ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

การตัดต่ อแบบ Non-Linear
ระบบวิดโี อในยุคปัจจุบัน
ระบบวิดโี อมีความสั มพันธ์ กบั การนาไฟล์ วิดโี อไป
เผยแพร่ ในรู ปแบบต่ าง ๆ ซึ่งไฟล์ วดิ โี อนั้น ๆ จะเปิ ดกับ
โทรทัศน์ หรือเครื่องเล่ นอืน่ ๆ ได้ หรือไม่ ขึน้ อยู่กบั การ
กาหนดค่ าของระบบวิดโี อในขั้นตอนการตัดต่ อด้ วย โดย
ต้ องกาหนดค่ าให้ ตรงกับระบบวิดโี อทั่วไปในแต่ ละประเทศ
ทีเ่ ลือกใช้ ในปัจจุบันใช้ ระบบวิดโี อ 3 ระบบด้ วยกัน
ระบบ PAL
Phase Alternating Line
๐ เป็ นระบบทีม่ ีความคมชัดสู ง แต่ การเคลือ่ นไหวของภาพ
จะไม่ ราบรื่นเท่ ากับระบบอืน่ โดยมีอตั ราการแสดงผล
(Frame Rate) เท่ ากับ 25 เฟรมต่ อวินาที (fps) 25 มีความ
ละเอียดของเส้ นเท่ ากับ 625 เส้ น
นิยมใช้ ในกลุ่มประเทศแถบยุโรป แอฟริกาใต้ และ
เอเชียบางประเทศ ซึ่งในประเทศไทยก็ใช้ ระบบนีเ้ ป็ นหลัก
ระบบ NTSC
National Television System Committee
๐ เป็ นระบบทีม่ ีความคมชัดสู งสู้ ระบบ PAL ไม่ ได้ แต่ การ
เคลือ่ นไหวของภาพนั้น จะราบรื่นและสวยงามกว่ าระบบ
PAL โดยมีอต
ั ราการแสดงผลภาพ (Frame Rate) เท่ ากับ
29.79 เฟรมต่ อวินาที (fps) มีความละเอียดของเส้ นเท่ ากับ
525 เส้ น นิยมใช้ ในกลุ่มประเทศอเมริกาและยุโรป
ระบบ SECAM
Séquentiel Couleur Avec Mémoire
๐ เป็ นระบบทีม่ ีความคมชัดสู ง และการเคลือ่ นไหวของ
ภาพราบรื่น โดยมีอตั ราการแสดงผลภาพ (Frame Rate)
เท่ ากับ 25 เฟรมต่ อวินาที (fps) มีความละเอียดของเส้ น
เท่ ากับ 625 เส้ น
นิยมใช้ ในแถบแอฟริกาเหนือ ประเทศโซน
ตะวันออกกลาง ประเทศฝรั่งเศส ประเทศรัสเซีย
Frame Rate
Frame Rate คือ ความเร็วในการแสดงภาพเคลือ่ นไหว
หนึ่งหน่ วยเวลา มีหน่ วยเป็ นเฟรมต่ อวินาที (fps) โดยค่ า
Frame Rate ที่จะทาให้ เกิดภาพเคลือ
่ นไหวได้ น้ัน ควร
จะต้ องมีค่าประมาณ 7-10 (fps)
ภาพยนตร์ การ์ ตูนสมัยก่ อนจะใช้ ภาพต่ อเนื่องแสดง
การเคลือ่ นไหวอยู่ประมาณ 12 (fps) ค่ ามาตรฐานของ
Flash ที่แสดงภาพเคลือ
่ นไหวบนเว็บก็ใช้ 12 (fps) เช่ นกัน
ค่ า Frame Rate ในระบบต่ าง ๆ
ระบบต่ าง ๆ
ฟิ ล์มภาพยนตร์ ทวั่ ไป
วิดโี อระบบ NTSC
วีดโี อระบบ PAL
วีดโี อระบบ SECAM
ซีดรี อมและเว็บไซต์
งาน 3 D Animation
Frame Rate (fps)
24
29.97
25
25
12 – 15
30 (Non-Drop Frame)
Timebase
Timebase คือ การแบ่ งช่ องเวลาในการตัดต่ อออกเป็ น
ส่ วน ๆ ใน 1 วินาที โดยค่ านีจ้ ะมีความสั มพันธ์ กับค่ า
Frame Rate คือถ้ าค่ า Frame Rate ของไฟล์ วด
ิ โี อ
ต้ นฉบับ (Source Frame Rate) มีค่าเท่ าใดการกาหนดค่ า
Timebase ก่ อนการตัดต่ อก็ควรจะกาหนดให้ เท่ ากัน เพือ
