ความเป็นมาของโทรทัศน์ - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Download Report

Transcript ความเป็นมาของโทรทัศน์ - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

ความเป็ นมาของโทรทัศน์
และวีดทิ ศั น์ เพื่อการศึกษา
สุรพล บุญลือ
ประวัติ
• เดวิด ซาร์ นอฟฟ์ (DAVID SARNOFF) เด็กหนุ่มชาวรัสเซีย หนีความยากจน
จากชนบท เข้ ามาสมัครเป็ นเด็กฝึ กงานกับ มาร์ โคนี ผู้ประดิษฐ์ โทรเลขไร้
สาย วันที่ 15 เมษายน 1912 ขณะที่ซาร์ นอฟฟ์ทางานอยู่ เขาได้ รับ
สัญญาณโทรเลขไร้ สาย ขอความช่วยเหลือจากเรื อไททานิก ซึง่ กาลังจมอยู่ใน
มหาสมุทรแปซิฟิก
• ซาร์ นอฟฟ์กับบริษัท RCA ได้ ทางานร่วมกันในธุรกิจวิทยุ ซึง่ กาลังบูมอย่าง
มาก อีกฟากหนึง่ ของทวีป ฟรานเวิดท์ กาลังหมกหมุน่ อยูก่ บั ประดิษฐ์ กรรม
โทรทัศน์ โดยเริ่มจากการเป่ าแก้ ว ในขณะนันเขาไม่
้
ได้ เป็ นนักประดิษฐ์ คนเดียวที่
สนใจกับโทรทัศน์ มีหลายคนที่ทาอยู่ หนึง่ ในจานวนนันคื
้ อ สวารี
กิน (Zworykin)
ประวัติ
• โทรทัศน์ เป็ นระบบโทรคมนาคมสาหรั บการกระจายและรั บภาพเคลื่อนไหว
และเสียงตามระยะทาง และคาว่ าโทรทัศน์ ได้ นาใช้ อ้างอิงถึงแง่ มุมต่ าง ๆ
ของรายการโทรทัศน์ และการแพร่ ภาพด้ วย
• คาว่ าโทรทัศน์ ในภาษาอังกฤษ คือ television เป็ นคาผสมจากภาษากรี ก
"Tele-" แปลว่ า"ระยะไกล" ส่ วน "-vision" มาจากภาษาละติน "visio"
แปลว่ า"การมองเห็น", มักเรี ยกย่ อเป็ น TV (ทีวี)
• ประเทศไทยเริ่มมีการแพร่ ภาพโทรทัศน์ เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 โดย
บริษัท ไทยทีวี จากัด แพร่ ภาพทางช่ อง 4 จากบางขุนพรหม (ปั จจุบันเป็ น
ช่ อง 9 อสมท.)
ระบบวิทยุโทรทัศน์ ในปั จจุบัน
• ระบบการส่ งวิทยุโทรทัศน์ ในโลกมีหลายระบบ การส่ งและการรับสัญญาณจะต้ องเป็ น
ระบบเดียวกันจึงจะรับภาพได้ และเสียงชัดเจนถูกต้ อง สาเหตุท่ รี ะบบวิทยุโทรทัศน์ มี
หลายระบบก็เนื่องจากความแตกต่ างกันในเรื่องระบบไฟฟ้าที่ใช้ ในแต่ ละประเทศ เช่ น
ประเทศในทวีปยุโรปใช้ ไฟฟ้า 220 โวลท์ 50 เฮิรตซ์ ในขณะที่ประเทศอเมริกาใช้ ไฟฟ้า
110 โวลต์ 60 เฮิรตซ์
• เนื่องจากจานวนภาพที่ส่งต่ อวินาทีต้องเป็ นครึ่งหนี่งของความถี่ไฟฟ้าเพื่อให้ ได้ ภาพนิ่ง
ที่สุด ทาให้ จานวนภาพต่ อวินาทีในการส่ งภาพไม่ เท่ ากัน อีกประการหนึ่งจานวนเส้ นที่
