ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

เอกสารประกอบการเรียน
รายวิชาระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง
โดย
นายนิพนธ์ ร่ องพืช
วท.ม.เทคโนโลยีอนิ เทอร์ เน็ตและสารสนเทศ
1
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
(Management Information
Systems : MIS)
2
บทนีม้ ีอะไรบ้ าง ?
1.
2.
3.
4.
5.
6.
โมเดลพืน้ ฐานเกีย่ วกับคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ของผู้นาใน
ภาครัฐ
ข้ อมูล, สารสนเทศ, และความรู้
องค์ กรและสภาพแวดล้อม
อุปสรรคการไหลเวียนของสารสนเทศในองค์ กร
บทบาทของนักบริหารและผู้ปฏิบัติงานเกีย่ วกับสารสนเทศ
ประโยชน์ ของสารสนเทศ
3
ระบบสารสนเทศกับ
การพัฒนาองค์ กร
4
การทางานให้ ได้ ผลสาเร็จ
คิดดี
2. วิธีเหมาะ
3. เพาะพลัง
3.1 พลังกาย
3.2 พลังจิต
3.3 พลังความรู้
3.4 พลังความคิด
1.
3.5 พลังเงินตรา
3.6 พลังสามัคคี
3.7 พลังความดี
4. ตั้งใจทา
5
อานาจ (Power)
ความชอบ
ธรรม
เด็ดขาด
อานาจ
ผู้นา
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ มีอานาจ
1. เงิน (มากพอ ฯ รู้จกั ใช้)
2. ยศถาบรรดาศักดิ์ ตาแหน่งหน้าที่
3. คุณวุฒิ เฉพาะทาง (ความเหนือชั้น)
4. สารสนเทศ (รู้เขา รู้เรา ฯลฯ )
6
โมเดลพืน้ ฐานเกีย่ วกับคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ของผู้นาในภาครัฐ
คุณลักษณะส่ วนบุคคล
- ความมีวุฒิภาวะ
- ความยืดหยุ่น
- ความเป็ นผู้นา
- มนุษยสั มพันธ์
- ความมัน่ ใจใน
ตนเอง
ทักษะการบริหารงานแบบดั้งเดิม
พฤติกรรมผู้นาแนวใหม่
-การวางแผน
-การจัดระเบียบ
-การจัดงบประมาณ
-การอานวยการ
-การจัดบุคลากร
-การแก้ ปัญหา
-การสื่ อสาร
-การแก้ ไขความขัดแย้ ง
-การบริหารเวลา
-การมองการณ์ไกล
-การสร้ างความไว้วางใจ
-การสร้ างทีมงาน
-การเพิม่ อานาจปฏิบัติ
-การเป็ นแบบอย่างที่ดี
-ภาระรับผิดชอบ
-ความคิดสร้ างสรรค์
พฤติกรรมเชิงจริยธรรม
ความชื่อสั ตย์ สุจริต
ความยุติธรรม
ความเสี ยสละ
7
หน้ าที่ของข้ าราชการระดับสู งเพือ่ การบริการให้ ประชาชนประทับใจ
การบริหารองค์ การตามแนวคิดเพือ่ เน้ นการบริการยังคงมุ่งยึดหลักขั้นตอน
การบริหาร(Management Process ) ทัว่ ๆไปคือ
1. การวางแผน(Planning)
2. การจัดองค์ กร (Organizing)
3. การจัดสรรคน(Staffing)
4. การนาการปฏิบัต(ิ Leading, Directing)
5. การควบคุมงาน(Controlling)
6. การรายงานผล(Reporting , Feedbacking)
7. การจัดสรรงบประมาณ(Budgeting)
8
ในขั้นตอนการบริหารแต่ ละขั้นนี้ ข้ าราชการระดับสู งจะเอาภารกิจเพือ่ การ
บริการประชาชนใส่ เข้ าไป และทาเป็ นขั้นตอนจาก 1 ไปสู่ 7 ดังนี้
1.
การวางแผน
- กาหนดวัตถุประสงค์เป้ าหมายเพื่องานบริ การ
- กาหนดภารกิจของแต่ละหน่วยงาน
- กาหนดมาตรฐานผลงานที่อาจวัดได้ชดั เจน
- กาหนดเวลาของแผนงานว่าจะให้เห็นผลเมื่อใด
2. การจัดองค์ การ
- จัดรู ปแบบวงจรบริ การที่ง่าย ขั้นตอนสั้น
- วิเคราะห์กิจกรรมในการให้บริ การต่างๆ ว่ามีความยุง่ ยาก ซับซ้อนเพียงใด
- วิเคราะห์หน้าที่งานต่างๆว่าเหมาะสมจาเป็ นเพียงใด
- ทบทวนการใช้อานาจตัดสิ นใจว่าจะทาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพหรื อไม่
9
ในขั้นตอนการบริหารแต่ ละขั้นนี้ ข้ าราชการระดับสู งจะเอาภารกิจเพือ่ การ
บริการประชาชนใส่ เข้ าไป และทาเป็ นขั้นตอนจาก 1 ไปสู่ 7 ดังนี้
3. การจัดสรรคน
- การสรรหาบุคคลที่เหมาะสมกับงาน
- การฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เลือกสรรมาแล้ว
- การดูแลรักษาบุคลากรให้มีความผูกพันต่องาน
- การให้แนวทางอาชีพและอนาคตโดยชัดเจน ว่าจะเป็ นอย่างไร
4. การนาการปฏิบัติ
- การทาให้ดูเป็ นตัวอย่าง
- การสอนงานและเป็ นพี่เลี้ยง
- การให้ลองปฎิบตั ิดูดว้ ยตนเอง
- การให้รางวัลตอบแทนเมื่อทาได้ตามเป้ าหมาย
- การจูงใจและการเลื่อนขั้น
10
ในขั้นตอนการบริหารแต่ ละขั้นนี้ ข้ าราชการระดับสู งจะเอาภารกิจเพือ่ การ
บริการประชาชนใส่ เข้ าไป และทาเป็ นขั้นตอนจาก 1 ไปสู่ 7 ดังนี้
5. การควบคุมงาน
- การจัดตั้งมาตรฐานบริ การ
- วัดผลการให้บริ การ
- ประเมินหาปั ญหาทั้งทางตรงและทางอ้อม
- ทามาตรการแก้ไข
6. การรายงานผล
- การเก็บรวบรวมข้อมูล
- รับฟังเสี ยงแสดงความคิดเห็นจากประชาชน
- วิเคราะห์ผลการทางาน
- รายงานและป้ อนกลับผลงาน
11
ในขั้นตอนการบริหารแต่ ละขั้นนี้ ข้ าราชการระดับสู งจะเอาภารกิจเพือ่ การ
บริการประชาชนใส่ เข้ าไป และทาเป็ นขั้นตอนจาก 1 ไปสู่ 7 ดังนี้
7. การจัดสรรงบประมาณ
- วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและความต้องการในทุกรู ปแบบ
- จัดสรรทรัพยากรขององค์การ
- ศึกษาประสิ ทธิผลการใช้งบประมาณในทุกรู ปแบบ
- การวางแผนและควบคุมงบประมาณ
12
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการหรือการบริหาร
 การจัดการ(Management)
หมายถึงเป็ นการดาเนิ นงานให้บรรลุเป้ าหมาย และใช้งานในระดับทัว่ ไปของ
องค์กรเช่น การจัดการการผลิต การจัดการตลาด และการจัดการทางการเงิน
เป็ นต้นจะใช้ในภาคเอกชน
 การบริ หาร(Administration)
ส่ วนมากใช้กบั การบริ หารระดับสู ง ให้ความสาคัญกับ การวางแผนและ การ
กาหนดนโยบาย หรื อครอบคลุมการดาเนิ นงานในระดับกว้าง โดยเฉพาะ
การดาเนิ นงานของราชการหรื อสาธารณะ ตลอดจนการบริ หารส่ วนกลาง
และธุรการ
13
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการหรือการบริหาร
(Management Information Systeme:MIS)
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการหรือการบริหารหมายถึง
เครื่องมือหรืออุปกรณ์ ทที่ าหน้ าทีร่ วบรวบข้ อมูลเพือ่ ศึกษา และ
ประมวลผลข้ อมูลนั้น พร้ อมทั้งมีการจัดทารายงานข้ อมูลให้ อยู่ในรูปที่
จะนามาใช้ ในการปฏิบัติงาน และตัดสิ นใจในหน่ วยงานได้
14
คุณลักษณะของสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
ไม่ มีโครงสร้ าง
ไม่ แสดงรายละเอียด
ความไม่ แน่ นอนสู ง
สารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
แหล่ งข้ อมูลไม่ เป็ นทางการ
ให้ ความสาคัญกับอนาคต
15
ข้ อมูล, สารสนเทศ, ความรู้
ระบบสารสนเทศสร้ างขึน้ มาเพือ่
จุ ด มุ่ ง หมายหลายประการ จุ ด มุ่ ง หมายพื้น ฐานประการหนึ่ ง คื อ การ
ประมวลผลข้ อมูล (Data) ให้ เป็ นสารสนเทศ (Information) และ
นาไปสู่ ความรู้ (Knowledge) ทีช่ ่ วยแก้ปัญหาในการดาเนินงาน
16
ข้ อมูล, สารสนเทศ, ความรู้
ความหมายของข้ อมูล
ข้ อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรื อข้อมูลดิบที่ยงั ไม่
ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนาไปใช้งาน ข้อมูล
อาจเป็ นตั ว เลข ตั ว อั ก ษร สั ญ ลั ก ษณ์ รู ปภาพ เสี ยง หรื อ
ภาพเคลื่อนไหว
17
ข้ อมูล, สารสนเทศ, ความรู้
ความหมายของสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information)
คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการ
ประมวลผลหรื อ จัด ระบบแล้ว เพื่ อ ให้มี ค วามหมายและคุ ณ ค่ า
สาหรับผูใ้ ช้
18
ข้ อมูล, สารสนเทศ, ความรู้
ความหมายของความรู้
ความรู้ (Knowledge)
คือ สิ่ งที่รู้ ซึ่ งได้จากการเรี ยนรู ้สารสนเทศหรื อ
ประสบการณ์ที่ได้สงั่ สมมาโดยวิธีตรรกะหรื อการวินิจฉัย หรื อ
สารสนเทศบวกกับการประมวลผลเพื่อให้เกิ ดผลลัพธ์ ความรู ้ และความ
เข้าใจในการนาสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหาในการดาเนินงาน
19
ข้ อมูล, สารสนเทศ, ความรู้
ข้ อมูล
(Data)
ประมวลผล
ข้ อมูล(Data
Processing)
สารสนเทศ
ความรู้
(Information)
(Knowledge)
20
แหล่ งข้ อมูลสาหรับผู้บริหาร
ข้ อมูลจากการดาเนินงาน
ข้ อมูลจากภายในองค์ การ
ผู้บริหาร
ตัดสิ นใจ
ข้ อมูลจากภายนอกองค์ การ
21
องค์ กรและสภาพแวดล้ อม
บทบาทความสาคัญของสารสนเทศ
เป็ นผลเนื่องมาจากการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้ อม
Toffler (1980) ได้ แบ่ งวิวฒ
ั นาการของสั งคมโลกออกเป็ น
3 ยุค คือ
ยุคเกษตรกรรม » ที่ดิน, แรงงาน
 ยุคอุตสาหกรรม » คน, เครื่ องจักร
 ยุคสารสนเทศ » ข้ อมูล, ข่ าวสาร, ความรู้

22
การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจตาม 3 กระแสคลืน่
มาตรฐานความเป็ นอยู่
จุดแห่ งการเปลีย่ นแปลง
ยุคข่ าวสาร
1960 - 2000
ยุคอุตสาหกรรม
1750 - 1850
ยุคเกษตรกรรม
เวลา
23
องค์ กรและสภาพแวดล้ อม
 การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้ อมในปัจจุบันทาให้ สารสนเทศมี
ความสาคัญเพิม่ ขึน้ โดยเน้ นประเด็นต่ อไปนี้
ระบบเศรษฐกิจยุคใหม่
การเปลีย่ นแปลงด้ านองค์ การและการบริหาร
การเปลีย่ นแปลงด้ านเทคโนโลยี
24
องค์ กรและสภาพแวดล้ อม
การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนาอย่ างรวดเร็ว สามารถตอบสนองความ
ต้ องการของผู้ ใช้ ได้ มากขึ้ น ราคาถู ก ลง มี รู ปแบบการสื่ อสาร
โทรคมนาคมที่หลากหลาย เทคโนโลยีมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงการ
ด าเนิ น ธุ ร กิ จ และการท างานสาขาวิ ช าชี พ ต่ า ง ๆ เช่ น การแพทย์ ,
วิทยาศาสตร์ , ประวัติศาสตร์ , ปรัชญา, รัฐศาสตร์ , ดนตรี ฯลฯ
25
26
27
28
29
30
31
32
33
การไหลเวียนของสารสนเทศภายในองค์ กร
ระหว่างองค์ กร และโลกภายนอก
พรมแดนขององค์ กร
ที่ปรึกษาทางวิชาชีพ
องค์ กรที่ออกระเบียบ
ลูกค้ า
คู่แข่ ง
บุคคล
การเงิน
ผู้จัดหาสิ นค้ า
การตลาด
การผลิต
ตัวแทนจาหน่ าย
องค์ กรการค้ าและวิชาชีพ
พรมแดนขององค์ กร
34
อุปสรรคการไหลเวียนของสารสนเทศในองค์ กร
1.
2.
3.
4.
การเมืองในองค์ กร
การบิดเบือนสารสนเทศ
การขาดแรงประสานร่ วมมือ
อุปสรรคด้ านการสื่ อสาร
35
บทบาทของนักบริหารและผู้ปฏิบัตงิ านเกีย่ วกับสารสนเทศ
1. what (กาหนดสารสนเทศที่ต้องการ )
โดยพิจารณาจาก ลักษณะงาน หรื อหน้าที่ของหน่วยงาน
2. when (พิจารณาเวลา ) ที่ต้องใช้ สารสนเทศนั้น
เพื่อกาหนดเวลารวบรวม ประมวลผล จัดทารายงาน
3. where (ทราบว่ าจะหาสารสนเทศดังกล่าวได้ ที่ไหน )
จาก แหล่งข้อมูลภายใน หรื อภายนอก
4. why (เข้ าใจว่ าทาไม )
จึงต้องมีสารสนเทศนั้น ทราบถึงสาเหตุในการเก็บรวบรวมข้อมูล
36
บทบาทของนักบริหารและผู้ปฏิบัตงิ านเกีย่ วกับสารสนเทศ
5. for whom (ทราบว่ าผู้ใช้ สารสนเทศคือใคร )
เพื่อจะได้จดั ทา รู ปแบบการนาเสนอให้เหมาะสม
6. how (จะใช้ เครื่องมืออะไร )
ในการเก็บรวบรวม ประมวลผล รักษาสารสนเทศ
7. สามารถเข้ าใจความหมายของสารสนเทศที่หามาได้
8. สามารถดาเนินการหรื อปฏิบัติงานได้ อย่ างเหมาะสม
9. ใช้ สารสนเทศอย่ างถูกต้ องตามกฎหมายและอย่ างมีจริ ยธรรม
37
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
กาหนดลักษณะของสารสนเทศที่ดีไว้ 4 มิติ คือ
 มิติด้านเวลา (Time)
 มิติด้านเนือ
้ หา (Content)
 มิติด้านรู ปแบบ (Format)
 มิติด้านกระบวนการ (Process)
38
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มิติด้านเวลา
การทันเวลา (Timeliness) »สามารถหาได้รวดเร็ วทันเวลาที่ตอ้ งการ
 ความเป็ นปัจจุบัน (Up-to-date)» มีการปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปั จจุบน
ั
อยูเ่ สมอ
 มีระยะเวลา (Time Period) » มีขอ้ มูลทั้งในอดีต ปั จจุบน
ั และอนาคต
ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ต่อการวางแผนและการตัดสิ นใจ

39
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มิติด้านเนือ้ หา
ความถูกต้องเที่ยงตรง » สารสนเทศซึ่งไม่มีขอ้ ผิดพลาด
ั เรื่ อง » สอดคล้องกับเรื่ องที่ตอ้ งการ
 ความสัมพันธ์กบ
 ความสมบูรณ์ » คลอบคลุมรายละเอียดที่สาคัญทุกเรื่ องที่ตอ้ งการทราบ
่ บั การเก็บรวบรวมข้อมูล
 ความน่าเชื่อถือได้ » ขึ้นอยูก
และแหล่งที่มาของข้อมูล
 ตรวจสอบได้ » ตรวจสอบความถูกต้องและแหล่งที่มา

40
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มิติด้านรู ปแบบ
ความชัดเจน
 ระดับของการนาเสนอรายละเอียด
 รู ปแบบการนาเสนอ
 สื่ อในการนาเสนอ
 ความยืดหยุ่น
 ความประหยัด