่
การแสดงผลภาพทีม่ ีความถูกต้ องและไม่ สะดุดขณะนาไป
เผยแพร่
สรุป Timebase ควรจะเท่ ากับ Source Frame Rate
กรณีศึกษา (Cast Study)
ตัวอย่ างการตั้ง ค่ า Timebase กับ Source Frame Rate
กรณีที่ 1 Timebase ต้ องเท่ ากับ Source Frame Rate
เสมอ
Source Frame Rate = 25 fps
Timebase = 25 fps
นักศึกษา ก ไปถ่ ายวิดโี อในระบบ PAL ซึ่งมีค่า Frame Rate เท่ ากับ 25 fps แล้ว
นามาตัดต่ อโดยต้ องกาหนดค่า Timebase ให้ เท่ ากับ
25 fps
กรณีศึกษา (Cast Study)
กรณีที่ 2 Timebase ไม่ เท่ ากับ Source Frame Rate ทา
ให้ เกิดผลเสี ยคือภาพกระตุก
Source Frame Rate = 25 fps
Timebase = 30 fps
เช่ นนักศึกษา ข ไปถ่ ายวิดโี อในระบบ PAL ซึ่งมีค่า Frame Rate เท่ ากับ 25 fps แล้ว
นามาตัดต่ อโดยกาหนดค่า Timebase ให้ เท่ ากับ 30 fps
สั งเกตว่ า Timebase กับ Source Frame Rate จะเรียง
กันไม่ ลงตัว
กรณีศึกษา (Cast Study)
กรณีที่ 3 มี Source Frame Rate จากหลายแหล่ ง
Source Frame Rate = 25 fps VDO
Source Frame Rate = 25 fps 3 D
Timebase = 25 fps
นักศึกษา ค ไปถ่ ายวิดโี อในระบบ PAL ซึ่งมีค่า Frame Rate เท่ ากับ 25 fps นอกจากนั้น
นักศึกษา ค ยังต้ องการเพิม่ ความน่ าสนในให้ กบั งานโดยการทา Title ให้ กบั งานของเขาโดยใช้
โปรแกรม 3ds max ซึ่งเขากาหนดค่าในการ render จากโปรแกรมสามมิตใิ ห้ มีค่า
Frame Rate เท่ ากับ 25 fps เขาจึงกาหนดค่ า Timebase ให้ เท่ ากับ 25 fps
กรณีศึกษา (Cast Study)
กรณีที่ 3 ถ้ าต้ องการให้ ชิ้นงานที่จะออกไปเผยแพร่ มีค่า
Frame Rate ที่เจาะจง ไม่ ว่า Source Frame Rate จะ
มีค่าเท่ าไหร่ Timebase จะต้ องกาหนดให้ เป็ นค่ าที่หารลง
ตัวเสมอ
Source Frame Rate = 30 fps
Timebase = 15 fps
เช่ น หากต้ องการสร้ างไฟล์วดี โี อเพือ่ ไปลงในเว็บไซต์ ที่ Frame Rate เท่ ากับ 15 fps แต่ เรามี
ไฟล์วดี โี อที่ Source Frame Rate เท่ ากับ 30 fps ควรกาหนดค่า Timebase เท่ ากับ
10, 15 , 30
การนับเวลาของไทม์ โค้ ด (Timecode)
ไทม์ โค้ ด (Timecode) เป็ น
การกาหนดวิธีการนับเฟรมและส่ งผล
ต่ อวิธีการค้ นหาตาแหน่ งในการ
ทางาน ไทม์ โค้ ดไม่ ได้ เปลีย่ น
Timebase หรื อ Frame Rate ของ
คลิปหรือของโปรเจ็กต์ แต่ เปลี่ยน
เฉพาะวิธีการนับเฟรมเท่ านั้น
การนับเวลาของไทม์ โค้ ด (Timecode)
การนับเฟรมทีใ่ ช้ ในการตัดต่ อทางโทรทัศน์ จะ
แตกต่ างจากการนับเฟรมทีใ่ ช้ ในการตัดต่ อภาพยนตร์ โดย
ค่ ามาตรฐานของโปรแกรม Premier Pro จะแสดงไทม์
โค้ ดโดยใช้ SMPTE (Society of Motion Picture and
Television Engineers)
ชั่วโมง
นาที
วินาที เฟรม