กวาดภาพบนจอโทรทัศน์ กม็ ีการกาหนดต่ างกันออกไป บางระบบก็เป็ น 525 เส้ น 625
เส้ น หรือ 819 เส้ น ถ้ าจานวนเส้ นมากภาพก็จะมีรายละเอียดดีมาก มีความคมชัดมาก
แต่ ความกว้ างของช่ องสัญญาณก็จะสูงขึน้ ทาให้ ส่งโทรทัศน์ ได้ น้อยช่ องลงเพราะ
ความถี่มีจากัด
ดังนัน้ ผู้ประดิษฐ์ คดิ ค้ นอุปกรณ์ โทรทัศน์ จงึ พยายามผลิตและพัฒนาระบบ
โทรทัศน์ ของตัวเองขึน้ ระบบโทรทัศน์ สีในโลกเป็ น 3 ระบบใหญ่ คือ
ระบบวิทยุโทรทัศน์ ในปั จจุบัน
1 ระบบเอ็นทีเอสซี NTSC System เป็ นระบบโทรทัศน์ ระบบแรก
ของโลกซึ่งคณะกรรมการระบบโทรทัศน์ ในอเมริกาได้ คดิ ค้ นขีน้
และใช้ ในทวีปอเมริกา และ ประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของระบบนีค้ ือ
มีจานวนเส้ น 525 เส้ น จานวนภาพ 30 ภาพต่ อวินาที (60 ฟิ ลด์ ต่อ
วินาที) มีความกว้ างของช่ องสัญญาณ 6 เมกะเฮิรตซ์
ระบบวิทยุโทรทัศน์ ในปั จจุบัน
2 ระบบพาล PAL System เป็ นระบบที่เยอรมันคิดค้ นขึน้ โดย
ดัดแปลงจากระบบ เอ็น ที เอส ซี มีใช้ กันในยุโรป ออสเตรเลีย
และทวีปเอเชียบางประเทศ ประเทศไทยก็ใช้ ระบบนี ้ ลักษณะ
ระบบนีค้ ือมีจานวนเส้ น 625 เส้ น จานวนภาพ 25 ภาพต่ อวินาที
(50 ฟิ ลด์ ต่อวินาที) ความกว้ างของช่ องสัญญาณ 7 เมกะเฮิรตซ์
ระบบวิทยุโทรทัศน์ ในปั จจุบัน
3 ระบบเซกัม SECAM System เป็ นระบบที่สร้ างโดยเฮนรี่
ดี ฟรานซ์ (Henri de France) ชาวฝรั่งเศส มีใช้ ในประเทศ
ฝรั่งเศส ทวีปแอฟริกาและประเทศในแถบเอเชียบาง
ประเทศ ลักษณะของระบบนี ้ คือ มีจานวนเส้ น 625 เส้ น
จานวนภาพ 25 ภาพต่ อวินาที (50 ฟิ ลด์ ต่อวินาที) ความ
กว้ างของช่ องสัญญาณ 7 เมกะเฮิรตซ์
ระบบวิทยุโทรทัศน์ ในปั จจุบัน
• นอกจากนี ้ ยังมีการแบ่ งระบบวิทยุโทรทัศน์ ออกเป็ นระบบเอ ถึง
ระบบเอ็น ตามคุณลักษณะต่ างๆ ที่เหมือนกันอีกด้ วย ดังนั น้ ใน 3
ระบบใหญ่ นัน้ จึงอาจอยู่ในระบบเอถึงเอ็น การถ่ ายทอดสัญญาณ
และรั บสัญญาณต้ องอยู่ในระบบเดียวกันจึงจะรั บได้ เช่ นใน
ประเทศไทยใช้ ระบบ PAL B หากส่ งสัญญาณเป็ น PAL M หรื อ
PAL I ก็จะรั บสัญญาณไม่ ได้ เครื่ องเล่ นเทปโทรทัศน์ กต็ ้ องเป็ น
ระบบเดียวกัน
ประเภทของสถานีวิทยุโทรทัศน์
การจัดตัง้ สถานีโทรทัศน์ แต่ ละแห่ งอาจแบ่ งได้ ตามวัตถุประสงค์ ของการ
ดาเนินงานของสถานี คือ
1 วิทยุโทรทัศน์ เพื่อการค้ า (CTV : Commercial Television) เป็ น