41
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มิติด้านกระบวนการ
 ความสามารถในการเข้ าถึง
 การมีส่วนร่ วม
 การเชื่ อมโยง
42
ประโยชน์ ของสารสนเทศ
สารสนเทศที่ดีมีประโยชน์ ในด้ านต่ อไปนี้




ประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
ประสิ ทธิผล (Effectiveness)
ความได้ เปรียบในการแข่ งขัน (Competitive Advantage)
คุณภาพชีวติ การทางาน (Quality of Working Life)
43
ประโยชน์ ของสารสนเทศ
ประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
1.
2.
3.
4.
5.
ระบบสารสนเทศทาให้ การปฏิบัติงานมีความรวดเร็ว
ระบบสารสนเทศช่ วยในการเข้ าถึงข้ อมูลขนาดใหญ่ ได้ อย่ างรวดเร็ว
ระบบสารสนเทศช่ วยให้ การติดต่ อสื่ อสารเป็ นไปได้ อย่ างรวดเร็ว
ช่ วยลดต้ นทุน
ช่ วยให้ การประสานงานระหว่ างฝ่ ายต่ าง ๆ เป็ นไปได้ ด้วยดี
44
ประโยชน์ ของสารสนเทศ
ประสิ ทธิผล (Effectiveness)
1.
2.
3.
ระบบสารสนเทศช่ วยในการตัดสิ นใจ ส่ งผลให้ การดาเนินงานบรรลุ
วัตถุประสงค์ ได้
ระบบสารสนเทศช่ วยในการเลือกผลิตสิ นค้ า/บริการที่เหมาะสม
ระบบสารสนเทศช่ วยในการปรับปรุงคุณภาพของสิ นค้ า/บริการให้ ดีขนึ้
, ทาได้ ถูกต้ องและรวดเร็วขึน้ , ตรงกับความต้ องการของลูกค้ าได้ ดีขนึ้
45
ประโยชน์ ของสารสนเทศ
ความได้ เปรียบในการแข่ งขัน (Competitive Advantage)
มีการนาสารสนเทศมาใช้ และทาให้ เกิดการบริหาร/จัดการงานแบบ
ใหม่ เช่ น Supply Chain Management, Good Governance,
E-Business, E-Government, E-commerce, Re-engineering,
Knowledge Management, Virtual Organization เป็ นต้ น
46
ประโยชน์ ของสารสนเทศ
คุณภาพชีวติ การทางาน (Quality of Working Life)
เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ เกิดเครื่องมือการทางานแบบใหม่
เช่ น Internet, E-mail, Hand phone และทาให้ เกิดการทางานรู ปแบบ
ใหม่ ๆ เช่ น Video Conferencing,
Virtual Organization เป็ นต้ น ซึ่งทาให้ ประหยัดทรัพยากร และ
เพิม่ คุณภาพการเป็ นอยู่ของคนได้
47
หลักการและแนวคิดในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพือ่ การบริหารและการจัดการ
2
48
บทนีม้ อี ะไรบ้ าง ?
1.
2.
3.
4.
หลักการและแนวคิดในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การ
บริหารและการจัดการ
ความสั มพันธ์ ระหว่ างระบบ
สารสนเทศกับองค์ การและการ
จัดการ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ตามการสนับสนุนการบริหาร
ระบบสารสนเทศแบบ
ประมวลผลรายการ
5. ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การ
จัดการ
6. ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ
7. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
8. ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
9. ระบบผู้เชี่ยวชาญ
49
หลักการและแนวคิดในการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศเพือ่ การบริหารและการจัดการ
คอดซ์ (koch) และกอดเดน(Goden) เสนอว่ า
งานของผู้บริหารอาจจัดสรุปได้ 8 ประเภทคือ
1.
ผู้ติดต่ อ(บทบาทเชื่องโยง และหัวโขน)
2.
ผู้บริหารการเมือง(เน้ นบทบาทโฆษกและผู้
ประนีประนอม)
3.
ผู้ประกอบการ(บทบาทประนีประนอม
และประกอบการ)
4.
คนใน(บทบาทจัดสรรทรัพยากร)
5. ผู้บริหารทันเวลา (บทบาท
แก้ ปัญหาจัดการสิ่ งรบกวน)
6. ผู้บริหารทีม(บทบาทผู้นา)
7. ผู้เชี่ยวชาญ (บทบาทผู้เฝ้ า
ติดตามและโฆษก)
8. ผู้บริหารใหม่ (บทบาทเฝ้ า
ติดตาม และเชื่อมโยง)
50
ความสั มพันธ์ ระหว่างระบบสารสนเทศ
กับองค์ การและการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เป็ นเรื่ ององค์ การและการ
จัดการและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ เกิดประโยชน์
ประมีประสิ ทธิผล โดยจะต้ องเข้ าใจถึง
• สิ่ งแวดล้ อม
• โครงสร้ างหน้ าที่การทางาน
• วัฒนธรรม การเมือง ภายในองค์ การ
• ตลอดจนบทบาทของผู้บริ หารและระบบการตัดสิ นใจ
51
องค์ ประกอบทีส่ นับสนุนระบบสารสนเทศ
• คน
• โครงสร้ าง
• หน้ าที่
องค์ การ
• ระบบการทางาน
• วัฒนธรรม
• การเมือง
MIS
• สิ่ งแวดล้อม
• ฮาร์ ดแวร์
• ซอร์ ฟแวร์
• ฐานข้ อมูล เทคโนโลยี
• การสื่ อสาร
โทรคมนาคม
การจัดการหรือการบริหาร
•บทบาทของผู้บริหาร
• ระบบการตัดสิ นใจ
• การวางนโยบาย/ แผน
• การนาไปปฏิบตั ิ
52
ความสั มพันธ์ ระหว่ างองค์ การและระบบสารสนเทศ
ฮาร์ ดแวร์
กลยุทธ์
ข้ อบังคับ
ขั้นตอน
ซอฟท์ แวร์
ฐานข้ อมูล
การพึง่ พา
โทรคมนาคม
องค์ การ
ระบบสารสนเทศ
53
องค์ ประกอบต่ างๆที่สัมพันธ์ ระหว่ างองค์ การและระบบ
สารสนเทศ มีดังนี้
1.
2.
องค์ ประกอบสาคัญภายในองค์ การทีม่ ีผลต่ อการพัฒนาระบบสารสนเทศ
- กลยุทธ์
- กฎเกณฑ์
- ขั้นตอน
ระบบสารสนเทศทีด่ คี วรประกอบด้ วย
- ซอฟแวร์ (Software)
- ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
- ฐานข้อมูล (Database)
- โทรคมนาคม( Telecommunication)3
54
องค์ ประกอบพืน้ ฐานในการนาหรือแนวทาง
ในการนาระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการมาใช้ ในองค์ การ
แนวทางด้ านเทคนิค
Technical
Approach คอมพิวเตอร์
วิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร
Computer science
วิทยาการการจัดการ
Management Science
Operation Research
MIS
องค์ การ
Organization
จิตวิทยา
สั งคมวิทยา
Psychology
Sociology
แนวทางด้ านพฤติกรรม
Behavioral Approach
55
แนวทางเกีย่ วกับระบบสารสนเทศ
แนวทางด้ านเทคนิค
เน้ นเรื่องเทคโนโลยีด้านกายภาพ และความสามารถในด้ านเทคนิคของ
ระบบ ความรู้ ทใี่ ช้ ในแนวทางนีไ้ ด้ แก่



วิทยาการจัดการ » เน้นเรื่ องการพัฒนาโมเดลในการตัดสิ นใจ
และการจัดการ
Computer Science » สนใจการสร้างทฤษฎีและวิธีการทางาน
ของคอมพิวเตอร์ วิธีเก็บรวบรวมและการเข้าถึงข้อมูล
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ » เน้นเทคนิคทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อหาทาง
เลือกที่ดีที่สุด ในการบริ หาร การทางาน
56
แนวทางเกีย่ วกับระบบสารสนเทศ
แนวทางด้ านพฤติกรรม
เน้นที่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรมการบริ หาร รวมทั้งนโยบาย
องค์กร ความรู ้ที่ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่
วิชาองค์ กรและการจัดการ » ช่วยในการพิจารณาว่ากลุ่มหรื อ
องค์กรจะพัฒนาระบบอย่างไร และระบบนั้นจะมีผลต่อ
บุคคลอย่างไร
วิชาจิตวิทยา » ช่วยศึกษาพฤติกรรมของคนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ด้านเทคโนโลยีในองค์การ
สั งคมวิทยา » เป็ นเรื่ องผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อกลุ่ม
องค์การ และสังคม