การนับเวลาของไทม์ โค้ ด (Timecode)
เมื่อเราทาการจัดต่ อวิดโี อ ในระบบ NTSC ทีม่ ีค่า
Timebase มาตรฐานอยู่ที่ 29.97 ส่ วนต่ างของTime
base นีก
้ บั ไทม์ โค้ ดที่มีค่า 30 จะทาให้ เกิดความแตกต่ าง
นีจ้ ากน้ อยไปหามาก และเพิม่ ขึน้ เมื่อวิดโี อยาวขึน้ ทาให้
เกิดปัญหาในการตัดต่ อวิดโี อ การใช้ ไทม์ โค้ ดแบบ DropFrame ซึ่งเป็ น SMPTE แบบมาตรฐานสาหรั บวิดโี อ
29.97 fps ช่ วยให้ ความผิดพลาดนีห้ มดไป
การนับเวลาของไทม์ โค้ ด (Timecode)
โปรแกรม Premiere Pro แสดงตัวเลขในไทม์
โค้ ดแบบ Drop-Frame ด้ วยการแสดงเครื่องหมาย เซ
มิโคลอน (;) ระหว่ างตัวเลขของไทม์ โค้ ดและแสดงตัวเลข
ไทม์ โค้ ดแบบ Non-Drop-Frame ด้ วยการแสดง
เครื่องหมายโคลอน (:) ระหว่ างตัวเลขของไทม์ โค้ ด
Non-Drop-Frame
Drop-Frame
Data Rate คืออะไร
คือ อัตราการส่ งข้ อมูลเพือ่ แสดงผล
ภาพเคลือ่ นไหวในระบบดิจติ อล ซึ่งเป็ นค่ าเดียวกับคาว่ า
“Bit Rate” (ซึ่งเป็ นความเร็ วในการส่ งข้ อมูลเช่ นกัน) โดย
มีหน่ วยทีย่ ่ อยสุ ดคือ บิตต่ อวินาที (bps) การกาหนดค่ า
Data Rate นีห
้ ากกาหนดค่ าให้ มีค่ามาก จะทาให้ คุณภาพ
ของไฟล์ วดิ โี อสู ง แต่ ข้อเสี ยคือไฟล์ จะมีขนาดใหญ่
Data Rate
ขนาดของเฟรม และ Aspect Ratio
ขนาดของเฟรม เป็ นขนาดของความกว้ างคูณความ
ยาวของเฟรม ซึ่งจะเกีย่ วข้ องกับ Aspect Ration
โดยตรงเนื่องจาก Aspect Ration คือ อัตราส่ วน
ความกว้ าง : ความกว้ างของเฟรม เช่ น Aspect
Ratio เท่ ากับ 4 : 3 หมายความว่ าเราต้ องกาหนด
ขนาดของเฟรมในการแสดงผลเป็ น
1024 : 768, 800 : 640, 600 : 480 หรือ 768 : 576
การบีบอัดข้ อมูล (Compression)
ไฟล์ วดิ โี อเป็ นการแสดงภาพที่มีความต่ อเนื่อง
จานวนมากอย่ างรวดเร็ว ทาให้ การเก็บหรือการบันทึกไฟล์
วิดโี อลงในฮาร์ ดดิสก์ ต้องใช้ พนื้ ที่จานวนมากด้วยเช่ นกัน
ดังนั้นจึงต้ องมีการบีบอัดข้ อมูล (Compression) เพือ่ ทา
ให้ ขนาดของไฟล์ เล็กลงหรือเรียกว่ า “ระบบการเข้ ารหัส
(Codec)”
การบีบอัดข้ อมูล (Compression)
การเข้ ารหัสให้ กบั ภาพยนตร์ น้ันสามารถทาได้ โดย
ใช้ ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์ แวร์ ตัวอย่ างของฮาร์ ดแวร์ เช่ น
การ์ ด Video Capture ทั่ว ๆ ไปซึ่งมีฟังชั่นในการเข้ ารหัส
(บีบอัดและนาไฟล์ วดิ โี อเข้ ามาในคอมพิวเตอร์ ส่ วน
ซอฟต์ แวร์ จะเป็ นโปรแกรมที่ใช้ บีบอัดไฟล์ ที่อยู่ใน
คอมพิวเตอร์ แล้ ว ได้ แก่ Panasonic Encoder, TMPGE ,
MpegDJ Encoder ฯลฯ
ฟอร์ มแม็ตของไฟล์ วดิ โี อ
DV- เป็ นฟอร์ มแม็ตมาตรฐานของกล้ องดิจติ อลวิดีโอ ซึ่ง
ข้ อมูลทั้งหมดจะถูกบันทึกเก็บไว้ ในฟอร์ แม็ตนีผ้ ่ านกล้ อง