สถานีโทรทัศน์ ท่ ีมีจุดมุ่งหมายผลิตรายการเพื่อตอบสนองธุรกิจการค้ าและ
การโฆษณา ต้ องอาศัยรายได้ สนับสนุนจากการโฆษณา จึงมุ่งผลิตรายการ
เพื่อความบันเทิงเกือบทัง้ หมด
http://www.tv3.co.th/
http://www.ch7.com/
http://www.itv.co.th/
http://www.tv5.co.th/
http://www.mcot.net/
ประเภทของสถานีวิทยุโทรทัศน์
2 โทรทัศน์ การศึกษา (ETV : Educational Television) เป็ นสถานีโทรทัศน์ เพื่อให้ ความรู้
ทั่วๆ ไป ในประเทศไทยมีอยู่เพียงสถานีเดียวคือ สถานีโทรทัศน์ ช่อง 11 ของกรม
ประชาสัมพันธ์ ตัง้ อยู่ในกรุ งเทพฯ เริ่มก่ อตัง้ มาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2528 โดยเริ่มต้ นมีกาลัง
ส่ งต่ามากเพียง 10 กิโลวัตต์ เท่ านัน้ ต่ อมาได้ มีการปรับปรุ งเครื่องส่ งขยายกาลังส่ งให้
มากขึน้ จนสามารถแพร่ ภาพออกอากาศได้ ครอบคลุมเกือบทั่วประเทศแล้ ว สถานี
ประเภทนีไ้ ม่ มีรายได้ จากการโฆษณาโดยตรงแต่ จะอาศัยเงินสนับสนุนจากรัฐบาลและ
รัฐวิสาหกิจเพียงอย่ างเดียว
http://www.nfe.go.th/etv/
3 โทรทัศน์ การสอน (ITV : Instructional Television) เป็ นสถานีโทรทัศน์ เพื่อทาการสอน
เพียงอย่ างเดียว ในประเทศไทยยังไม่ มีสถานีประเภทนีเ้ ลย
ประเภทของสถานีวทิ ยุโทรทัศน์
4 โทรทัศน์ วงจรปิ ด (CCTV : Closed Circuit Television) เป็ นโทรทัศน์ ท่ ตี ดิ ตัง้ ตาม
สถานศึกษาต่ างๆ ตลอดจนหน่ วยงานบางหน่ วย โดยมากจะทาการผลิตรายการ
ทางการสอนแล้ วส่ งภาพทางสาย (microteaching) เพื่อตรวจเช็ค (preview) หรือวิจารณ์
การฝึ กหัดสอนของครู การติดตัง้ โทรทัศน์ วงจรปิ ดในโอกาสพิเศษต่ างๆ เช่ น การจัด
อบรมหรือสัมมนาซึ่งมีคนฟั งมากๆ จาเป็ นต้ องส่ งสัญญาณภาพและเสียงตามสายไปยัง
ห้ องอื่นๆ
5 โทรทัศน์ ชุมชน (CATV : Community Attenna Television) เป็ นสถานีโทรทัศน์ ท่ กี ่ อตัง้ ขึน้
เป็ นพิเศษ ซึ่งมีลูกค้ าเป็ นผู้รับโดยเฉพาะ สถานีจะส่ งออกอากาศไปยังบ้ านของผู้รับที่มี
เสารับสัญญาณพิเศษเข้ าเครื่องรับแต่ ละบ้ าน หรือมีเสารับสัญญาณรวมแล้ วต่ อสาย
เคเบิล้ ไปตามบ้ านแต่ ละหลัง จึงเรียกระบบโทรทัศน์ แบบนีว้ ่ า โทรทัศน์ ชุมชน สาหรับ
การส่ งรายการโทรทัศน์ ไปตามสายเคเบิล้ จากสถานีต้นทางไปยังบ้ านที่บอกรับสมาชิก
นัน้ มีช่ ือเรียกอีกอย่ างหนึ่งว่ า เคเบิล้ ทีวี (Cable Television)
ประเภทของสถานีวิทยุโทรทัศน์
ในประเทศไทย องค์ การสื่อสารมวลชนแห่ งประเทศไทย (อสมท) เป็ นหน่ วยงาน