57
แนวทางเกีย่ วกับระบบสารสนเทศ
แนวทางการผสมผสานด้ านเทคนิคและสั งคม
แนวคิดนี้เป็ นการผสมผสานแนวคิดด้านเทคนิคและพฤติกรรมเข้า
ด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดดุลยภาพระหว่างความพึง
พอใจของผูป้ ฏิบตั ิงาน และประสิ ทธิภาพของการทางาน แนวคิดนี้
เชื่อว่าองค์กรมีองค์ ประกอบทีส่ าคัญ 4 ประการ คือ งาน คน
โครงสร้ าง และเทคโนโลยี หากมีการเปลีย่ นแปลงปัจจัยหนึ่งจะ
ส่ งผลต่ อปัจจัยอืน่ ๆ ด้ วย
58
ระบบสารสนเทศ
ฮาร์ ดแวร์
คน
(People)
กระบวนการ
(Procedure)
ฐานข้ อมูล
เครือข่ าย
(Network)
ซอฟท์ แวร์
องค์ กร
ระบบสารสนเทศ
59
ระบบสารสนเทศสามารถแบ่ งเป็ นประเภทใหญ่ ๆตามการให้
การสนับสนุนสาหรับการบริหาร
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสู ง(Excutive Support System:ESS)
ระบบสารสนเทศสาหรับการบริการจัดการ(Management Information
System:MIS)
ระบบสนับการตัดสิ นใจ (Decision Support System:DSS)
ระบบชานาญการ(Knowledge Work System:KWS)
ระบบสารสนเทศสานักงานหรือสานักงานอัตโนมัติ(Office
Information System:OIS)
ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ (Transaction Processing System:TPS)
60
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศจาแนก
ตามโครงสร้ างขององค์กร
•ระบบสารสนเทศของหน่ วยงาน
ระบบสารสนเทศจาแนก
ตามหน้ าที่หลักขององค์กร
•ระบบสารสนเทศด้ านบัญชี
Departmental IS
•ระบบสารสนเทศด้ านการเงิน
•ระบบสารสนเทศขององค์ กร
•ระบบสารสนเทศด้ านการผลิต
Enterprise IS
•ระบบสารสนเทศระหว่ างองค์ กร •ระบบสารสนเทศด้ านทรัพยากร
มนุษย์
Interorganizational IS
ระบบสารสนเทศจาแนก
ตามการสนับสนุน
•TPS
•MRS
•DSS
EIS
GIS
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ปัญญาประดิษฐ์
หรือระบบผู้เชี่ยวชาญ
•Expert System
•Neural Networks
•Genetic Algorithm
61
ระดับการบริหารและสารสนเทศ
EIS
MIS/
GIS
ผู้บริหารระดับ
การวางแผนกลยุทธ์ (CEO)
DSS
ผู้บริหารระดับการ
วางแผนการบริหารกลยุทธ์
ผู้บริหารระดับวางแผน
ปฏิบัติการบริหาร
TPS
แสดงความสั มพันธ์ ระดับขั้นของข้ อมูลจากระดับปฏิบัติการ ไปสู่ ผู้บริหารระดับสู งCEO
62
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสู ง (EIS)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (ES)
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (DSS)
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ/
ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (MIS/GIS)
ระบบการประมวลด้ วยรายการเปลีย่ นแปลง/ระบบสานักงานอัตโนมัติ(TPS/DAS)
63
TPS MRS DSS
การตัดสิ นใจแบบ
ไม่ มีโครงสร้ าง
ผู้บริหาร
ระดับสู ง
DSS
การตัดสิ นใจแบบ
กึง่ มีโครงสร้ าง
การตัดสิ นใจแบบ
มีโครงสร้ าง
ผู้บริหารระดับกลาง
MRS
ระดับปฏิบัตกิ าร
TPS
ลักษณะสารสนเทศ
•ไม่ ได้ กาหนดล่ วงหน้ า
•นาเสนอแบบสรุ ป
•เกิดขึน้ ไม่ บ่อย
•มองในอนาคต
•แหล่ งข้ อมูลภายนอก
•ขอบเขตกว้ าง
•กาหนดล่ วงหน้ า
•มีรายละเอียดมาก
•เกิดขึน้ ประจา
•ข้ อมูลในอตีต
•แหล่ งข้ อมูลภายใน
•ขอบเขตแคบชัดเจน
64
ระบบย่ อยของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
ระบบปฏิบตั ิการทางธุรกิจ
Transaction processing system:TPS
ระบบจัดทารายงานสาหรับการจัดการ
Management reporting system:MRS
ระบบย่ อยของMIS
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
Decision supporting system:DSS
ระบบสารสนเทศสานักงาน
Office information system:OIS
65
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
Transaction Processing Systems-TPS
 ระบบสารสนเทศทีเ่ น้ นกระบวนการบันทึก ประมวลผลข้ อมูลทีเ่ กิดจาก
ธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจาหรืองานขั้นพืน้ ฐานขององค์กร เช่ น
การซื้อขายสิ นค้ า การบันทึกจานวนวัสดุคงคลัง
 จะต้ องมีการบันทึกข้ อมูลทันทีทุกครั้ งทีม
่ ีการขายสิ นค้า ซึ่งจะเกีย่ วข้ อง
กับข้ อมูลลูกค้ า จานวนของสิ นค้ าทีข่ ายไป และการชาระเงิน
66
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
วัตถุประสงค์
1) มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดทีห
่ น่ วยงานต้ องการตามนโยบาย
ของหน่ วยงาน หรือตามกฎหมาย เพือ่ ช่ วยในการปฏิบัติงาน
2) เพือ
่ เอือ้ อานวยต่ อการปฏิบัติงานประจาให้ มีความรวดเร็ว
3) เพือ
่ เป็ นหลักประกันว่ าข้ อมูลและสารสนเทศของหน่ วยงานมี
ความถูกต้ องเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันและรักษาความลับได้
4) เพือ
่ เป็ นสารสนเทศทีป่ ้ อนข้ อมูลเข้ าสู่ ระบบสารสนเทศทีใ่ ช้ ใน
การตัดสิ นในอืน่ เช่ น MRS หรือ DSS
67
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
หน้ าที่
1) การจัดกลุ่มของข้อมูล(Classification)
2) การคิดคานวณ(Calculation)
3) การเรี ยงลาดับข้อมูล(Sorting)
4) การสรุ ปข้อมูล(Summarizing)
5) การเก็บ(Storage)
68
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
ลักษณะสาคัญ
1)
2)
3)
4)
มีการประมวลผลข้อมูลเป็ นจานวนมาก
แหล่งข้อมูลส่ วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อ
ตอบสนองต่อผูใ้ ช้ภายในองค์กรเป็ นหลัก
กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดาเนินการเป็ นประจา
เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน
มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจานวนมาก
69
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
ลักษณะสาคัญ
5)
6)
7)
8)
9)
มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ ว
TPS จะคอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังจากที่ผลิต
ข้อมูลออกมาแล้ว
ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลกั ษณะมี
โครงสร้างที่ชดั เจน(structured data)
ความซับซ้อนในการคิดคานวณมีนอ้ ย
มีความแม่นยาและความน่าเชื่อถือค่อนข้างสูง
70
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การจัดการ
Management Reporting Systems-MRS
ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการทางานงานตามระยะเวลาที่
กาหนดไว้ โดยการสรุ ปสารสนเทศที่มีอยูไ่ ว้ในฐานข้อมูล
(Haag et al., 2000: 54) หรื อช่วยในการตัดสิ นใจในลักษณะ
ที่มีโครงสร้างชัดเจน และเป็ นเรื่ องที่ทราบล่วงหน้า
บางครั้งเรียกว่า Management Information System-MIS
71
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การจัดการ
หน้ าที่
 ช่วยในการตัดสิ นใจในงานประจาของผูบ
้ ริ หารระดับกลาง
 ช่วยในการทารายงาน
 ช่วยในการตัดสิ นใจที่เป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ และมีโครงสร้าง
แน่นอน เช่น การอนุมตั ิสินเชื่อให้กบั ลูกค้า
72
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การจัดการ
ลักษณะ
ช่วยในการจัดทารายงานซึ่งมีรูปแบบที่กาหนดไว้เป็ นมาตรฐานตายตัว
ใช้ขอ้ มูลภายในที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล
ช่วยในการวางแผนงานประจา และควบคุมการทางาน
ช่วยในการตัดสิ นใจที่เกิดขึ้นประจาหรื อเกิดขึ้นบ่อยๆ
มีขอ้ มูลในอดีต ปั จจุบนั และวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคต
ติดตามการดาเนิ นงานภายในหน่วยงานเปรี ยบเทียบผลการดาเนิ นงาน
กับเป้ าหมายและส่ งสัญญาณหากมีจุดใดที่ตอ้ งการปรับปรุ งแก้ไข
73
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพือ่ การจัดการ
จัดทารายงาน
MRS
เพื่อให้ผใู้ ช้ทราบ
สถานการณ์
หรื อปัญหา
74
ระบบจัดทารายงานเพือ่ การจัดการ
สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ผลิตรายงานตามตารางที่กาหนด
ระบบจัดทารายงาน
สาหรับการจัดการ
Management reporting system
ผลิตรายงานตามรู ปแบบที่กาหนด
รวบรวมและประมวลผลข้อมูล
ผลิตรายงานออกมาในรู ปแบบกระดาษ
75
ระบบจัดทารายงานเพือ่ การจัดการ (ต่ อ)
ตรงประเด็น
คุณสมบัติของสารสนเทศ
ความถูกต้ อง
ถูกเวลา
สามารถพิสูจน์ ได้
รู ป คุณสมบัติของ MRS
ประเภทของงานสานักงาน
การตัดสิ นใจ
การจัดเอกสาร
รู ปประเภทของงานสานักงาน
การเก็บรักษา
การจัดเตรียมข้ อมูล
การติดต่ อสื่ อสาร
76
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
Decision Support Systems-DSS
ลักษณะของ DSS
1.
ใช้สาหรับประกอบการตัดสิ นใจที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่มีลกั ษณะ
เป็ นแบบไม่มีโครงสร้าง(unstructured situations) โดยจะมีการนา
วิจารณญาณของมนุษย์กบั ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบใน
การตัดสิ นใจ
2.
ระบบ DSS ช่วยในการตอบสนองความต้องการที่ไม่ได้คาดการณ์มา
ก่อน
3.
ช่วยในการตัดสิ นในที่ตอ้ งความรวดเร็ วสูง
77
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
Decision Support Systems-DSS
ลักษณะของ DSS
4. จัดการเก็บข้อมูลซึ่ งมาจากหายแหล่งได้ ทั้งภายในและ
ภายนอกหน่วยงาน
5. นาเสนอได้ท้ งั รายงานที่เป็ นข้อความและกราฟิ ก
78
ความสั มพันธ์ ระหว่ าง TPS,MRS และ DSS
ฐานข้ อมูล
ของหน่ วยงาน
ธุรกรรม
TPS
ฐานข้ อมูล
ของธุรกรรม
ทีถ่ ูกต้ อง
ฐานข้ อมูล
จากภายนอก
DSS
MRS
ฐานข้ อมูลของ
แอพพลิเคชัน
EIS
GIS
ฐานข้ อมูล
การปฏิบตั ิงาน
รายงาน
79
ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
ประเภทของ DSS
ระบบที่สนับสนุนการตัดสิ นใจของบุคคล(Executive Information
Systems-EIS)
ระบบที่สนับสนุนการตัดสิ นใจของกลุ่ม(Group Decision Support
Systems-GDSS)
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information Systems-GIS)
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ(Expert Systems-ES)
80
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
Executive Information Systems-EIS
เป็ นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ DSS ที่สนับสนุนการทางานของ
ผูบ้ ริ หารระดับสูงโดยเฉพาะเรื่ องที่มีความสาคัญขององค์กร หรื อเรื่ องทิศ
ทางการดาเนินงานขององค์กร โดยทาให้การเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ
เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว
มีรูปแบบที่ใช้งานง่าย
81
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
หน้ าที่ของ EIS
ช่วยในการวางแผนกลยุทธ์
ช่วยในการควบคุมเชิงกลยุทธ์(Strategic control)
การสร้างเครื อข่าย(Networks)
ช่วยในการติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
ช่วยในการจัดการกับวิกฤต(Crisis management)
82
Executive Information Systems-EIS
ดาต้ าแวร์ เฮาส์
•สารสนเทศจากภายใน
•สารสนเทศจากภายนอก
สามารถเข้าถึงสารสนเทศ
ได้ทุกประเภท
EIS
•วิเคราะห์/ตัดสิ นใจ
•เจาะลึกข้อมูล
•ซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ป
•ใช้ DSS และ AI
สนับสนุนการทารายงาน
ช่วยผูบ้ ริ หารระบุปัญหา
ในลักษณะยืดหยุน่ และ
และสร้างโอกาส
เป็ นเครื่ องมือวิเคราะห์สารสนเทศ
83
คุณสมบัตขิ อง EIS
สนับสนุนการวางกลยุทธ์ และการวางแผนกลยุทธ์
เชื่อมโยงกับสิ่ งแวดล้อมภายนอกองค์การ โดยเฉพาะข่าวสารที่เกิด
จากสิ่ งแวดล้อมภายนอก
มีความสามารถในการคานวณภาพกว้าง เนื่องจากต้องเกี่ยวข้องกับ
ปัญหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอนและขาดความชัดเจน
ง่ายต่อการเรี ยนรู ้และใช้งาน เนื่องจากผูบ้ ริ หารมีกิจกรรมที่หลาหลาย
หรื ออาจจะกล่าวได้วา่ เวลาของผูบ้ ริ หารมีค่ามาก
พัฒนาเฉพาะสาหรับผูบ้ ริ หาร
84
ระบบสารสนเทศสาหรับสานักงาน
ระบบจัดการเอกสาร
ระบบสารสนเทศ
สาหรับสานักงาน
ระบบควบคุมและส่ งผ่านข่าวสาร
ระบบประชุมทางไกล
ระบบสนับสนุนการดาเนินงาน
ในสานักงาน
85
ระบบสารสนเทศสาหรับสานักงาน
การประมวลคา
การผลิตเอกสารหลายชุด
การออกแบบเอกสาร
ระบบจัดการเอกสาร
การประมวลรู ปภาพ
การเก็บรักษา
รู ป ระบบจัดการเอกสาร
ระบบควบคุมและส่ งผ่ านข่ าวสาร
โทรสาร
ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์
รู ป ระบบควบคุมและส่ งผ่ านข่ าวสาร
ไปรษณีย์เสี ยง
86
ระบบสารสนเทศสาหรับสานักงาน
การประชุมทางไกลที่ใช้ท้ งั เสี ยงและภาพ
ระบบประชุมทางไกล
การประชุมทางไกลใช้เฉพาะเสี ยง
การประชุมโดยใช้คอมพิวเตอร์
โทรทัศน์ภายใน
การปฏิบตั ิงานผ่านระบบสื่ อสารทางไกล
รู ป ระบบประชุ มทางไกล
ระบบสนับสนุนการดาเนินงานในสานักงาน
ชุดคาสั่ งสาหรับกลุ่ม ระบบจัดระเบียบงาน คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบ การนาเสนอประกอบภาพ
รู ป ระบบสนับสนุนการดาเนินงานในสานักงาน
กระดานข่ าวสารใน
สานักงาน
87
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS
ย่ อมาจากคาว่ าGeographic Information System
การนาเอาระบบคอมพิวเตอร์ มาใช้ ในการรวบรวมข้ อมูล ซึ่งกระจายอยู่ใน
รูปต่ าง ๆ เช่ น แผนที่ สถิติ - ตาราง และคาบรรยายมาจัดเก็บไว้ ให้ เป็ น
หมวดหมู่ในระบบทีอ่ ้างอิงพิกดั ภูมศิ าสตร์ เพือ่ สะดวกในการแสดงผล
และเรียกค้ นข้ อมูลได้ รวดเร็วถูกต้ องง่ ายต่ อการประมวลผล ตลอดจน
การวิเคราะห์ เพือ่ ที่จะนาไปใช้ ในการวางแผนหรือแก้ไขปัญหาต่ าง ๆ ตาม
วัตถุประสงค์ ของผู้ใช้ ต่อไป
88
องค์ ประกอบระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
Software
Hardware
Data
GIS
People
Process
89
เรานา GIS ไปใช้ ทาอะไรบ้ าง
1.
2.
3.
4.
5.
Location เป็ นการสอบถามข้ อมูลจากแผนที่ เช่น อยากรู ้วา่ ใครเป็ นเจ้าของ
บ้านหลังนี้ เป็ นต้น หรื อค้นหาตาแหน่งที่ตอ้ งการ เช่น อยากรู ้วา่ บ้านนาย
สมชายอยูท่ ี่ไหน เป็ นต้น
Condition เป็ นการค้ นหาข้ อมูลในระดับทีส่ ู งขึน้ มาโดยการให้เงื่อนไขใน
การค้นหาข้อมูล เช่น หาว่าแปลงที่ดินแปลงใดบ้างในจังหวัดนนทบุรีที่มี
พื้นที่มากกว่า 20 ไร่ เป็ นต้น
Trends เป็ นการวิเคราะห์ รูปแบบการเปลีย่ นแปลงทางพืน้ ที่ ณ เวลาต่ างๆ
เช่น เปรี ยบเทียบการขยายตัวของเขตเมืองระหว่างปี 2520 ถึง 2549 เป็ นต้น
Patterns เป็ นการวิเคราะห์ เพือ่ ดูรูปแบบทางพืน้ ทีข่ องเหตุการณ์ ทสี่ นใจ เช่น
รู ปแบบการกระจายของโรคพืช เป็ นต้น
Modeling เป็ นการวิเคราะห์ เพือ่ ให้ ได้ คาตอบว่ า "จะเกิดอะไร ถ้ า...."
90
ปัญญาประดิษฐ์ และระบบผู้เชี่ยวชาญ
ปัญญาประดิษฐ์
- ประมวลสัญลักษณ์และ
ตัวเลข
- ไม่ดาเนินตามขั้นตอนทาง
คณิ ตศาสตร์
- ให้ความสาคัญกับการรับรู้
แบบแผน
ปัญญาประดิษฐ์
VS
ระบบสนเทศทั่วไป
ระบบสารสนเทศทั่วไป
- ประมวลทางคณิ ตสาสตร์
- วิเคราะห์และแก้ปัญหา
ตามขั้นตอนโดยใช้หลัก
คณิ ตศาสตร์
91
ประเภทของปัญญาประดิษฐ์ และระบบผู้เชี่ยวชาญ
การประมวลภาษาธรรมชาติ(Natural Language Processing)
เป็ นการพัฒนาใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษาที่มนุษย์ใช้
ประจาวัน
ระบบการมองเห็น(Vision Systems) ถูกพัฒนาเพื่อลอกเลียนการ
มองเห็นของบุคคล
ระบบเครือข่ ายเส้ นประสาท(Neural Network) เป็ นระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาให้จาลองการทางานของเส้นประสาท
สามารถสังเกต เรี ยนรู ้ การจดจา การทาซ้ า
หุ่นยนต์ (Robotics) ซึ่งสามารถนามาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
ต้องการความเที่ยงตรงในการผลิตสิ นค้าจานวนมากหรื อใช้ใน
งานที่เสี่ ยง
92
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ทาหน้ าที่เป็ นที่ปรึกษาแก่ ผ้ ูใช้ ในการให้ คาแนะนาที่ต้องอาศัย
ความเชี่ยวชาญในบางสาขา
มีลกั ษณะเป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทเี่ ก็บรวบรวมความรู้ ของ
ผู้เชี่ยวชาญเอาไว้ (Knowledge based)
โปรแกรมจะพยายามหาคาตอบจากสิ่ งที่ผ้ ูใช้ ได้ ป้อนเข้ าไป หรือ
ให้ คาแนะนาที่ได้ จากกฏที่กาหนดไว้
93
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ประโยชน์ ของ ES
ให้ คาแนะนาเกีย่ วกับความรู้ หรือความชานาญเฉพาะด้ าน
แก่ ผ้ ูใช้ โดยทั่วไป
ให้ ความช่ วยเหลือผู้เชี่ยวชาญ
ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ
94
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
กระจายความรู้ โดยเฉพาะสาขาที่ตอ้ งอาศัยบุคลากรที่มี
ความชานาญ เช่น แพทย์ นักการเงิน นักธรณี วทิ ยา
ความแน่ นอน เป็ นการสร้างความแน่นอนและความ
เที่ยงตรงให้เกิดขึ้น เช่น การวิเคราะห์หลักทรัพย์ หรื อ
การวิเคราะห์แหล่งแร่ เป็ นต้น
เตรียมการสาหรับอนาคต ลดความเสี่ ยงและป้ องกันการ
ขาดแคลนความรู้และประสบการณ์ในการตัดสิ นใจเมื่อ
เกิดความต้องการขึ้น
95
ตัวอย่ างของระบบผู้เชี่ยวชาญ
ด้ านการแพทย์
ด้ านการผลิต
ด้ านธรณีวทิ ยา
ด้ านกระบวนการผลิต
ด้ านกระบวนการทางานของบริษัทบัตรเครดิต
ด้ านกฎหมายระหว่างประเทศ
ด้ านการค้ าระหว่ างประเทศ
96
องค์ ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ
ฐานความรู้ (Knowledge base)
เครื่องมือในการการอนุมาน(Inference Engine)
อุปกรณ์ ช่วยในการอธิบาย(Explanation facility)
อุปกรณ์ ในการหาความรู้ (Knowledge acquisition facility)
การติดต่ อกับผู้ใช้ (User Interface)
97
ข้ อจากัดของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การเก็บความรู้ จากผู้เชี่ยวชาญทาได้ ยาก
การสร้ างกฎต่ างๆ ทาได้ ยาก
ใช้ แก้ ปัญหาได้ เฉพาะจุดเท่ านั้น
98
ระบบสารสนเทศเชิงกล
ยุทธ์
(Strategic Information Systems:
SIS)
3
99
บทนีม้ อี ะไรบ้ าง ?
 ข้ อพึงมีสาหรั บความสาเร็ จในการบริ หารจัดการ
 ความสาคัญของระบบสารสนเทศเชิ งกลยุทธ์
 ความหมายของระบบสารสนเทศเชิ งกลยุทธ์
 กรอบแนวคิดเรื่ องระบบสารสนเทศเชิ งกลยุทธ์
 ผลกระทบของสารสนเทศต่ อการแข่ งขัน
100
ข้ อพึงมีสาหรับความสาเร็จในการบริหารจัดการ
1.
2.
3.
ทักษะการจัดการ
บุคลิกภาพการจัดการ
การศึกษาและความรู้ด้านการจัดการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
การวางแผน
การวัดผลงาน
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
การจัดการดาเนินงาน
สารสนเทศ
การกาหนดโครงการ
101
ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ





