• ตัวพิมพ์ควรเป็ นตัวพิมพ์แบบเดียวกันตลอดเล่ม รู ปแบบตัวอักษรใช้
Angsana UPC หรื อ Cordia UPC ใช้ตวั อักษร 16 พอยท์ (point)
• บทที่ และชื่อบทใช้ตวั หนาขนาด 20 พอยท์
• หัวข้อสําคัญชิดขอบซ้าย ใช้ตวั หนาขนาด 18 พอยท์
• หัวข้อย่อยใช้ตวั หนาขนาด 16 พอยท์
• ยกเว้นกรณี ตวั พิมพ์ในภาพประกอบ ตาราง และแผนภูมิ อาจใชัตวั พิมพ์
ที่เล็กลงหรื อย่อส่ วนเพื่อให้อยูใ่ นกรอบของการวางรู ปกระดาษที่กาํ หนด
การเว้ นบรรทัด
• ให้เป็ นแบบเดียวกันตลอดเล่ม โดยเว้นห่างกัน 1 ช่วงบรรทัด ยกเว้น ช่วง
บรรทัดระหว่างหัวข้อสําคัญที่ชิดขอบซ้ายให้เว้นห่าง 1.5 ช่วงบรรทัด
• หมายเหตุ - การเว้น 1 ช่วงบรรทัด คือการพิมพ์ระยะปกติ ส่ วนการเว้น
1.5 ช่วงบรรทัดใน Microsoft words ทําได้ โดย
• 1. เข้าไปที่ยอ่ หน้า (paragraph)
• 2. เลือกระยะห่างบรรทัด (line spacing) เท่ากับ 1.5 บรรทัด (line)
การเว้ นระยะ
• การเว้นที่วา่ งริ มขอบกระดาษ ด้านบนและด้านซ้ายมือ เว้นห่างจาก
ขอบกระดาษ 1.5 นิ้ว
• ด้านล่างและด้านขวามือเว้นห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว ยกเว้นหน้าแรก
ของแต่ละบท ด้านบนให้เว้นห่างจากขอบกระดาษลงมา 2 นิ้ว
• การเว้นระยะในการพิมพ์ การย่อหน้าให้เว้นระยะ 7 ช่วงตัวอักษร โดย
เริ่ มพิมพ์ช่วงตัวอักษรที8่ (เข้าไปที่แท็ป (tap) ตั้งค่าที่ 0.6 นิ้ว)
การพิมพ์ เครื่องหมาย
• 1. หลังเครื่ องหมายมหัพภาค (.) เว้น 2 ช่วงตัวอักษร
• 2. หลังเครื่ องหมายอื่นๆ เว้น 1 ช่วงตัวอักษร (,) (:) (;)
• 3. ต้องพิมพ์เครื่ องหมายไว้ทา้ ยข้อความเสมอ เช่น
กรุ งเทพฯ: อนันต์ อนันตกูล, ติณ ปรัชญพฤทธิ์
• 4. หลังตัวย่อเว้น 1 ช่วงตัวอักษร เช่น
v./5 p./27
• 5. ระหว่างคําย่อที่มีมากกว่า 1 ตัวอักษร ไม่ตอ้ งเว้น เช่น
รป.ม. ม.ป.ป. ม.ร.ว. n.d. n.p.