แรกที่เริ่มให้ บริการโทรทัศน์ ตามสาย โดยระบบบอกรับสมาชิกตัง้ แต่ ปี 2522 โดยรับ
สัญญาณภาพและเสียงด้ วยระบบ MMDS (Multipoint Multichannels Distribution
System) และจะต้ องเสียค่ าบริการในการรั บชมภาพ ปั จจุบนั มีผ้ ูรับสัมปทานไปดาเนิน
ธุรกิจคือ บริษัท ยูทวี ี (UTV) แต่ ถ้าบางจุดที่ไม่ สามารถส่ งสัญญาณไปตามสายได้ ก็จะ
ติดตัง้ จานรับสัญญาณจากดาวเทียมาแทน นอกจากสมาชิกจะได้ รับชมรายการบันเทิง
แล้ ว ก็ยังมีช่องสัญญาณของโครงการการศึกษาทางไกลผ่ านดาวเทียมไทยคมอีก 6
ช่ องสัญญาณด้ วย
http://www.ubctv.com/
บทบาทของวิทยุโทรทัศน์ ทางการศึกษา
1 การใช้ วิทยุโทรทัศน์ เพื่อการเรียนการสอนในระบบโรงเรียน
- ใช้ วิทยุโทรทัศน์ เป็ นเครื่องมือทางการสอน โดยกาหนดแผนการสอนให้ มี
วิทยุโทรทัศน์ เข้ ามาเป็ นกิจกรรมส่ วนหนึ่งของการเรียนการสอน เช่ น การ
บันทึกภาพเพื่อนามาวิเคราะห์ ปัญหาและกาหนดวิธีแก้ ไข
- ใช้ เป็ นอุปกรณ์ ในห้ องปฏิบัตกิ าร เช่ น ใช้ กล้ องโทรทัศน์ ถ่ายภาพจากกล้ อง
จุลทรรศน์ เพื่อประกอบการอธิบาย ซักถาม
- ใช้ เป็ นสื่อกลางในการถ่ ายทอดสื่ออื่น เช่ น บันทึกวีดทิ ศั น์ จากภาพยนตร์
สไลด์ รู ปภาพ หรื อสื่อเสียงอื่นๆ เข้ าด้ วยกัน ทาให้ สะดวกต่ อการใช้ งาน
- รวบรวมเป็ นสื่อไว้ ในแหล่ งความรู้ เช่ น ในห้ องสมุดเพื่อบริการให้ ผ้ ูต้องการ
ใช้ และศึกษาด้ วยตนเอง
บทบาทของวิทยุโทรทัศน์ ทางการศึกษา
1 การใช้ วิทยุโทรทัศน์ เพื่อการเรียนการสอนในระบบโรงเรียน
- ใช้ ในการศึกษาระบบเปิ ด โดยใช้ วีดทิ ศั น์ เป็ นสื่อหลักในการศึกษาทางไกล
ร่ วมกับสื่ออื่นๆ เช่ น นาเสนอรายการโทรทัศน์ ในชุดวิชาต่ างๆ ของ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- ใช้ ในระบบการศึกษาทางไกลผ่ านดาวเทียม การศึกษาทางไกลผ่ าน
ดาวเทียมของกรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ใช้ การ
ผสมผสานระหว่ างสื่อทางไกลประเภทต่ างๆ และการผลิตรายการโทรทัศน์
ถ่ ายทอดผ่ านดาวเทียมไทยคม ไปยังโรงเรียนต่ างๆ ในสังกัด ทัง้ ระดับ
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้ นและตอนปลาย การผลิตรายการโทรทัศน์
เพื่อการศึกษานอกโรงเรียน และรายการการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีการแนะ
แนวการศึกษา อาชีพ วิชากฎหมาย รายวิชาเสริมความรู้ และรายการข่ าวสาร