การจัดการผู้ปฏิบัติงานให้ เป็ น
ทีมสร้ างผลงานหรือแผนกต่ างๆ
การพัฒนาคน
การสร้ างและรักษามาตรฐาน
กาหนดระดับผลงานและติดตาม
ผลให้ วสิ ั ยทัศน์
ป้ องกันและหยุดความขัดแย้ ง
นาคนที่เกีย่ วข้ องในองค์ กร
กระตุ้นผู้อนื่
จัดการความเปลีย่ นแปลง
การจัดการกับสภาวะวิกฤติ
การประนีประนอม
การตัดสิ นใจ
การวางแผน
การมีวนิ ัยและความทุกข์
การแบ่ งปันทรัพยากรและงบประมาณ
102
หน้ าทีท่ างการจัดการ
การวางแผน
การควบคุม
การจัดองค์ การ
ผู้บริหาร
การตัดสิ นใจ
การประสานงาน
103
สารสนเทศเพือ่ การบริหาร
ผู้บริหารควรจะคานึงองค์ ประกอบ 3ประการ
องค์ การ
MIS
เทคโนโลยี
การบริหารจัดการ
องค์ประกอบที่สนับสนุนระบบสารสนเทศ
104
ลักษณะการตัดสิ นใจของผู้บริหาร
การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์
การควบคุม
การตัดสิ นใจของผู้บริหาร
การตัดสิ นใจทางยุทธวิธี
การแก้ปัญหาเฉพาะหน้ า
105
ความสาคัญของระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
บทบาทที่สาคัญประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ คือ บทบาทใน
ด้านกลยุทธ์ที่สามารถเปลี่ยนแปลงลักษณะสิ นค้าหรื อบริ การ
กระบวนการทางาน องค์การ โครงสร้างอุตสาหกรรมและการ
แข่งขันได้ จึงมีหลายองค์กรที่ได้นาเอาระบบสารสนเทศมาเป็ น
เครื่ องมือ และสร้างความได้เปรี ยบในด้านการแข่งขัน
106
ความหมายของระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (SIS) คือ
ระบบคอมพิ ว เตอร์ ในระดั บ ใดก็ ต ามขององค์ ก ารซึ่ ง
สามารถเปลี่ย นแปลงวั ต ถุ ป ระสงค์ การด าเนิ น งาน
ผลผลิต การบริ การหรื อความสั มพันธ์ กับสิ่ งแวดล้ อม
ต่ าง ๆ ขององค์ การ เพื่อที่จะสร้ างความได้ เปรี ยบใน
การแข่ งขันกับองค์ การ
107
ความหมายของระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
 ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
(SIS) คือ
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนหรื อสร้างตัวแปรและกลยุทธ์ความ
ได้เปรี ยบในการแข่งขัน SIS อาจจะเป็ นระบบสารสนเทศแบบใดก็ได้
TPS, MRS, DSS, ฯลฯ ที่ช่วยทาให้ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน
เพิ่มขึ้น ลดความเสี ยเปรี ยบในการแข่งขัน หรื อช่วยในการบรรลุผล
ด้านกลยุทธ์อื่น ๆ
สรุป SIS คือ ระบบสารสนเทศใด ๆ ทีช่ ่ วยสนับสนุน กล
ยุทธ์ การสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขันขององค์กร
108
กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
ในการนาระบบสารสนเทศมาใช้ ในเชิงกลยุทธ์
ผู้บริ หารจาเป็ นต้ องเข้ าใจว่ า IT ไม่ ใช่ แค่ เครื่ องคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศจะต้ อ งมี อ งค์ ป ระกอบที่ ส าคัญ คือ ข้ อ มู ล
หรื อ สารสนเทศที่ป้อนเข้ าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ , ฮาร์ ดแวร์ ,
ซอฟต์ แวร์ , และเทคโนโลยีการสื่ อสาร
โดยต้ อ งพิ จ ารณาประกอบกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม, ความสามารถ,
กระบวนการในการทางาน, และระดับของการใช้ กลยุทธ์ ใ น
องค์ กรด้ วย
109
ความสั มพันธ์ ของกลยุทธ์ ด้านต่ างๆ
กลยุทธ์ของธุรกิจ
กลยุทธ์ขององค์กร
กลยุทธ์ดา้ นสารสนเทศ
110
กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
1.
กลยุทธ์ ของธุรกิจ:
เป็ นกรอบสาหรับกลยุทธ์ ขององค์ กรและกลยุทธ์ สารสนเทศ, เป็ น
ตั ว ก าหนดทิ ศ ทางของธุ ร กิ จ , เป็ นตั ว ก าหนดแผนเพื่ อ
ตอบสนองต่ อพลังของตลาด ความต้ องการของลูกค้ าและ
ความสามารถขององค์ กร
111
กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
2.
กลยุทธ์ ขององค์ การ :
เป็ นกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบองค์กร ควบคุมการดาเนิ นงานของ
องค์กรให้บรรลุวตั ถุประสงค์ตามกลยุทธ์ของธุรกิจได้
2.
กลยุทธ์ ด้านสารสนเทศ :
ใช้ในการสนับสนุ นกลยุทธ์ของธุ รกิ จ และกลยุทธ์ขององค์กร และสร้ าง
ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน
112
แผนเชิงกลยุทธ์ระดับบริ ษทั
ภารกิจและขอบเขตของระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS
mission and scope)
วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายนองของ
ระบบสารสนเทศ
(Analysis
โครงร่ างระบบสารสนเทศ (MIS
of MIS external environment)
area profile)
การวิเคราะห์ MIS เชิงกลยุทธ์และการเลือกกลยุทธ์ MIS
(Strategic MIS analysis and choice of MIS strategy)
โครงร่ างระบบสารสนเทศ
แผนงานหลักของ MIS
(MIS area profile)
(MIS Master plan)
โครงร่ างระบบสารสนเทศ
(MIS area profile)
แผนปฏิบตั ิงาน MIS
(MIS
operation plan)
การปฏิบตั ิการ MIS
(MIS Implementation)
นโยบาย MIS
(MIS policies)
113
ส่ วนประกอบต่ าง ๆ ในการวางแผนสารสนเทศเชิงกลยุทธ์

แผนกลยุทธ์ ของบริษทั :
คือ แผนซึ่งระบุวตั ถุประสงค์ในระยะยาวของธุรกิจ, ข้อเสนอในการ
บรรลุวตั ถุประสงค์น้ นั ซึ่งประกอบด้วย วิสยั ทัศน์ (Vision), ภารกิจ
(Mission), เป้ าหมาย (Goal), และวัตถุประสงค์ (Objective) ของ
องค์การ

ภารกิจและขอบเขตของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดกา
กาหนด ภารกิจเฉพาะของระบบ MIS เพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน
เพื่อให้บรรลุแผนกลยุทธ์ของบริ ษทั
114
ส่ วนประกอบต่ าง ๆ ในการวางแผนสารสนเทศเชิงกลยุทธ์

สิ่ งแวดล้อมภายนอก:
พิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานขององค์กร เช่น ลูกค้า
, คู่ แ ข่ ง ขัน , ผู ้เ สนอขายวัต ถุ ดิ บ , นโยบายรั ฐ บาล, และการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เป็ นต้น

การวิเคราะห์ MIS และการเลือกกลยุทธ์ MIS :
คือการพิจารณาเลือกกลยุทธ์หลาย ๆ กลยุทธ์ จากหลาย ๆ สถานการณ์ ที่
อาจจะเกิดขึ้น และตัดสิ นใจเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุด ณ สถานการณ์น้ นั
ๆ
115
ส่ วนประกอบต่ าง ๆ ในการวางแผนสารสนเทศเชิงกลยุทธ์

การปฏิบัตกิ าร MIS :
คือการดาเนิ นการตามแผนงาน และนโยบายต่าง ๆ ที่ได้วางไว้ ซึ่ ง
แผนงานอาจจะมีการกาหนดไว้ ทั้งแผนระยะสั้น และแผน
ระยะยาว เพื่อให้บรรลุ กลยุทธ์ที่ได้วางไว้
116
กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
กลยุทธ์ ในการสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
1)
2)
กลยุทธ์ การใช้ ต้นทุนต่า (Cost Leadership Strategy) เช่น Air Asia
ใช้ ระบบการจองตัว๋ ผ่านระบบ Internet ช่วยลดต้นทุนการจ้าง
พนักงานตัวแทนจาหน่าย
กลยุทธ์ สร้ างความแตกต่ าง (Differentiation Strategy)
เช่น โทรศัพท์มือถือ Hutch นาระบบ GIS เข้ามาใช้ เพื่ออานวยความ
สะดวกแก่ลูกค้าในการเลือกเส้นทางเดินทาง หรื อตรวจสอบที่อยูข่ อง
อีกฝ่ าย
117
กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
กลยุทธ์ ในการสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
กลยุทธ์ ในการเน้ นกลุ่มเป้ าหมาย (Focus Strategy)
เช่น บริ ษทั บัตรกรุ งไทย (KTC) เสนอทางเลือกการใช้บตั รให้แก่
สมาชิก โดยเจาะกลุ่มเป้ าหมายพฤติกรรมการใช้ของลูกค้า
4) กลยุทธ์ ด้านนวัตกรรม (Innovation Strategy)
เช่น ร้านหนังสื อ online ชื่อ amazon.com ได้นาระบบ
E-commerce มาใช้ในการดาเนิ นธุ รกิจ โดยที่ร้านไม่มีสถานที่ที่ต้ งั ให้
ลูกค้าได้ไปเยี่ยมชมเลือกซื้ อหนังสื อ แต่สามารถทากาไรได้หลาย
ร้อยล้านดอลลาร์ต่อปี
3)
118
กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
กลยุทธ์ ในการสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
4)
กลยุทธ์ ด้านพันธมิตร (Alliance Strategy)
เช่น บริ ษทั ชิน คอร์ ป ร่ วมมือกับ แอร์ เอเชีย ดาเนิ นธุ รกิจสาย
การบินแบบประหยัด (low cost) และพัฒนาระบบเกี่ ยวกับ
ระบบการให้บริ การ ตลอดจนแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ ร่ วมกัน
119
ผลกระทบของสารสนเทศต่ อการแข่ งขัน
สารสนเทศมีผลกระทบต่ อการแข่ งขัน 3 ประการ คือ
1.
สารสนเทศเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอุตสาหกรรม และ
เปลี่ยนแปลงกติกาในการแข่งขัน
2.
สารสนเทศทาให้เกิดการได้เปรี ยบในการแข่งขัน
3.
สารสนเทศสร้างธุรกิจใหม่
120
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิดที่มองในด้ านบวก




แนวคิดนีไ้ ม่ ว่าภายใต้ สถาณการณ์ ใด ๆ
แต่ควรจะมีการนาไปใช้อย่างแพร่ หลายและรวดเร็ ว
เชื่อว่ า IT เป็ นยาสารพัดโรคทีแ่ ก้ ปัญหาทุกอย่ างได้
เชื่อว่ า IT มีลกั ษณะเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ ในการควบคุมกระบวนการ
ทางานภายในองค์ กร
เชื่ อว่ า IT จะนาไปสู่ การจ้ างงานเพิ่มขึน้ , ทาให้มีการกระจาย
อานาจมากขึ้น, ทาให้การติดต่อสื่ อสารดีข้ ึน, ช่วยเพิ่มผลผลิต
121
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิดที่มองในด้ านลบ




มองว่ า องค์ กรประกอบด้ วยกลุ่ม คนที่มี ค วามขัดแย้ ง และกลุ่ มที่ มีอ านาจ
เหนือกว่าจะนา IT เข้ามาใช้ในการควบคุมการทางาน
มองว่ า IT จะนาไปสู่ การจ้ างงานทีล่ ดลง, ทาให้มีการรวมศูนย์อานาจมากขึ้น,
ทาให้มีสารสนเทศมากเกินไป และไม่ได้ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในผลผลิต
ที่แท้จริ งแต่อย่างใด
มองว่ า IT ทาให้ การทางานเป็ นลักษณะประจา, น่าเบื่อ, ทาให้ความพอใจและ
คุณภาพชีวิตการทางานลดลง
มองว่ า IT ทาให้ เกิดปัญหาต่ าง ๆ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ,สังคม ฯลฯ
122
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิดเชิงสั มพันธ์



มองว่ า IT จะเป็ นตัวแปรแทรกระหว่ างความสั มพันธ์ ระหว่ างคนและ
องค์ การ
มองว่ า IT จะเป็ นบวกหรือลบขึน้ อยู่กบั การสร้ างและการใช้ เทคโนโลยี
มองว่ า การออกแบบ IT ทีด่ ี คือ การสร้างดุลยภาพระหว่างความพอใจของ
ผูใ้ ช้และประสิ ทธิภาพด้านเทคนิค การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ที่ดีไม่
เพียงแต่ช่วยให้งานประสบความสาเร็ จ แต่ยงั ช่วยให้คนมีความพอใจในการ
ทางานเพิ่มขึ้นด้วย
123
*
การวางแผนและการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development)
4
124
บทนีม้ ีอะไรบ้ าง ?
1. การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์ การ
2. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
3. การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ
(System Development Life Cycle:
SDLC)
4. การสร้ างต้ นแบบ (Prototyping)
5. การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้ (End-User
Development)
6. การจ้ างบุคคลภายนอก
(Outsourcing)
7. การใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป
(Application Software Package)
8.การนาระบบสารสนเทศไปติดตั้ง
(System Implementation)
10.ปัจจัยทีน่ าไปสู่ ความสาเร็จหรือ
ล้มเหลว
11 สรุป
125
ความอยู่รอดและความเจริญรุ่งเรือง
ขององค์การ
ได้มาจากผลการทางานทีม่ ี
คุณภาพ(Quality)
ประสิทธิภาพ(Efficiency)
ประหยัด(Cost)
และต้องสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
โดยต้อง
เร็ วกว่า(Faster)
ถูกกว่า(Cheaper)
ดีกว่า(Better)
126
ความจาเป็ นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ


การเปลีย่ นแปลงกระบวนการการบริหารและการ
ปฏิบัติงาน
การปรับองค์ การและสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
กระบวนการธุรกิจ
บุคลากร
วิธีการและเทคนิค
เทคโนโลยี
งบประมาณ
ข้ อมูลและโครงสร้ างพืน้ ฐานภายใน
องค์ การ
การบริหารโครงการ
127
การจัดการองค์ การสมัยใหม่
องค์ กรแบบเครื่องจักร
องค์ กรแบบสิ่ งมีชีวติ
วัฒนธรรมองค์ กร
องค์ กร
คุณภาพ
องค์ กร
แห่ งการ
เรียนรู้
การจัดการ
ความรู้
ความฉลาดของ
องค์ กร
Organizational
Intelligence
องค์ กรบริหารตนเอง
Core competence
128
แนวคิดองค์ การคุณภาพทีน่ ามาเป็ นแนวทางการพัฒนา
องค์ กรเปรียบเสมือนคนทีม่ ี Head - Hand Heart
วัฒนธรรมองค์ การ
องค์ การบริหารตนเอง
การวางแผนกลยุทธ์
การตัดสิ นใจ
การเรียนรู้
ระบบสารสนเทศ
องค์ กรแบบเครื่องจักร
ประสิ ทธิภาพ/มาตรฐาน
เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ สถิติ
การจัดการปฏิบตั ิการ
จิตวิญญาณ
ความผูกพันต่ อคุณภาพ
สานึกต่ อลูกค้ าและสั งคม
องค์ กรแบบสิ่ งมีชีวติ
การมีส่วนร่ วม
การทางานเป็ นทีม
ความต้ องการของพนักงาน
129
การบริหารจัดการ นักบริหารใช้ : POLC
Planning
กาหนดสิ่ งทีต่ ้ องการบรรลุ
กาหนดวัตถุประสงค์ และ
ขั้นตอนทีจ่ ะบรรลุผล
Controlling
ตรวจสอบ ควบคุม ติดตาม
ผลงานกับเป้าหมายและ
ปรับปรุงแก้ ไขให้ ถูกต้ อง
Management
process
Organizing
จัดสรรทรัพยากร จัด
กิจกรรมของแต่ ละคนและ
กลุ่มเพือ่ ปฏิบตั ิตามแผน
Leading
กระตุ้นความกระตือรือร้ น
ของคนให้ ทางานหนักเพือ่
บรรลุแผนงานทีส่ าคัญ
130
กระบวนการวางแผนระบบสารสนเทศ
ภารกิจขององค์ การ
การประเมิน
สภาพแวดล้อม
แผนกลยุทธ์
ขององค์ การ
โครงสร้ างพืน้ ฐานเดิม
ด้ าน IT
แผนกลยุทธ์ ด้าน IT
โครงสร้ างพืน้ ฐานด้ าน IT
แผนปฏิบัตกิ ารด้ าน IT
โครงการด้ าน IT
131
การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์ การ
1. วิสัยทัศน์ และแผนกลยุทธ์ ขององค์ การ

วิสยั ทัศน์ : องค์การกาลังมุ่งไปในทิศทางใด

แผนกลยุทธ์ : องค์การจะเดินไปตามทิศทางที่กาหนดไว้
อย่างไร
2. ระบบสารสนเทศจะสนับสนุนวิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ ขององค์ การ
อย่ างไร

ระบบสารสนเทศจะมีบทบาทในการสนับสนุนวิสยั ทัศน์ของ
องค์การอย่างไร

ระบบสารสนเทศเดิมเป็ นอย่างไร

แผนระบบสารสนเทศในปัจจุบนั เป็ นอย่างไร
132
การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์ การ
3. ระบบสารสนเทศในปัจจุบนั