ดิจติ อลวิดโี อ
AVI - เป็ นฟอร์ มแม็ตมาตรฐานวิดโี อที่นิยมใช้ ตัด
ต่ อเนื่องจากความคมชัดสู ง แต่ ไฟล์ มีขนาดใหญ่ มาก 4
GB บันทึกได้ ประมาณ 18 นาที ทาให้ เกิดปัญหากับ
ฮาร์ ดดิสก์ ทถี่ ูกฟอร์ มแม็ตเป็ น FAT 32 แต่ ถ้าเป็ น NTFS
จะไม่ เกิดปัญหานี้
ฟอร์ มแม็ตของไฟล์ วดิ โี อ
MPEG- เป็ นฟอร์ มแม็ตสาหรับงานดิจติ อลวิดีโอที่
ต้ องการไฟล์ ขนาดเล็ก (เนื่องจากถูกบีบอัดข้ อมูล) ไม่
เหมาะสมสาหรับการนาไปตัดต่ อซ้าอีก มีหลากหลาย
รู ปแบบ
MPEG 1 – นิยมใช้ ทา VCD ขนาดไฟล์ เล็ก
MPEG 2 - นิยมทา DVD ขนาดไฟล์ ใหญ่ แต่
คุณภาพในการแสดงผลมีความคมชัดสู ง
ฟอร์ มแม็ตของไฟล์ วดิ โี อ
MPEG 4 – กาลังเป็ นที่นิยมมากขึน้ เนื่องจาก
คุณภาพในการแสดงผลใกล้ เคียงกับ DVD แต่ ขนาดไฟล์
เล็กกว่ า
MOV – ฟอร์ แม็ตมาตรฐานของระบบปฎิบัตกิ าร
MAC แต่ กส
็ ามารถนามาใช้ งานกับเครื่อง PC สามารถ
นามาใช้ งานบนอินเตอร์ เน็ตหรือนามาตัดต่ อกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ขนาดไฟล์ ใหญ่
วิธีการแสดงผลภาพ
(Progressive / Interlace)
Interlace
เป็ นวิธีการทีก่ ล้ องวิดโี อใช้ ในการแสดงผลภาพบน
จอมอนิเตอร์ โดยทั่วไปกล้ องจะใช้ ในการแสดงผลด้ วย
สแกนโดยยิงแสงให้ วงิ่ ผ่ านหน้ าจอเป็ นเส้ นตามแนวนอน
โดยเราเรียกวิธีการนีว้ ่ า Interlace การสแกนแบบนี้
จะทา 2 ครั้งใน 1 ภาพ
วิธีการแสดงผลภาพ
(Progressive / Interlace)
Progressive
เป็ นการสแกนเพียงครั้งเดียวต่ อ 1 เฟรม โดย
เลียนแบบการสแกนภาพของกล้ องถ่ ายภาพนิ่ง การสแกน
ภาพแบบ Progressive จะลดความผิดพลาดที่เกิดจาก
การสแกน 2 ครั้งทาให้ ภาพที่ได้ มีความคมชัด
Interlace
Lower field (bottom)
- now all even lines
(2,4,6,8, etc.) are
drawn.
Upper field (top) - all
odd lines (1,3,5,7, etc.)
are drawn first.
If we look at our
TV, we see a
picture like this on
our screen.
Interlace
Progressive
Interlace
Broadcast compatibility
TV / VDO
Progressive
Better image quality
Computer / Film
Overscan
และ Safe Zone
ในการเตรียมวิดโี อเพือ่ นาเสนอทางโทรทัศน์ น้ัน
ขนาดของเฟรมอาจไม่ เท่ ากัน โทรทัศน์ แต่ ละเครื่องนั้นมัก
มีการขยายภาพให้ ใหญ่ ขนึ้ ทาให้ ขอบนอกภาพถูกขยายเลย
ขอบของจอโทรทัศน์ ไป กระบวนการนีเ้ รียกว่ า Overscan
และการ Overscan นีไ้ ม่ เท่ ากันในโทรทัศน์ ในแต่ ละเครื่อง
ดั้งนั้นเราจึงควรวางตาแหน่ งของภาพและตัวอักษรต่ าง ๆ
ให้ อยู่ในพืน้ ที่ 2 ส่ วนคือ Action-Safe Zone และ TitleSafe Zone
Overscan
Action-Safe Zone 10%
Title-Safe Zone 20%
และ Safe Zone