คดี เพลงและรายการภาพยนตร์ เป็ นต้ น
บทบาทของวิทยุโทรทัศน์ ทางการศึกษา
2 การใช้ วิทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึกษานอกระบบโรงเรียน (Informal Education) เป็ นการใช้
รายการโทรทัศน์ ให้ ความรู้และอาชีพแก่ ผ้ ูชมรายการที่อยู่ในที่ต่างๆ โดยไม่ มีการ
กาหนดเป็ นนักเรียนหรือชัน้ เรียน การใช้ วิทยุโทรทัศน์ ในลักษณะนีจ้ ะไม่ มีหลักสูตร
ตายตัว และไม่ มีใบรับรองคุณวุฒเิ หมือนเช่ นการศึกษาในระบบ เช่ น รายการทางการ
ศึกษาที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ ช่องต่ างๆ ถือเป็ นการให้ การศึกษานอกระบบ
บทบาทของวิทยุโทรทัศน์ ทางการศึกษา
3 การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal education) เป็ นการจัดการศึกษาเพื่อให้ ข่าวสารข้ อมูล
ความรู้และทักษะที่เป็ นประโยชน์ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไปโดยที่
จะไม่ มีหลักสูตรชัดเจนเหมือนสองประเภทแรก แต่ จะกาหนดเนือ้ หาในการออกอากาศ
ทางโทรทัศน์ ให้ สอดคล้ องกับสภาพปั ญหาปั จจุบนั และสามารถเน้ นเนือ้ หาเฉพาะ
กลุ่มเป้าหมายต่ างๆ เช่ น กลุ่มอาชีพ ผู้ใช้ แรงงานกลุ่มสตรี กลุ่มผู้สงู อายุ กลุ่มเด็กและ
เยาวชนและกลุ่มเกษตรกร เป็ นต้ น
วีดทิ ศั น์ ทางการศึกษา
– วีดทิ ศั น์ มีความหมายเดียวกับคาที่ใช้ เรียกชื่อทับศัพท์ คือ วิดีโอ (video) ซึ่งเป็ นสื่อ
ที่ใช้ ในการบันทึกภาพเคลื่อนไหวเก็บไว้ ก่อนที่จะนาไปออกรายการ หรื อนาไป
สอน หรือเผยแพร่ ในรู ปแบบอื่น ๆ การบันทึกภาพวีดทิ ศั น์ ลงในสื่อมี 2 ประเภท
คือ สื่อวีดทิ ศั น์ ท่ เี ป็ นม้ วนเทป (videotape) และลงบนแผ่ นจาน ( video disc) ซึ่งทัง้
2 แบบนีจ้ ะมีวิธีการใช้ และมีคุณภาพที่แตกต่ างกันและต้ องการเครื่องเล่ นเฉพาะ
ของสื่อแต่ ละประเภทด้ วย
– สัญญาณวีดทิ ศั น์ ท่ บี ันทึกไว้ ในสื่อทัง้ 2 ประเภทนีม้ ี 2 ลักษณะ คือ สัญญาณภาพ
เสียงที่เป็ นแอนะล็อก (analog) และสัญญาณภาพเสียงที่เป็ นดิจทิ ลั ( digiital)
สัญญาณ ภาพ วีดทิ ศั น์
สัญญาณภาพแอนะล็อก (Analog Video)
เป็ นสัญญาณภาพวิดีโอที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบต่ อเนื่องทาให้ มี
การบันทึกและเล่ นกลับในสื่อที่ใช้ บันทึก มีการเปลี่ยนระดับของ
สัญญาณภาพและเสียง เป็ นระดับความดังและความถี่แบบต่ อเนื่อง