ระบบปัจจุบนั ได้สนับสนุนองค์การมากน้อยเพียงไร

ระบบปัจจุบนั มีความเหมาะสมหรื อไม่ มีจุดอ่อนจุดแข็ง
อย่างไร

ควรจะปรับปรุ งระบบปัจจุบนั อย่างไร
4. ระบบสารสนเทศทีเ่ สนอแนะ

หลักการและเหตุผล

ความสามารถของระบบใหม่

ฮาร์ดแวร์

ซอร์ฟแวร์
133
การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์ การ
5. กลยุทธ์ ทางการบริหาร
 แผนการจัดหา
 ช่วงเวลาดาเนิ นการ
 การจัดโครงสร้างองค์การใหม่
 การปรับปรุ งระบบงานภายในองค์การ
 การควบคุมทางการบริ หาร
 การฝึ กอบรม
 กลยุทธ์ดา้ นบุคลากร
134
การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์ การ
6. แผนปฏิบัติการ
 รายละเอียดแผนปฏิบต
ั ิการ
 ปั ญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
 รายงานความก้าวหน้า
7. งบประมาณที่ต้องการใช้
 ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
8. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
135
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development) เป็ น
กิจกรรมทั้งหมดที่จาเป็ นในการนาระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อ
แก้ปัญหาขององค์การหรื อสร้างโอกาสให้กบั องค์การ
การพัฒนาระบบสารสนเทศมีหลายวิธี เช่น แบบวงจรชีวิต
(System Development Life Cycle), การสร้างต้นแบบ
(Prototyping), การเน้นผูใ้ ช้เป็ นหลัก(End-User Development),
การจ้างบุคคลภายนอก(Outsourcing), และการใช้โปรแกรม
สาเร็ จรู ป(Application software package)
136
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life
Cycle : SDLC)
1. กำหนดปัญหำ
7. บำรุงรักษำ
2. วิเครำะห ์
SDLC
6. ติดตัง้
3. ออกแบบ
4. พัฒนำ
5. ทดสอบ
137
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ
การสารวจระบบ
(Systems Investigation)
การวิเคราะห์ ระบบ
(Systems Analysis)
การออกแบบระบบ
(Systems Design)
การเขียนโปรแกรม
(Programming)
การทดสอบระบบ
(Systems Testing)
การนาระบบไปติดตั้ง
(Implementation)
การปฏิบตั ิงาน & การบารุ งรักษา
ย้ อนกลับไปขั้นตอนก่อนนีห้ รือ
138
(Operation & Maintenance)
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
1. การสารวจระบบ (System Investigation)
เป็ นการศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการว่ ามีโอกาสความสาเร็จมาก
น้ อยเพียงใด รวมทั้งประเมินความเป็ นไปได้ ด้านต่ าง ๆ ดังนี้
1. ความเป็ นไปได้ดา้ นเทคนิค (Technical Feasibility)
2. ความเป็ นไปได้ดา้ นเศรษฐศาสตร์ (Economic Feasibility)
3. ความเป็ นไปได้ดา้ นพฤติกรรม (Behavioral Feasibility)
139
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
2. การวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis)
เป็ นการวิเคราะห์ ปัญหาขององค์ การซึ่งจะแก้ ไขโดย
ระบบสารสนเทศ ขั้นตอนนีจ้ ะเกีย่ วข้ องกับการ
ระบุปัญหาขององค์ การ สาเหตุของปัญหา การ
แก้ ปัญหา และระบุความต้ องการสารสนเทศ
(Information requirement)
140
นักวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis : SA)
Management
User
System Analyst
Programmer
141
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
3. การออกแบบระบบ (System Design)
เป็ นการบรรยายเกีย่ วกับสิ่ งทีร่ ะบบต้ องทาเพือ่ แก้ปัญหาองค์ การ และ
วิธีการดาเนินงาน โดยประกอบด้ วย
- ปัจจัยนาเข้ าของระบบ, ผลผลิตของระบบ, และการออกแบบ
หน้ าจอให้ กบั ผู้ใช้ (User Interface)
- ฮาร์ ดแวร์ , ซอร์ ฟแวร์ , ฐานข้ อมูล และการสื่ อสารโทรคมนาคม,
บุคลากร และกระบวนการ (procedure)
- การบูรณาการส่ วนประกอบต่ าง ๆ ดังกล่าวอย่ างเป็ นระบบ
142
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
3. การออกแบบระบบ (System Design)
การออกแบบระบบมี 2 ประเภทคือ
1.การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Systems Design)
การออกแบบส่ วนของระบบสารสนเทศ และความสัมพันธ์
ขององค์ประกอบต่าง ๆ ในลักษณะที่ปรากฏต่อผูใ้ ช้
รวมทั้งการออกแบบ อินพุท, เอาท์พทุ , กระบวนการ
ฐานข้อมูล, การสื่ อสารโทรคมนาคม, การควบคุม, และ
ความปลอดภัยของข้อมูล
143
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
3. การออกแบบระบบ (System Design)
2. การออกแบบด้ านกายภาพ (Physical Systems Design)
เน้นการเปลี่ยนแปลงเชิงตรรกะซึ่งมีลกั ษณะนามธรรม ให้มี
ลักษณะเฉพาะเจาะจงในการออกแบบด้านเทคนิคมากขึ้น
รวมทั้งการออกแบบฮาร์ดแวร์, ซอร์ฟแวร์, และฐานข้อมูล
144
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
4. การเขียนโปรแกรม (Programming)
คือการเปลี่ยนแปลงจากรายละเอียดของการออกแบบ (Design
specification) เป็ นรหัสคอมพิวเตอร์ (Computer code)
ซึ่งกระบวนการดังกล่าวอาจจะใช้เวลานาน โปรแกรม
ขนาดใหญ่อาจจะประกอบด้วยคาสัง่ หลายหมื่นบรรทัด
โดยใช้โปรแกรมเมอร์เป็ นร้อยคน
145
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
5. การทดสอบ (Testing)
การทดสอบจะเกิดขึน้ อย่ างต่ อเนื่องในขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ซึ่ง
เป็ นการตรวจสอบว่ ารหัสคอมพิวเตอร์ ที่เขียนไว้ จะสามารถ
ให้ ผลตามทีต่ ้ องการหรือไม่ การทดสอบจะต้ องใช้ เวลา และความ
พยายามมาก
การทดสอบเพือ่ หาข้ อผิดพลาด (Bugs) ในโปรแกรมซึ่งอาจจะเกิดจาก
ความผิดพลาด 2 ประการคือ
1) ความผิดพลาดในเรื่องของรูปแบบ (Syntax error)
2) ความผิดพลาดเชิงตรรกะ (Logic error)
146
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
เป็ นกระบวนการที่เปลีย่ นจากระบบเก่ าเข้ าสู่ ระบบใหม่ ซึ่ง
วิธีการเปลีย่ นระบบสามารถทาได้ 4 รู ปแบบคือ
1. แบบคู่ขนาน (Parallel)
2. แบบเปลี่ยนทั้งหมด (Direct Conversion)
3. การเปลี่ยนแปลงโดยใช้โครงการนาร่ อง (Pilot
Conversion)
4. การเปลี่ยนแปลงแบบมีข้นั ตอน (Phased Conversion)
147
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
1. แบบคู่ขนาน (Parallel)
เป็ นการดาเนินการพร้อมกันทั้งระบบเก่าและระบบใหม่ ในเวลา
เดียวกัน เพื่อนาผลที่ได้มาเปรี ยบเทียบกัน การเปลี่ยนแปลงแบบนี้ มี
ต้นทุนแพงที่สุด แต่มีความเสี่ ยงน้อยที่สุด ระบบงานที่มีขนาดใหญ่
มักนิยมใช้แบบนี้ เพื่อลดความเสี่ ยงต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
2. แบบเปลีย่ นทั้งหมด (Direct Conversion)
เป็ นการติดตั้งระบบใหม่แทนระบบเดิมทั้งหมด การเปลี่ยนแปลงนี้
มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่มีความเสี่ ยงมากที่สุดหากระบบไม่เป็ นไป
ตามที่กาหนดไว้
148
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
3. การเปลีย่ นแปลงโดยใช้ โครงการนาร่ อง (Pilot Conversion)
เป็ นการติดตั้งระบบใหม่ส่วนใดส่ วนหนึ่งขององค์การ และหลังจากที่
ระบบใหม่ติดตั้งและดาเนินการไประยะหนึ่งแล้วก็จะมีการ
ประเมินผล หากระบบใหม่มีความเหมาะสมจึงค่อยนาไปใช้กบั
ส่ วนอื่นๆ
4. การเปลีย่ นแปลงแบบมีข้นั ตอน (Phased Conversion)
มีการแบ่งการเปลี่ยนแปลงออกเป็ นส่ วนย่อย ๆ หรื อ module หรื อ
แบ่งระยะเวลาในการติดตั้ง จากนั้นจึงลองนาบาง module ไป
ทดลองติดตั้ง หากได้ผลจึงค่อยนา module อื่นไปปฏิบตั ิจนกระทัง่
ครบทั้งระบบ
149
พัฒนา / ทดสอบ / ติดตั้ง
Coding/Testing
Implement
Physical Model
Implement Model
150
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
7. การดาเนินการและการบารุ งรักษา
เมื่อมีการติดตั้งระบบใหม่แล้ว จะต้องมีการบารุ งรักษา ซึ่งมี
หลายลักษณะ คือ
1. ตรวจความถูกต้องของโปรแกรม (Debugging the
program) เป็ นขั้นตอนที่ตอ้ งทาต่อเนื่องไปตลอดอายุของ
ระบบ
2. การปรับปรุ งระบบให้ทนั สมัยสอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงของเงื่อนไข การปฏิบตั ิที่อาจเปลี่ยนแปลง
ไป
151
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
ข้ อจากัดของ SDLC
1.
2.
3.
ใช้ ทรัพยากรมาก เนื่องจากมีข้นั ตอนการดาเนินงาน
มาก ทั้งด้ านบุคลากร, งบประมาณ, และเวลา
ไม่ ยดื หยุ่น และทาการเปลีย่ นแปลงลาบาก
ไม่ เหมาะกับระบบสารสนเทศที่ใช้ ในการตัดสิ นใจ
152
การปฏิบตั ิจริง
และการบารุงรักษา
การปฏิบตั ิงาน
(แก้ ไขข้ อบกพร่ อง)
การเขียนโปรแกรม
และทดสอบ
การออกแบบระบบ
การวิเคราะห์ ระบบ
การวางแผน
(การศึกษาความเป็ นไปได้)
การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวติ (SDLC)
ความสั มพันธ์ ข้นั ตอนต่ าง ๆ ของ SDLC
ต้นทุน
เวลา
153
การสร้ างต้ นแบบ (Prototyping)
การสร้ างต้ นแบบจะไม่ พฒ
ั นาทั้งระบบ
เดียวทั้งหมด แต่ จะพัฒนา
โดยใช้ ต้นแบบ (Prototyping) ซึ่ง
ประกอบด้วยส่ วนต่าง ๆ ของระบบ
ใหม่ แต่จาลองให้มีขนาดเล็ก เพื่อให้
ผูใ้ ช้ได้ทดลองใช้ก่อน และให้
ข้อเสนอแนะเพื่อใช้ในการปรับปรุ ง
ต้นแบบนี้ให้เหมาะสมต่อไป
154
การสร้ างต้ นแบบ (Prototyping)
ขั้นตอนของวิธีการสร้ างต้ นแบบมี 4 ขั้นตอนดังนี้
1.
2.
3.
4.
การหาความต้องการพื้นฐานของผูใ้ ช้
การออกแบบต้นแบบ
การนาต้นแบบไปทดลองใช้
การปรับปรุ งต้นแบบ
155
การสร้ างต้ นแบบ (Prototyping)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศแบบสร้ างต้ นแบบ
ระบุความต้องการ
ออกแบบต้นแบบ
นาต้นแบบไปทดลองใช้
พอใจ
นาไปใช้เป็ น
ผูใ้ ช้พอใจ
Operational Prototype
ไม่พอใจ
ปรับปรุ งต้นฉบับ
156
การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้ (End User Development)
เป็ นการพัฒนาระบบโดยผูใ้ ช้ ซึ่งอาศัย
ความช่วยเหลือจากผูเ้ ชี่ยวชาญน้อย
มากหรื อไม่ได้ใช้เลย วิธีน้ ีมีความ
นิยมใช้กนั มากเนื่องจาก
ความก้าวหน้าของโปรแกรม
สาเร็ จรู ป ซึ่งทาให้ผใู้ ช้สามารถ
พัฒนาระบบขึ้นมาด้วยตนเอง
157
การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้ (End User Development)
ข้ อดี
1.
2.
3.
ประสิ ทธิภาพการทางานสูง โดยอาศัยการสนับสนุนจาก
โปรแกรมสาเร็ จรู ปซึ่งมีความสามารถด้านกราฟฟิ ก, การ
สร้างโมเดล, และการดึงข้อมูล
การศึกษาหาความต้องการของผูใ้ ช้ทาได้ดีข้ ึน เพราะผูใ้ ช้
ทราบความต้องการของตนดี
ผูใ้ ช้มีส่วนร่ วมมากขึ้น อันทาให้ผใู ้ ช้มีความพอใจสูงขึ้น
158
การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้ (End User Development)
ข้ อจากัด
1. ขีดความสามารถของโปรแกรมสาเร็ จรู ปมีจากัด และ
ต้นทุนสูงมาก
2. ไม่เหมาะกับการประมวลผลที่มีขนาดใหญ่มาก
3. ไม่เหมาะกับการประมวลผล หรื อการทางานที่มี
ลักษณะเฉพาะ
159
การจ้ างบุคคลภายนอก (Outsourcing)
การจ้างบุคคลภายนอกมาดาเนินงาน วิธีน้ ีนิยมใช้
ในกรณี ที่บริ ษทั มีตน้ ทุนของระบบ
สารสนเทศเพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็ ว บริ ษทั
อาจจะจ้างบุคคลภายนอกมาใช้เพื่อควบคุม
ต้นทุนค่าใช้จ่าย
160
การจ้ างบุคคลภายนอก (Outsourcing)
ข้ อดี
1.
2.
3.
ประหยัด : อาจจะลดต้นทุนกว่าการมีศนู ย์คอมพิวเตอร์
และเจ้าหน้าที่ระบบคอมพิวเตอร์ และองค์การยังได้ใช้
ความรู้ ความสามารถอย่างเดียวกันกับลูกค้าหลาย ๆ
ราย และสามารถคิดค่าจ้างในราคาที่แข่งขันได้
คุณภาพการบริการ : ผูร้ ับจ้างแข่งขันกันในการ
ให้บริ การ
ลดความไม่ แน่ นอน : ควบคุมค่าใช้จ่ายได้, ลดความ
เสี่ ยงจากเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้
161
การจ้ างบุคคลภายนอก (Outsourcing)
ข้ อจากัด
1. หน่ วยงานสู ญเสี ยการควบคุมระบบสารสนเทศเอง
2. หน่ วยงานมักจะเป็ นฝ่ ายตั้งรับจากฝ่ ายผูร้ ับจ้าง
3. หน่ ายงานอาจจะไม่สามารถควบคุมต้นทุนได้ และ
สูญเสี ยการควบคุมเทคโนโลยีในหน่วยงานตน
4. ความลับทางการค้าอาจรั่วไหลไปยังคู่แข่งได้ เนื่ องจาก
ระบบสารสนเทศดาเนินการโดยบุคคลภายนอก
162
การจ้ างบุคคลภายนอก (Outsourcing)
เงือ่ นไขวิธีการจ้ างบุคคลภายนอก
1. จ้างในระบบที่ไม่มีผลกระทบต่อความได้เปรี ยบในการแข่งขัน
เช่นระบบเงินเดือน
2. จ้างในระบบที่สามารถหยุดชะงักได้โดยไม่ได้มีผลกระเทือน
มากนัก เช่นระบบคาร้องขอเงินชดเชย เป็ นต้น
3. เมื่อสมรรถภาพด้านระบบสารสนเทศของหน่วยงานมีจากัด
163
การใช้ โปรแกรมสาเร็จรู ป
(Application software package)
เป็ นการใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปซึ่งได้รับการพัฒนาแล้ว โดยมี
ขายหรื อให้เช่าทัว่ ๆ ไป ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้มีมากมาย
ตั้งแต่งานง่าย ๆ กระทัง่ งานที่มีความซับซ้อน เช่น งาน
ด้านเงินเดือน, บัญชี, และงานควบคุมสิ นค้าคงคลัง
โปรแกรมสาเร็ จรู ป ทาให้ไม่จาเป็ นต้องเขียนโปรแกรมขึ้นมา
ใหม่ ทาให้ตน้ ทุนในการดาเนินการลดลงมาก
164
การใช้ โปรแกรมสาเร็จรู ป
(Application software package)
ตัวอย่ างซอร์ ฟแวร์ สาเร็จรูป
 บัญชีรายรับ (Accounts receivable)
 การบริ หารหุ น
้
 การออกแบบ (Computer – aided- design: CAD)
 การวางแผนทรัพยากร
 การจัดการโรงแรม
 การควบคุมสิ นค้าและคงคลัง
 ระบบห้องสมุด
 ระบบเงินเดือน
165
การใช้ โปรแกรมสาเร็จรู ป
(Application software package)
ข้ อดี
1.
2.
โปรแกรมสาเร็ จรู ปมีการทดสอบก่อนนาออกสู่ ตลาด
ผูข้ ายมักมีการบารุ งรักษาและให้การสนับสนุ นระบบ
อย่างต่อเนื่องทาให้มนั่ ใจในระดับหนึ่งว่าระบบมีการ
พัฒนาให้ทนั สมัยกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
และการพัฒนาด้านธุรกิจ
166
การใช้ โปรแกรมสาเร็จรู ป
(Application software package)
ข้ อจากัด
1. ในบางครั้งหน่ วยงานอาจมีความต้องการงานที่มี
ลักษณะเฉพาะ ซึ่งโปรแกรมสาเร็ จรู ปไม่สามารถ
สนองต่อความต้องการนั้นได้
167
การนาระบบสารสนเทศไปติดตั้ง
(System Implementation)
การติดตั้งระบบบางครั้งอาจประสบความล้มเหลวในการทางาน หมายถึง
ระบบไม่สามารถดาเนินการตามที่คาดหวังไว้ หรื อไม่สามารถ
นาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ หรื อใช้ไม่ได้เลย
ดังนั้นจึงเกี่ยวข้องกับตัวชี้วดั ของความสาเร็ จของระบบ, ปั จจัยที่นาไปสู่
ความสาเร็ จหรื อความล้มเหลวของระบบ , การจัดการกับการติดตั้ง
ระบบ
168
การวัดความสาเร็จของระบบ
ความสาเร็ จของระบบมีตวั ชี้วดั หลายตัว ตัวชี้วดั ที่นิยมมากที่สุดได้แก่
ระดับการใช้งาน(Utilization)
ความพึงพอใจของผูใ้ ช้ต่อระบบ(User satisfaction)
ประสิ ทธิภาพ(Efficiency)
ประสิ ทธิผล(Effectiveness)
169
ปัจจัยทีน่ าไปสู่ ความสาเร็จหรือความล้ มเหลวของระบบ




แนวทางศึกษาที่เน้นปัจจัย(Factor Approach)
แนวทางศึกษาที่เน้นกระบวนการ(Process Approach)
แนวทางศึกษาระบบเปิ ด(Open Systems Approach)
แนวทางศึกษาที่พิจารณาเฉพาะเรื่ อง(Focus Approach)
170
ปัจจัยทีน่ าไปสู่ ความสาเร็จหรือความล้ มเหลวของระบบ

แนวทางศึกษาที่เน้ นปัจจัย(Factor Approach)
1. การมีส่วนร่ วมของผูใ้ ช้(user participation)
2. การสนับสนุนจากผูบ
้ ริ หาร
3. ช่องว่างการสื่ อสารระหว่างผูอ้ อกแบบและผูใ้ ช้(userdesigner communication gap)
4. ระดับความซับซ้อนและความเสี่ ยง(level of
complexity and risk)
171
โมเดลความสาเร็จของระบบสารสนเทศ
การสนับสนุนของผูบ้ ริหาร
การมีส่วนร่วมของผูใ้ ช้
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ผูเ้ ชี่ยวชาญและผูใ้ ช้
ระดับความซับซ้อนของโครงการ
ความสาเร็จของระบบ
(MIS Success)
•ปริมาณการใช้งาน
•ความพึงพอใจของผูใ้ ช้
•ประสิทธิผล
•ประสิทธิภาพ
ความพร้อมด้านทรัพยากร
172
แนวทางศึกษาที่เน้ นกระบวนการ(Process Approach)


ได้ นาทฤษฏีเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงขององค์ กร
(Organization Change) หรื อแนวคิดเรื่ องกระบวนการติดตั้ง
(Implementation process) มาประกอบกัน
เน้ นการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ ละช่ วงเวลา ทาให้ แนวทาง
นีม้ ีการศึกษาถึงลักษณะการเปลีย่ นแปลง dynamic ได้ ดีกว่ า
แนวทางแรก
173
โมเดลการนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปติดตั้งของ
Cooper Zmud
ลักษณะงาน
Task characteristics
ความเข้ ากันได้
compatibility
+
ลักษณะเทคโนโลยี
Technology characteristics
การนาเทคโนโลยี
ไปติดตั้ง
ความซับซ้ อนของเทคโนโลยี Technology complexity
ความซับซ้ อนของงาน
Task complexity
174
แนวทางศึกษาระบบเปิ ด(Open Systems
Approach)


แนวทางการศึกษาของแนวทางนี้ตอ้ งการใช้กรอบ
แนวคิดที่มีความครอบคลุมโดยนาปัจจัยภายนอกที่
เกี่ยวข้องมาพิจารณาด้วย
แนวทางนี้เหมาะสาหรับระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
กับภายนอกโดยเฉพาะลักษณะที่เชื่อมโยงสารสนเทศ
ข้ามองค์กร(Inter-organization information systems)
175
สรุป


การนาระบบสารสนเทศไปใช้ ในองค์ กร ถือเป็ นการ
เปลีย่ นแปลงองค์ กรแบบมีแผน ซึ่งจาเป็ นต้ องมีการ
วางแผนระบบสารสนเทศให้ สอดคล้ องกับแผนกลยุทธ์
ขององค์ กร รวมทั้งมีแผนปฏิบัติการด้ านระบบ
สารสนเทศที่ชัดเจนด้ วย
การพัฒนาระบบสารสนเทศคือ กิจกรรมทั้งหมดในการ
สร้ างระบบสารสนเทศเพือ่ ใช้ การแก้ปัญหาหรือสร้ าง
โอกาสทางธุรกิจขององค์ กร
176
สรุป



การพัฒนาระบบสารสนเทศมีแนวทางที่สาคัญคือ
แนวทางพัฒนาระบบสารสนเทศแบบดั้งเดิม
(traditional systems development life cycle)
แนวทางแบบต้ นแบบ(Prototyping)\
แนวทางแบบผู้ใช้ เป็ นหลัก(End-user
Development) การจ้ างหน่ วยงานภายนอก
(outsourcing) และ
การใช้ ซอฟต์ แวร์ สาเร็จรู ป
177
สรุป









แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศแบบดั้งเดิม มี
ขั้นตอนสาคัญ 8 ขั้นตอน คือ
การสารวจระบบ
การวิเคราะห์ ระบบ
การออกแบบระบบ
การเขียนโปรแกรม
การทดสอบ
การนาไปติดตั้ง
การนาไปปฏิบัติงาน
และการบารุงรักษา
178
สรุป




แนวทางแบบต้ นแบบ
คือ การพัฒนาต้ นแบบหรือแบบจาลองขึน้ มาก่อน เพื่อให้ ผู้ใช้
ทดลองใช้ หากมีปัญหาและข้ อเสนอแนะ ก็จะนามาปรับปรุง
ต้ นแบบให้ เหมาะสมต่ อไป
แนวทางแบบผู้ใช้ เป็ นหลัก คือ แนวทางทีผ่ ู้ใช้ เป็ นผู้ทพี่ ฒ
ั นา
ออกแบบระบบสารสนเทศเอง โดยผู้เชี่ยวชาญมีบทบาทใน
การช่ วยเหลือน้ อยมาก
แนวทางจ้ างหน่ วยงานภายนอก ใช้ ในกรณีที่หน่ วยงานไม่ มี
ผู้เชี่ยวชาญและการใช้ ซอฟต์ แวร์ สาเร็จรูป เป็ นการนา
ซอฟต์ แวร์ ทมี่ ีอยู่ในท้ องตลาดมาใช้ ในงานทีม่ ีลกั ษณะอย่ าง
เดียวกัน
179
สรุป





แนวทางการศึกษาเรื่องการนาระบบไปติดตั้ง จาแนกเป็ น
4 แนวทาง ได้ แก่
การศึกษาที่เน้ นปัจจัย(Factor Approach)
แนวทางการศึกษาทีเ่ น้ นกระบวนการ(Process
Approach)
แนวทางการศึกษาระบบเปิ ด(Open system approach)
และ
แนวทางที่พจิ ารณาเฉพาะเรื่อง(Focus approach)
180
การประยุกต์ ใช้ ระบบสารสนเทศ
ในองค์ การและ
พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
5
181
บทนีม้ ีอะไรบ้ าง ?










การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศใช้ ในองค์ การ
ความหมายของ E-Commerce
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
ประเภทของ E-Commerce
ขั้นตอนการซื้อขายผ่ านอินเตอร์ เน็ต
ระบบการจ่ ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
ประโยชน์ ของ E-Commerce
การประยุกต์ ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ ใช้ E-Commerce
ข้ อจากัดเกีย่ วกับ E-Commerce
182
ความได้ เปรียบในการแข่ งขัน (Competitive Advantage)
มีการนาสารสนเทศมาใช้และทาให้เกิดการบริ หาร/
จัดการงานแบบใหม่
องค์ การเสมือนจริง, E-Business, E-Government, E-commerce,
Re-engineering, Knowledge Management, Virtual
Organization เป็ นต้น
183
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
แนวคิดเรื่องความจริงเสมือน (Virtual Reality)
ความจริ งเสมือน หรื อความจริ งซึ่งสร้างจาลองโดยเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นความ
จริ งที่มนุษย์สร้างขึ้นในลักษณะสามมิติ เพื่อเลียนแบบความจริ งด้านกายภาพ
(physical reality) เช่น การสร้างแบบจาลองของบ้านในลักษณะสามมิติโดย
ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
184
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
ความหมายขององค์ การเสมือนจริง

องค์ กรเสมือนจริง คือ รู ปแบบองค์กรแบบใหม่ ซึ่งประกอบด้วยคน กลุ่มคน
หรื อหน่วยงาน หรื อองค์การซึ่งไม่ได้อยูภ่ ายใต้องค์กรเดียวกัน และกระจาย
อยูต่ ามที่ต่าง ๆ ในลักษณะชัว่ คราวหรื อถาวร โดยผ่านการสื่ อสารทาง
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อจะดาเนินการในกระบวนการผลิต

องค์ กรเสมือนจริง คือ เครื อข่ายขององค์กรซึ่งเชื่อมโยงด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อจะแลกเปลี่ยนทักษะ ทรัพยากร และสิ นค้าบริ การ
185
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
ลักษณะขององค์ กรเสมือนจริง
 การใช้ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
 ใช้ในการติดต่อสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ไม่จากัด
ระยะเวลา หรื อสถานที่ซ่ ึงอาจจะอยูใ่ นรู ปของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
เช่น Internet, Intranet, Extranet
 สั งคมกับชุ มชนเครือข่ ายซึ่งมีการร่ วมมือและพึง่ พากัน
 เครื อข่าย Computer จะเชื่อมโยงคนหรื อเครื่ องจักรเข้าด้วยกัน
กลายเป็ นสังคม หรื อชุมชนมีโครงสร้างแบบเครื อข่าย (Network
structure)
186
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
ลักษณะขององค์ กรเสมือนจริง

สังคมกับชุมชนเครื อข่ายซึ่งมีการร่ วมมือและพึ่งพากัน
 เครื อข่ าย Computer จะเชื่ อมโยงคนหรื อเครื่ องจักรเข้าด้วยกัน กลายเป็ น
สังคม หรื อชุมชนมีโครงสร้างแบบเครื อข่าย (Network structure)
 การติดต่ อทางสั งคมมีข้อจากัดทางภูมิศาสตร์ นอ
้ ยกว่าชุมชนแบบดั้งเดิ ม
และมีความหลากหลายทางด้าน อายุ, เพศ, เชื้อชาติ, และฐานะทางสังคม
 ชุ มชนหรื อเครื อข่ ายร่ วมมือกันหรื อ เป็ นพันธมิตรกันเพื่อดาเนิ นงานให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ร่วมกัน
187
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
ลักษณะขององค์ กรเสมือนจริง
ความยืดหยุ่น
 Virtual Organization ไม่ มี ข้ อจ ากัด ในเรื่ อ งสถานที่ และเวลา การ
ปฏิบัติงานในองค์ กร นอกจากนี้ Virtual Organization อาจจะมีการจ้ าง
บุคคลภายนอก และกลยุทธ์ การสร้ างพันธมิตรระหว่ างองค์ กรมาใช้
 ความไว้ วางใจ
 Virtual Organization ต้ องการความไว้ วางใจทีส
่ ู งกว่ าองค์ กรแบบเดิม
 สมาชิกในองค์ กรต้ องมีความไว้ วางใจกันในงานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย

188
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
ลักษณะขององค์ กรเสมือนจริง
การบริหารตนเอง
 การปฏิบัติงานของสมาชิกองค์ กร มีความเป็ นอิสระมากขึน
้ เพราะสายบังคับ
บัญชาไม่ ชัดเจน
 การทางานขึน
้ อยู่กบั ประสบการณ์ ของสมาชิก
 ขอบเขตองค์ กรไม่ แน่ ชัด
 องค์ กรเสมือนจริงใช้ ความร่ วมมือระหว่ างองค์ กรเป็ นลักษณะเครื อข่ าย
 ไม่ มส
ี ถานทีต่ ้งั ขององค์ กร
 การปฏิบัติโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยไม่ คานึงถึงสถานที่ต้ ัง

189
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
สาเหตุของการเกิดองค์ กรเสมือนจริง
องค์ ก รเสมื อนจริ งเกิด จากปั จ จั ยต่ าง ๆ ที่เ กี่ยวกับสภาพแวดล้ อมที่เ ปลี่ ย นแปลงไป,
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยี,ลูกค้ า,และคนทางาน
1.
การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้ อม
 การเปลีย่ นแปลงอย่ างรวดเร็วและความซับซ้ อนด้ านตลาดและเทคโนโลยี
 การเปลีย่ นแปลงจากยุคอุตสาหกรรมมาเป็ นยุคสารสนเทศ ให้ ความสาคัญกับ
คุณค่ าผลผลิตทางปัญญามากขึน้
190
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
สาเหตุของการเกิดองค์ กรเสมือนจริง
2. ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 การพัฒนาของ IT ทาให้ คนทางานน้ อยลง มีอส
ิ ระในการทางาน
มากขึน้ มีความยืดหยุ่นมากขึน้
 ความก้ าวหน้ าของเครื อข่ ายโทรคมนาคม ช่ วยให้ การ
ติดต่ อสื่ อสารระหว่ างองค์ กรและบุคคลเป็ นไปได้ รวดเร็ วและมี
ประสิ ทธิภาพ
191
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
สาเหตุของการเกิดองค์ กรเสมือนจริง
3. ลูกค้า
ลูกค้ ามีทางเลือกในการตัดสิ นใจมากขึน้ มีข้อมูลสิ นค้ าและบริการ
มากขึน้
คนทางาน
 คนให้ ความสาคัญกับวิชาชีพของตัวเองมากกว่ าองค์ กรใดองค์ กร
หนึ่ง และให้ คุณค่ ากับชีวติ การทางานและชีวติ ส่ วนตัวเท่ าเทียมกัน

4.
192
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
เปรียบเทียบองค์ กรเสมือนจริงกับองค์ กรแบบดั้งเดิม
ลักษณะ
องค์ กรแบบดั้งเดิม
โครงสร้ าง
การบริหารงาน
•มีความเป็ นทางการสู ง
องค์ กรเสมือนจริ ง
•มีความไม่ เป็ นทางการสู ง
•โครงสร้ างเน้ นสายบังคับบัญชา •โครงสร้ างแบบเครือข่ าย
•โครงสร้ างตายตัว
•มีขอบเขตชัดเจน
•โครงสร้ างหลวม
•ขอบเขตไม่ ชัดเจน
•เน้ นการควบคุม
•การมีส่วนร่ วม
•รวมศูนย์ อานาจ
•กระจายอานาย
•ทางานโดยเน้ นตัวบุคคล
•ทางานโดยอาศัยทีมงาน
193
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
ประโยชน์ ขององค์ กรเสมือนจริง
1.
2.
3.
4.
5.
องค์ การ
ผลผลิต
คนทางาน
ระยะทาง
สถานที่ต้งั
194
องค์ การเสมือนจริง (Virtual Organization)
ข้อจากัดขององค์กรเสมือนจริ ง
1. ด้ านสังคม
ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานและผูบ้ ริ หาร พนักงานกับพนักงานจะ
มีนอ้ ยลง
 เส้นแบ่งของชี วิตการทางานและชี วิตที่บา้ นจะไม่ชด
ั เจน อาจจะทาให้
ระดับความเครี ยดเพิ่มขึ้น
2. ความผูกพันกับองค์ การ
 หากไม่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง ความสั ม พัน ธ์ ใ นการจ้า งงาน พนัก งานที่ มี
ความรู ้ และคุ ณค่าต่อองค์กรจะมี ความรู ้ สึกผูกพันกับองค์กรน้อยลง
ดังนั้น อัตราการเข้า-ออกจึงอาจจะมีสูง

195
รีอนิ จีเนียริ่ง
หลักการของรีอนิ จีเนียริ่ง
1.
2.
3.
4.
การคิดใหม่ จากพืน้ ฐาน
การออกแบบใหม่ อย่ างถอนรากถอนโคน
การปรับปรุงทีส่ ่ งผลอย่ างใหญ่ หลวง
เน้ นการเปลีย่ นแปลงกระบวนการทางาน
196
รีอนิ จีเนียริ่ง
เหตุผลในการทารีอนิ จีเนียริ่ง
1.



2.



ลูกค้ า
มีความรู้ ความเข้ าใจในสิ นค้ า/บริการมากขึน้
มีความสะดวกในการเข้ าถึงข้ อมูลจานวนมหาศาลง่ ายขึน้
มีพลังในการต่ อรองมากขึน้
การแข่ งขัน
มีความรุนแรงมากขึน้ , มีรูปแบบทีห่ ลากหลายขึน้
มีการนาเทคโนโลยีมาสร้ างสรรค์ การผลิตสิ นค้ า/บริการมากขึน้
มีการบุกรุกจากคู่แข่ งต่ างชาติมากขึน้
197
รีอนิ จีเนียริ่ง
เหตุผลในการทารีอนิ จีเนียริ่ง
3. การเปลีย่ นแปลง (change)



การเปลีย่ นแปลงอัตราทีส่ ู ง
สลับซับซ้ อน
เตรี อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ได้ ต ลอดเวลา หากไม่ ส ามารถ
จัดการกับการเปลีย่ นแปลง
198
รีอนิ จีเนียริ่ง
องค์ ประกอบของรีอนิ จีเนียริ่ง
1.



2.