เช่ น การบันทึกภาพวิดีโอและเสียงลงบนเนือ้ เทปโดยการปรับความ
เข้ มของสนาม แม่ เหล็กที่อยู่บนเนือ้ เทปให้ เหมาะกับสัญญาณภาพ
และเสียง สิ่งที่สามารถนาสารที่เป็ นสัญญาณที่ต่อเนื่อง เรียกว่ า
"สื่อแอนะล็อก" ซึ่งจะมีการรบกวนสัญญาณสูงมากทาให้ ภาพและ
เสียงมีความชัดเจนน้ อยกว่ าดิจทิ ลั ตัวอย่ างการบันทึกภาพและ
เสียงที่เป็ นวิดีโอก็คือม้ วนเทปวิดีโอ คาสเซ็ทเทป ที่เป็ นรู ปแบบ
VHS เป็ นต้ น
สัญญานภาพวีดทิ ศั น์
สัญญาณภาพดิจทิ ัล (Digital Video)
เป็ นสัญญาณภาพวิดีโอที่มีการบันทึกข้ อมูลเชิงตัว
เลขฐานสองในการประมวลผลคือ 0 กับ 1 ซึ่งทางานกับ
สถานะ 2 แบบ คือ สูงกับต่า หรื อถูกกับผิด ทาให้ การ
บันทึกสัญญาณและการเล่ นกลับมีความผิดพลาดน้ อย
ถึงแม้ จะมีส่ งิ รบกวนมากก็ตาม
รู ปแบบการบันทึกวีดทิ ศั น์ บนม้ วนเทป
การบันทึกวีดทิ ศั น์ บนสื่อที่เป็ นม้ วนเทปมีหลายชนิดทัง้ ที่เป็ น
แบบตลับ ( Cassette) และแบบม้ วนเปิ ด (Open reel) แต่
ปั จจุบันนีก้ ารบันทึกด้ วยม้ วนเปิ ดไม่ เป็ นที่นิยม ซึ่งมีเหลือ
เฉพาะการบันทึกลงในตลับหรือ คาสเซ็ท ซึ่งมีขนาดของ
ตลั
่ แตกต่ างกันไปตามชนิ
ปแบบ ด( เจน
ชื่อบและม้ วนเทปที
ขนาด
บริษัทดของรูความชั
format) คือ
V
½
JVC
200
H
S
Bata Max
½
U-matic
1 inch
2 Inch
¾
1
2
Sony
200
Sony
400
600
800
รู ปแบบการบันทึกวีดทิ ศั น์ บนม้ วนเทป
ชื่อ ขนาด
Beta-cam
½
8 มม.(8 Millimeter
1/8
DVC (Digital Video
Cassette)
DVC PRO และ
Mini DV
HDV
1/8
บริษัท
Sony
Sony
1Sony
/
8
Panasonic
1/8
Sony
ความชัดเจน
600
300
530
600
1
0
ระบบการใช้ เครื่องเล่ นวีดทิ ศั น์
การใช้ เครื่ องบันทึกและเครื่ องเล่ นวีดทิ ัศน์ ต้องอาศัยชุดของ
อุปกรณ์ ในการบันทึกและการเล่ นกลับที่อยู่ในระบบเดียวกัน โดย
ประกอบไปด้ วยอุปกรณ์ ท่ ีสาคัญ 3 ส่ วนคือ
1.กล้ องบันทึกวีดทิ ัศน์ ทาหน้ าที่บันทึกภาพเคลื่อนไหวในลักษณะ
ของการบันทึกเป็ นเฟรม ประกอบไปด้ วยส่ วนของการรั บภาพที่
เป็ นหลอดรั บภาพหรื อแผ่ น CCD (Charge Coupled Divice) แล้ วนา
สัญญาณภาพส่ งไปขยายและปรั บแต่ งก่ อนส่ งไปบันทึกสัญญาณ
ภาพไว้ ท่ ีส่ ือประเภทต่ าง ๆ
ระบบการใช้ เครื่องเล่ นวีดทิ ศั น์
2.เครื่องบันทึกภาพ เครื่องบันทึกภาพจะทาหน้ าที่บันทึกสัญญาณภาพที่ส่งเข้ า
มาไว้ บนสื่อใดสื่อหนึ่ง ทัง้ ที่เป็ นม้ วนเทปหรือเป็ นแผ่ นจานบันทึกภาพ เครื่อง
บันทึกภาพอาจแยกเป็ นเครื่องเพียงเครื่องเดียว ซึ่งสามารถต่ อเชื่อมกับส่ วน
ของกล้ องบันทึกวีดทิ ศั น์ หรืออาจเป็ นส่ วนหนึ่งของกล้ องวิดีโอก็ได้ เครื่อง
บันทึกภาพวีดทิ ศั น์ มีทงั ้ รูปแบบที่เป็ นสื่อบันทึกสัญญาณดิจทิ ลั วิดีโอหรือ
สัญญานแอนาล็อก
3.จอมอนิเตอร์ หรือเครื่องฉายภาพวีดทิ ศั น์ อุปกรณ์ ในส่ วนนีจ้ ะรั บสัญญาณที่
ส่ งมาจากเครื่องเล่ นหรือเครื่องบันทึกสัญญาณวิดีโอ แล้ วแสดง
ภาพเคลื่อนไหวบนจอรับภาพหรือฉายภาพออกทางเครื่องฉายภาพวีดีทศั น็
โดยแสดงภาพนิ่งที่ละภาพต่ อเนื่องกันด้ วยเวลาอันรวดเร็ว เช่ น 25 ภาพ/วินาที
ทาให้ เห็นเป็ นภาพเคลื่อนไหวบนจอ
รู ปแบบดิจทิ ลั วิดโี อที่บนั ทึกในแผ่ นซีดี
สื่อบันทึกภาพวีดทิ ศั น์ ท่ เี ป็ นที่นิยมอยู่ในปั จจุบนั มีอยู่ 2 ชนิดคือ VCD (Video
Compact Disc) และ DVD (Digital Versatile Disc) ซึ่งสื่อทัง้ 2 รู ปแบบนี ้ ถึงแม้
จะดูรูปร่ างและขนาดภายนอกเหมือนกันแต่ กม็ ีความแตกต่ างกันในด้ านความ
จุของแผ่ นและคุณภาพของวีดทิ ศั น์ ท่ ไี ด้ ผสมทัง้ ราคาก็แตกต่ างกันด้ วย
1 VCD (Video Compact Disc) VCD มีขนาดมาตรฐานของแผ่ นซีดีเท่ ากับ 12
นิว้ โดยมีการผลิตแผ่ นซีดีออกมาครัง้ แรกเมื่อ พ. ศ. 2525 โดยบันทึกข้ อมูลใน
ระบบดิจทิ ลั และใช้ แสงเลเซอร์ เป็ นตัวบันทึกและอ่ านข้ อมูล การบันทึกข้ อมูล
ในแผ่ น VCD ใช้ ไฟล์ ภาพ เอ็มเพ็ก 1 (Mpeg I ) มีความละเอียดของภาพ
เท่ ากับ 352 x 288 (PAL) และ 352 x 240 (NTSC) สามารถบันทึกวีดทิ ศั น์ ได้
เวลาสูงสุด 80 นาที
รู ปแบบดิจทิ ลั วิดโี อที่บนั ทึกในแผ่ นซีดี
2 SVCD (Super Video Compact Disc) เป็ นมาตรฐานของแผ่ นวีดทิ ศั น์ ท่ ี
พัฒนาขึน้ ในประเทศซึ่งเพื่อต้ องการสร้ างมาตรฐานใหม่ ให้ มีคุณภาพสูงกว่ า
VCD มีความคุ้มค่ ามากที่สุด เนื่องจาก SVCD สามารถใช้ ส่วนประกอบทุก
อย่ างของ VCD ได้ แต่ ให้ คุณภาพที่ดีกว่ า VCD มีความละเอียดของภาพ
เท่ ากับ 480 x 576 (PAL) และ 480 x 480 (NTSC) จึงบันทึกวีดทิ ศั น์ ได้ สัน้ กว่ า
VCD
3 DVD (Digital Versatile Disc) เป็ นแผ่ นวีดทิ ศั น์ ท่ มี ีความคมชัดมากที่สุด มี
ขนาดแผ่ นเท่ ากับแผ่ น VCD โดยบันทึกวีดทิ ศั น์ ได้ ถงึ 133 นาที พัฒนาขึน้
ตัง้ แต่ ปี 1997 โดยใช้ มาตรฐานของการบีบอัดไฟล์ ข้อมูลแบบ MPEG 2
ปั จจุบันเครื่องเล่ น DVD สามารถเล่ นแผ่ น VCD และ SVCD ได้ ด้วย