การออกแบบใหม่ (Redesign)
เน้ นการปรับปรุงลักษณะปรับปรุงทั้งกระบวนการ
อาจนาเทคนิค One Stop Service เพือ่ ให้ ข้นั ตอนการทางานสั้ นลง
อาจมีการปรับรื้อระเบียบ, กฎเกณฑ์ ,โครงสร้ างองค์ กรแบบเดิม
เครื่องมือ (Retool)
มีการนา IT / IS เข้ ามาใช้ เป็ นเครื่องมือในการทา RE
มีการนา IT / IS มาเป็ นตัวสนับสนุนเพือ่ สร้ างวิธีการทางานใหม่ ที่
ไม่ เคยมีมาก่ อน
199
รีอนิ จีเนียริ่ง
องค์ ประกอบของรีอนิ จีเนียริ่ง
3.
การปรับปรุงการทางานใหม่ (Re orchestrate)
การปรับปรุงการทางาน Re engineering มี 2 ระดับคือ
การเปลีย่ นแปลงทั้งองค์ กร ทุกกระบวนการในการทางาน
การเปลี่ ย นแปลงในกระบวนการ คื อ เลื อ กเฉพาะบาง
กระบวนการที่มีความสาคัญต่ อการทางาน หรื อทางด้ านการ
แข่ งขัน, การสร้ างความพึงพอใจให้ แก่ ลูกค้ า เป็ นต้ น


200
รีอนิ จีเนียริ่ง
ข้ อดีของรีอนิ จีเนียริ่ง
1.
ปรับเปลีย่ นแนวคิดใหม่ ในการทางานทั้งหมด โดยไม่ ยดึ ติดกับระบบการ
ทางานแบบเดิม
2.
มุ่งตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าเป็ นสาคัญ
3.
เจ้ าหน้ าที/่ พนักงาน ทางานได้ เป็ นอิสระมากขึน้
4.
มีการนา IT/IS มาใช้ ในการปรังปรุงงาน
5.
เป็ นวิธีปรับปรุงทีใ่ ห้ ความสาคัญต่ อกระบวนการเป็ นสาคัญ
201
รีอนิ จีเนียริ่ง
ข้ อจากัดของรีอนิ จีเนียริ่ง
1.
RE ละเลยเรื่องคนในองค์ กร ทาให้ พนักงานขาดขวัญ และกาลังใจในการ
ทางาน
2.
ขาดการนาเรื่องวัฒนธรรมองค์ การมาพิจารณาในการปรับปรุงงาน
3.
การทา RE เป็ นการเปลีย่ นแปลงขนาดใหญ่ ยากทีจ่ ะทาให้ ประสบ
ความสาเร็จโดยฉับพลัน และยังมีความเสี่ ยงค่ อนข้ างสู ง
4.
มีลกั ษณะการเปลีย่ นแปลงจากระดับสู งลงมา ขาดการมีส่วนร่ วมจากระดับ
ล่ าง ทาให้ พนั ธะผูกพัน การเปลีย่ นแปลงมีน้อย
202
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ในระบบเศรษฐกิจยุคใหม่
ฐานความรู้ ถือเป็ นทรัพย์ สินที่มีความสาคัญขององค์ การ การแข่ งขันด้ าน
ธุรกิจต้ องอาศัยความรู้ ในด้ านกระบวนการต่ าง ๆ ดังนั้น ทฤษฎีการ
จัดการบางทฤษฎีจึงเชื่อว่ า ทรัพย์ สินทางความรู้ มีความสาคัญต่ อการ
สร้ างความได้ เปรี ยบในการแข่ งขันและความอยู่ รอดขององค์ การ
มากกว่ าทรัพย์ สินทางกายภาพและทรัพย์ สินทางการเงิน
203
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ความรู้ คือสารสนเทศที่มีคุณค่ ามากที่สุด เพราะเป็ นสารสนเทศที่ผสมผสาน
เข้ ากับประสบการณ์ วิจารณญาน และปัญญาของคนเข้ าไปด้ วย
ความรู้ จาแนกเป็ นสองประเภทคือ
 ความรู้ แ บบไม่ ชั ด แจ้ ง (Tacit Knowledge) คือ ความรู ้ ที่ มี เ นื้ อหา
เฉพาะเจาะจง ยากที่จะสื่ อสารให้คนอื่นทราบหรื อเข้าใจได้ง่าย ต้องอาศัย
ทักษะในการฝึกฝน เช่น การว่ายน้ า การขี่จกั รยาน เป็ นต้น
 ความรู้ แบบชั ดแจ้ ง (Explicit Knowledge) คือความรู ้ ที่สามารถรวบรวม
จัดระบบ และถ่ายทอดโดยใช้ IT ได้ เช่น ความรู ้ ที่ได้จากหนังสื อหรื อ
ตาราต่าง ๆ เป็ นต้น
204
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการความรู้ คือ กระบวนการที่สาคัญในการสร้ าง จัดระบบ
และถ่ ายทอดความรู้ อย่ างทั่วถึงภายในองค์ กร เพือ่ สร้ างความ
ได้ เปรียบในการแข่ งขัน หรือทาให้ การทางานมีประสิ ทธิภาพ
ประสิ ทธิผลมากขึน้
องค์ ประกอบของ Knowledge Management มีดังนี้



การสร้ างความรู้
การจัดระบบความรู้
การถ่ ายทอดความรู้
205
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การสร้ างความรู้
คือ การแสวงหาความรู ้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นในองค์กร โดยผ่านกลไก การ
เรี ยนรู ้ อาทิ การวิจยั และพัฒนา การร่ วมกันแก้ไขปั ญหา, การพัฒนา
เครื อข่าย, หรื อการพัฒนาผ่านเครื อข่ายเป็ นต้น
การจัดระบบความรู้
เมื่อความรู ้ได้สร้างขึ้นแล้ว จะมีกระบวนการต่อเนื่องในการจัดระบบ
ความรู ้ รวมถึงการแสดงความรู ้ในลักษณะที่ง่ายต่อการเข้าถึงหรื อถ่าย
โอน
การถ่ ายทอดความรู้
คือ การนาความรู ้ที่มีอยูถ่ ่ายทอดไปยังบุคคลอื่น หรื อหน่วยงานอื่น เช่น
การใช้เครื อข่ายในองค์กร หรื อการใช้ซอร์ ฟแวร์ สาหรับทางานเป็ นกลุ่ม
206
พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ได้ มีผู้ความหมายไว้หลาย
ความหมาย เช่ น
กิจกรรมเชิงพาณิชย์ ทดี่ าเนินการโดยมีการแลกเปลีย่ น เก็บรักษา
หรื อสื่ อสารข้อมูลข่าวสาร โดยผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ อีเมล์ และอื่น ๆ
 การใช้ วธ
ิ ีการอิเล็กทรอนิกส์ ในการดาเนินงานให้ บรรลุ
วัตถุประสงค์ทางธุรกิจ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น
การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ และ
เทคโนโลยีการสื่ อสารคมนาคมอื่น ๆ โทรทัศน์และการใช้
อินเทอร์เน็ต

207
ความหมายของพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
E-Commerce หมายถึง การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย
หรื อการขนส่ งผลิตภัณฑ์และบริ การโดยสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
 E-Commerce คือ การซื้ อขายสิ นค้า บริ การ และสารสนเทศผ่าน
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอินเตอร์เน็ต
 สรุ ป พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทาธุ รกรรมทุกรู ปแบบ
โดยการครอบคลุมถึงการซื้อ-ขายสิ นค้ า/บริการ การชาระเงิน
การโฆษณาโดยผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่ าง ๆ โดยเฉพาะ
เครือข่ ายทางอินเตอร์ เน็ต

208
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
ประกอบด้ วย 3 ส่ วนใหญ่ คอื
1. แอพพลิเคชั่น การใช้ งาน
2. ปัจจัยทางการบริหาร
3. โครงสร้ างพืน้ ฐาน
209
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
1. แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce
การประยุกต์ใช้ E-Commerce มีการประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง
อย่างเช่น
การขายตรง
การซื้อขายหุ้น
การหางาน
ธนาคารออนไลน์
การจัดหาและการซื้อสิ นค้ า
210
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
1. แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce
การประมูล
การท่องเที่ยว
การบริ การลูกค้า
การพิมพ์งานออนไลน์ (Online publishing)
การติดต่อธุรกรรมระหว่างหน่วยงาน
ห้างสรรพสิ นค้า
211
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2 .ปัจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce

องค์ การ / บุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับระบบ E-Commerce
รัฐบาล
เตรี ยมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เครื อข่ายโทรศัพท์
ให้การสนับสนุนและส่ งเสริ ม
ออกกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผู้ทาธุรกิจ
ผู้ใช้ บริการ
212
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.ปัจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 องค์ การ / บุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับระบบ E-Commerce
ผูใ้ ห้บริ การอินเตอร์เน็ต (ISP)
ตัวกลาง (Intermediary) คือ หน่วยงานกลางที่ออกใบรับรอง
(Certificate) ในระบบการชาระเงิน และรับรองผูซ้ ้ือและผูข้ ายว่าเป็ น
บุคคลหรื อหน่วยงานที่เชื่อถือได้
สถาบันการเงิน อานวยความสะดวกในการชาระเงิน
213
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2. ปัจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce

นโยบายสารธารณะและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับระบบ
E-Commerce
ภาษี
กฎหมายและระเบียบต่างๆ
มาตรฐานด้านเทคนิค
214
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2 .ปัจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
การบริหารกลยุทธ์ การตลาดและการโฆษณา
การวิจยั ทางการตลาด
การส่ งเสริ มการขาย
เนื้อหาในเว็ป
 พันธมิตรทางการค้ า
ลอจิสติกส์
หุน้ ส่ วนทางการค้า

215
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2 .โครงสร้ างพืน้ ฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce

โครงสร้ างพืน้ ฐานในการบริการ
แคตตาล็อกสิ นค้าออนไลน์ (E-Catalogue)
การชาระเงิน
การจัดส่ งสิ นค้า
การบริ การหลังการขาย
การรักษาความปลอดภัย
การบริ การอื่น ๆ
216
กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2. โครงสร้ างพืน้ ฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce

โครงสร้ างเครือข่ าย
เคเบิ้ลทีวี
อินเตอร์เน็ต
อินทราเน็ต
โทรศัพท์มือถือ
217
ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ
ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรื อ B to B หรื อ B2B)
ธุรกิจและลูกค้ า (Business to Consumers หรื อ B to C หรื อ B2C)
ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรื อ B to G หรื อ B2G)
ลูกค้ ากับลูกค้ า (Consumers to Consumers หรื อ C to C หรื อ C2C)
218
ประเภทของ E-Commerce
B
B
G
G
E-Government
E-Government
C
C
E-Community
219
ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B
เป็ นการทาธุรกิจระหว่ างธุรกิจ ซึ่งอาจมีท้งั ภายในบริษทั เดียวกันและ
ระหว่ างบริษทั ซึ่งมีรูปแบบ
รู ป แบ 1.---ที่ องค์กรขายสิ นค้าและบริ การให้แ ก่ อ งค์การอื่ นผ่านทางสื่ อ
อิเล็กทรอนิ กส์ คือธุ รกิจ (ผูซ้ ้ื อ) เข้าไปใน web site เลือกชมสิ นค้าในแคต
ตาล็อก และสั่งซื้ อสิ นค้า ซึ่ งส่ วนใหญ่จะเป็ นลูกค้าประจา นอกจากนี้ ยงั มี
ระบบการสั่งสิ นค้า ระบบการจ่ายเงิน ผนวกกับระบบลอจิสติกส์ของผูข้ าย
220
ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B

Seller-Oriented Marketplace
Supplier’s E-mall
B
C
C
แคตตาล็อกของ
ซัพพลายเออร์
คาสั่ งซื้อของลูกค้ า
B
221
ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B
 Buyer-Oriented Marketplace
มีจุดมุ่งหมายในการลดต้นทุนของสิ นค้าที่จะซื้อ หรื อในตลาดที่มีการ
ประมูล โดยมีการประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยผ่านไปยัง
เครื อข่ายอินทราเน็ตของผูซ้ ้ือเพื่อประมวลหาผูข้ ายที่ดีที่สุด
222
ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B
 Buyer-Oriented Marketplace
Buyer’s E-mall
B
แคตตาล็อกของผู้ซื้อ
การประมูลของ
ซัพพลายเออร์
ซัพพลายเออร์
B
223
ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to C
1)
ร้ านค้ าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
เป็ นการขายตรงจากธุรกิจถึงลูกค้า
224
ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to C
2) การโฆษณา
 แบบ E-mail
3) แค็ตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์
4) ธนาคารไซเบอร์ (Cyber banking หรือ Electronic Banking หรื อ
Virtual Banking)
225
ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to C
5)
6)
7)
8)
ตลาดแรงงานออนไลน์ (Online job market)
การท่องเที่ยว
อสังหาริ มทรัพย์
การประมูล (Auctions)
226
ขั้นตอนการซื้อขายผ่ านอินเตอร์ เน็ต
การซื้อ ขายในระบบ E-Commerce
มีข้นั ตอน ดังต่ อไปนี้
การค้ นหาข้ อมูล
การเลือกและการต่ อรอง
การซื้อสิ นค้ า/บริการทางอินเตอร์ เน็ต
การจัดส่ งสิ นค้ า/บริการ
การพัฒนาหลังการขาย
227
ขั้นตอนการซื้อขายผ่ านอินเตอร์ เน็ต
การส่ งสินค้า
แบบดั้งเดิม
ผู้ซื้อ
การส่ งสินค้า
ทางอิเล็กทรอนิกส์
การค้นหาข้อมูล
การบริ การหลังการขาย
การเลือกและการต่อรอง
การส่ งสิ นค้า/บริ การ
การซื้อ
228
ระบบการจ่ ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
การจ่ ายเงินแบบเดิม
เช่น การใช้เงินสด, เช็ค, ธนาณัติ, และการให้หมายเลข Credit Card มี
ข้อจากัดในการนามาใช้กับระบบ E-Commerce เช่ น ความ
ปลอดภัย, ความล่าช้า, และต้นทุนในการดาเนินการ
ดังนั้น ระบบ E-Commerce จึงได้มีการพัฒนาการชาระแบบ Electronic
เช่น เช็ คอิเล็กทรอนิกส์ , เครดิตการ์ ดอิเล็กทรอนิกส์ , การจ่ ายเงิน
สดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ , การใช้ สมาร์ ทการ์ ด, และการโอนเงิ น
อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น
229
ระบบการจ่ ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
1)
เช็คอิเล็กทรอนิกส์ (E-Check)
ลักษณะเหมือนกับเช็คทัว่ ไป เหมาะกับการชาระเงินยอดที่ไม่มาก
นัก มีการรักษาความปลอดภัยโดยใช้รหัส ซึ่งมีข้นั ตอนดังนี้
1) ลูกค้ าเปิ ดบัญชีธนาคารทีใ่ ช้ เช็ค
2) ลูกค้ าติดต่ อผู้ขายเพื่อซื้อสิ นค้ า/บริ การ และ E-mail ส่ งเช็ค
อิ เล็กทรอนิ กส์ โดยการใช้รหัสและมี ลายเซ็ นดิ จิทลั
(Digital
Signature)
3) ผู้ขายนาเช็ คเข้ าไปฝากในบัญชี ของตนเอง เงินจะถูกหักจาก
บัญชีของผูซ้ ้ือ และโอนไปยังบัญชีของผูข้ าย
230
ระบบการจ่ ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
2)
เครดิตการ์ ดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic credit cards)
ยืนยันการสัง่ ซื ้อ
ธนาคารของผู้ขาย
สัง่ สินค้ า +
ข้ อมูลการชาระเงิน
ผู้ขาย
คาสัง่ ซื ้อของลูกค้ า
ถอดรหัส ส่งข้ อมูล
ไปยังธนาคารผู้ขาย
ข้ อมูลทางการเงิน
ของผู้ซื ้อ
เปิ ดบัญชี
ขอ Credit Card
ข้ อมูลการจ่ายเงินที่ใส่
รหัสพร้ อม Digital Signature
อนุมตั ิ/ปฏิเสธ
การจ่ายเงิน
องค์การที่สาม (ผูอ้ อก CA)
ธนาคารของผู้ซื้อ
231
ระบบการจ่ ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
3) เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Cash หรื Digital Cash หรือ EMoney)
การจ่ายเงิน Electronic มีสองวิธี คือ
 การจ่ายเงินสดที่อยูใ่ นเครื่ อง พีซี (เป็ น ซอร์ ฟแวร์ การเงินที่ออก
ให้โดยธนาคาร)
 เงินสดในสมาร์ ทการ์ ด (มีลกั ษณะเหมือนกับบัตร Debit Card)
232
ระบบการจ่ ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
4)
การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer – EFT)
เป็ นการโอนเงินโดยใช้ เครือข่ ายสื่ อสารโทรคมนาคม เช่ นการโอนเงิน
ระหว่ างธนาคารทัว่ โลก, การโอนเงินโดยใช้ เครื่อง ATM, การชาระ
สิ นค้ าหรือบริการผ่ าน ATM, การโอนเงินเข้ าบัญชีธนาคารของ
พนักงาน, การจ่ ายค่ าสาธารณูปโภค และค่ าใช้ จ่ายต่ าง ๆ โดยหักจาก
บัญชีธนาคาร เป็ นต้ น
233
การประยุกต์ ใช้ E-Commerce
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)
เป็ นการประยุกต์ แนวคิดของ E-Commerce โดยใช้ เทคโนโลยี
อินเทอร์ เน็ตในการรับ-ส่ ง สารสนเทศและการบริการของรัฐสู่
ประชาชน, ภาคธุรกิจ, หรือหน่ วยงานของรัฐ ซึ่งรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์ มี 3 รูปแบบ คือ
234
การประยุกต์ ใช้ E-Commerce
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)
1) รัฐบาลกับประชาชน (G2C)
คือการใช้บริ การของรัฐไปยังประชาชน เช่น การเสี ยภาษี online เป็ นต้น
2) รัฐบาลกับธุรกิจ(G2B)
เป็ นการติดต่อระหว่างภาครัฐกับเอกชน หรื อ suppliers เพื่อดาเนินธุรกิจ
เช่น การประมูลผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) การจัดซื้ อจัดจ้างผ่าน
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Procurement)
3) รัฐบาลกับรัฐบาล (G2G)
เป็ นการติดต่อระหว่างภาครัฐกับรัฐ ในกระทรวงหรื อระหว่าง
กระทรวงก็ได้
235
การประย ุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสรรพากร
236
การประยุกต์ ใช้ E-Commerce
พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ แบบเคลือ่ นที่ (M-Commerce)
คือ การทาพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ โดยผ่ านอุปกรณ์ แบบไร้ สาย เช่ น
โทรศัพท์ เคลือ่ นที่, PDA ซึ่งลักษณะสาคัญของ M-Commerce มี
ดังนี้
1) เคลือ่ นไหวได้ อย่ างคล่ องตัว (Mobility)
2) เข้ าถึงง่ าย (Reachability)
3) มีแพร่ หลาย (Ubiquity)
4) สะดวกในการใช้ งาน (Convenience)
237
ประโยชน์ ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อบุคคล
1)
2)
3)
4)
5)
มีสินค้ าและบริการราคาถูกจาหน่ าย
ทาให้ ลูกค้ ามีทางเลือกมากขึน้
สามารถทาธุรกรรมได้ ตลอด 24 ชั่วโมง
ทราบข้ อมูลเกีย่ วกับสิ นค้ าและบริการได้ ในเวลาทีร่ วดเร็ว
ทาให้ ลูกค้ าสามารถเลือกสิ นค้ าตรงตามความต้ องการมากทีส่ ุ ด
238
ประโยชน์ ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อบุคคล
6. ทาให้ ลูกค้ าสามารถเลือกสิ นค้ าตรงตามความต้ องการมากทีส่ ุ ด
7.สนับสนุนการประมูลเสมือนจริง
8.ทาให้ ลูกค้ าสามารถติดต่ อกับลูกค้ ารายอืน่ ในการแลกเปลีย่ นความ
คิดเห็น
9.ทาให้ เกิดการเชื่อมโยงการดาเนินงานภายในโซ่ มูลค่ า (Value
Chain Integration)
239
ประโยชน์ ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อองค์ การธุรกิจ
1)
2)
3)
4)
5)
6)
ขยายตลาดในระดับประเทศและระดับโลก
ทาให้ บริการลูกค้ าได้ จานวนมากทัว่ โลกด้ วยต้ นทุนทีต่ ่า
ลดปริมาณเอกสารเกีย่ วกับการสร้ าง การประมวล การกระจาย
การเก็บและการดึงข้ อมูลได้ ถึงร้ อยละ 90
ลดต้ นทุนการสื่ อสารโทรคมนาคม เพราะ Internet ราคาถูกกว่ า
โทรศัพท์
ช่ วยให้ บริษัทขนาดเล็กสามารถแข่ งขันกับบริษทั ขนาดใหญ่ ได้
ทาให้ การจัดการผลิตมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึน้
240
ประโยชน์ ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อสั งคม
1)
2)
ทาให้ คนสามารถทางานที่บ้านได้ ทาให้ มีการเดินทาง
น้ อยลง ทาให้ การจราจรไม่ ติดขัด ลดปัญหามลพิษทาง
อากาศ
ทาให้ มีการซื้อขายสิ นค้ าราคาถูกลง คนที่มีฐานะไม่ รวยก็
สามารถยกระดับมาตรฐานการขายสิ นค้ าและบริการได้
241
ประโยชน์ ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อระบบเศรษฐกิจ
1)
2)
3)
4)
5)
กิจการ SMEs ในประเทศกาลังพัฒนาอาจได้ ประโยชน์ จากการเข้ าถึง
ตลาดทีก่ ว้ างขวางในระดับโลก
ทาให้ กจิ การในประเทศกาลังพัฒนาสามารถเข้ าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้
บทบาทของพ่อค้ าคนกลางลดลง ทาให้ ต้นทุนการซื้อขายลดลง ทาให้
อุปสรรคการเข้ าสู่ ตลาดลดลงด้ วย
ทาให้ ประชาชนในชนบทได้ หาสิ นค้ าหรือบริการได้ เช่ นเดียวกันในเมือง
เพิม่ ความเข้ มข้ นของการแข่ งขัน ทาให้ เป็ นประโยชน์ ต่อผู้บริโภค
242
ข้ อจากัดเกีย่ วกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านเทคนิค
1)
2)
3)
4)
5)
6)
ขาดมาตรฐานสากลทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับในด้ านคุณภาพ ความปลอดภัย และ
ความน่ าเชื่อถือ
ความกว้ างของช่ องทางการสื่ อสารมีจากัด
ซอร์ ฟแวร์ ยงั กาลังอยู่ระหว่ างการพัฒนา
ปัญหาความเข้ ากันได้ ระหว่ าง Internet และซอร์ ฟแวร์ ของ Ecommerce กับแอพพลิเคชั่น
ต้ องการ Web Server และ Network Server ทีอ่ อกแบบมาเป็ นพิเศษ
การเข้ าถึงอินเตอร์ เน็ตยังมีราคาแพงและไม่ สะดวก
243
ข้ อจากัดเกีย่ วกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านกฎหมาย
1)
2)
3)
กฎหมายทีส่ ามารถคุ้มครองการทาธุรกรรมข้ ามรัฐหรือข้ ามประเทศ
ไม่ มีมาตรฐานทีเ่ หมือนกัน และมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่ างกัน
การใช้ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ จะมีผล
ทางกฎหมายหรือไม่
ปัญหาเกิดจากการทาธุรกรรม เช่ น การส่ งสิ นค้ ามีลกั ษณะแตกต่ าง
จากทีโ่ ฆษณาบนอินเทอร์ เน็ต จะมีการเรียกร้ องค่ าเสี ยหายได้ หรือไม่
244
ข้ อจากัดเกีย่ วกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านธุรกิจ
1)
2)
3)
วงจรผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle) จะสั้ นลง เพราะการเข้ าถึง
ข้ อมูลทาได้ ง่ายและรวดเร็ว การลอกเลียนผลิตภัณฑ์ จึงทาได้
รวดเร็ว เกิดคู่แข่ งเข้ ามาในตลาดได้ ง่าย จะต้ องมีการสร้ างสรรค์
ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ เสมอ
ความพร้ อมของภูมิภาคต่ าง ๆในการปรับโครงสร้ างเพือ่ รองรับการ
เจริญเติบโตของ E-Commerce มีไม่ เท่ ากัน
ภาษีและค่ าธรรมเนียม จาก E-Commerce จัดเก็บได้ ยาก ยังไม่ มี
กฎหมายคุ้มครอง
245
ข้ อจากัดเกีย่ วกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านธุรกิจ
4)
5)
6)
ต้ นทุนในการสร้ าง E-Commerce ครบวงจรค่ อนข้ างสู ง เพราะ
รวมถึงค่ า Hardware, Software ทีม่ ีประสิ ทธิภาพ ระบบความ
ปลอดภัยทีน่ ่ าเชื่อถือ การจัดการระบบเครือข่ าย ตลอดจนค่ าจ้ าง
บุคลากร
ประเทศกาลังพัฒนาต้ องลงทุนทางด้ านเทคโนโลยีสูงมาก ใน
โครงสร้ างพืน้ ฐาน
เงินสด อิเลกทรอนิกส์ ทาให้ เกิดการฟอกเงินได้ ง่าย เนื่องจากการใช้
เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ จะทาให้ การตรวจสอบทีม่ าของเงินทาได้ ยาก
246
ข้ อจากัดเกีย่ วกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านอืน่ ๆ
1)
2)
3)
การให้ ข้อมูลทีเ่ ป็ นเท็จบนอินเตอร์ เน็ต มีมาก และมีการขยายตัว
เร็วมากกว่ าการพัฒนาของอินเตอร์ เน็ตเสี ยอีก
สิ ทธิส่วนบุคคล (Privacy) ระบบการจ่ ายเงิน หรือการให้ ข้อมูล
ของลูกค้ าทางอินเตอร์ เน็ตทาให้ ผู้ขายทราบว่ าผู้ซื้อเป็ นใคร และ
สามารถใช้ ซอร์ ฟแวร์ ติดตามกิจกรรมต่ าง ๆ หรือส่ ง Spam ไป
รบกวนได้
E-Commerce เหมาะกับระบบเศรษฐกิจทีส่ ามารถเชื่อถือและไว้ ใจ
ได้ ท้งั ผู้ซื้อและผู้ขาย รวมทั้งหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
247
ข้ อจากัดเกีย่ วกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านอืน่ ๆ
ยังไม่ มีการประเมินผลการดาเนินงาน หรือวิธีการที่ดีของ
E-Commerce เช่ น การโฆษณาผ่ านทาง E-Commerce ว่ าได้ ผลเป็ น
อย่างไร
4)
จานวนผู้ซื้อ / ขาย ที่ได้ กาไรหรือประโยชน์ จาก E-Commerce ยัง
มีจากัด โดยเฉพาะในประเทศไทยซึ่งสั ดส่ วนของผู้ใช้ อนิ เตอร์ เน็ต
ต่ อประชากรต่ามาก และการใช้ E-Commerce ในการซื้อ/ขาย
สิ นค้ า มีน้อยมาก
4)
248
สรุป
E-Commerce หมายถึง การทาธุรกรรมทุกรู ปแบบโดย
ผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะอย่ างยิง่ เครือข่ าย
อินเตอร์ เน็ต
แนวคิดของ E-Commerce ประกอบด้ วยปัจจัย 3 ส่ วน คือ
1) แอพพลิเคชั่นการใช้ งาน 2) ปัจจัยทางการบริหารที่
เกีย่ วข้ อง และ 3) โครงสร้ างพืน้ ฐานของระบบ
E-Commerce มี 3 ประเภทคือ 1) ธุรกิจกับธุรกิจ (B2B)
2) ธุรกิจกับลูกค้ า (B2C) และ 3) ธุรกิจกับรัฐบาล (B2G)
249
สรุป
E-Commerce แบบ B2C มีหลายประเภทเช่ น ร้ านค้ าปลีก
อิเล็กทรอนิกส์ , การโฆษณาอิเล็กทรอนิกส์ , ตลาดแรงงาน, การท่ องเทีย่ ว
, การประมูล
E-Commerce แบบ B2G เป็ นรู ปแบบของรัฐบาลทีม่ กี ารติดต่ อกับธุรกิจ
และ G2G เป็ นการติดต่ อระหว่ างหน่ วยงานของรัฐบาล หรืออาจเรียกว่ า
E-Government
ขั้นตอนการซื้อขายผ่ านอินเตอร์ เน็ตมี 5 ขั้นตอน คือ 1) การค้ นหา
ข้ อมูล 2) การเลือกและต่ อรอง 3)การซื้อสิ นค้ า/บริการทางอินเตอร์ เน็ต
4)การจัดส่ งสิ นค้ า/บริการ และ 5) การบริการหลังการขาย
250
สรุป
ระบบการจ่ ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ มีหลายรู ปแบบ เช่ น เช็คอิเล็กทรอนิกส์ ,
เครดิตการ์ ดอิเล็กทรอนิกส์ , เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ , และการโอนเงิน
อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้ น
การรักษาความปลอดภัยในระบบ E-Commerce เป็ นเรื่องทีม่ ีความสาคัญ
ยิง่ ซึ่งการรักษาความปลอดภัยที่นิยมใช้ คอื การแปลงรหัส (Encryption)
และใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Certificate) และโปรโตคอล
ประโยชน์ ของ E-Commerce มีท้งั ต่ อบุคคล, องค์ การ, สั งคม, ระบบ
เศรษฐกิจ และข้ อจากัดมีท้งั ทางด้ านเทคนิค, กฎหมาย, ด้ านการบริหาร
และอืน่ ๆ
251
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
(e-Government)

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ คือ วิธีการบริหารจัดการภาครัฐ
สมัยใหม่ โดยการใช้ IT และเครือข่ ายสื่ อสารเพิม่
ประสิ ทธิภาพการดาเนินการของรัฐ
252
กลยุทธ์ การพัฒนาโดยใช้ IT มี 5 กลุ่ม





ด้ านภาครัฐ e-Government
ด้ านพาณิชย์ e-Commerce
ด้ านอุตสาหกรรม e-Industry
ด้ านการศึกษา e-Education
ด้ านสั งคม e-Society
ตัวอย่ างของ
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
253
ประโยชน์ ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์





เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทางานของหน่ วยงานรัฐ
เพิม่ คุณภาพในการบริการประชาชนให้ สะดวกรวดเร็ว
สร้ างความโปร่ งใสในการดาเนินงานและให้ บริการ
ลดต้ นทุนการดาเนินงานและการให้ บริการของหน่ วยงานภาครัฐ
เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่ งขันของประเทศ
254
255
IT กับ IS
IT คือ Information Technology หมายถึง
เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยี
สานักงานอัตโนมัติ และเทคโนโลยีการพิมพ์
IS คือ Information System หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ ทสี่ ามารถ
จัดทาสารสนเทศ หรือข่ าวสารที่มีความหมาย สาหรับให้ พนักงานใช้
ปฏิบัตงิ านอย่ างมีประสิ ทธิภาพ และให้ ผู้บริหารใช้ ในการตัดสิ นใจอย่ าง
มีประสิ ทธิผล
IS ต้ องอาศัย IT
256
ICT
ICT คือ Information Communication Technology
หมายถึง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพือ่ การสื่ อสาร
257
การใช้ ไอทีในไทย
 โดยทัว่ ไปภาคเอกชนก้ าวหน้ ามากกว่ าภาครัฐ
 การใช้ ในภาครัฐส่ วนมากหนักไปทางด้ านการจัดทาและ
ให้ บริการข้ อมูล
 ระบบทะเบียนราษฎร ของสานักบริหารการทะเบียน
กรมการปกครอง
 ระบบบัตรประชาชน ของ กทม.
258
วีดิทศั น์ตามอัธยาศัย
(Video on Demand : VOD)
เป็นระบบที่นาภาพวิดีโอมาบันทึกลงในระบบคอมพิวเตอร์
เพียงช ุดเดียว สามารถแจกจ่ายวิดีโอช ุดนี้ให้กบั ผูใ้ ช้จานวน
มากได้
259
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books)
หนังสือที่สามารถอ่านได้ทางอินเทอร์เน็ต
260
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
(E-library)
การให้บริการงานห้องสมุดด้วยระบบอัตโนมัติ
เช่น
การยืม-คืนด้วยบาร์โค้ด
การสืบค้นข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
261
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในสาขาธุรกิจ พาณิชย์ และสานักงาน
การพาณิชอิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
-การโฆษณา
- การสัง่ ซื้อ
- การชาระเงิน - การส่งสินค้า
262
E-business
เป็นธ ุรกิจเชิงอิเล็กทรอนิกส์
แต่มีขอบเขตกว้างกว่า
E-commerce ที่มิได้พิจารณาเฉพาะกิจกรรมการซื้อขายเท่านัน้
263
ระบบสานักงานอัตโนมัติ
กระจาย
เอกสาร
จัดเตรียม
เอกสาร
จัดเก็บค้นคืนเอกสาร
ประช ุม
ทางไกล
เตรียมสารสนเทศด้วยภาพ
264
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในสาขาอุตสาหกรรมและการผลิต
อ ุตสาหกรรมการพิมพ์
ใช้ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์จดั เตรียม
ต้นฉบับ บรรณาธิการ ตีพิมพ์ จัดเก็บ และจัด
จาหน่าย
265
อ ุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์
มีการใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบรถ
ปฏิบตั ิการการผลิต การบริการ
และการขาย
266
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในสาขาสาธารณสุขและการแพทย์
ระบบแพทย์ทางไกล (Telemedicine)
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลคนไข้
ประสบการณ์ต่างๆ หารือกันได้
เสมือนอยูใ่ นห้องเดียวกัน
267
ระบบการปรึกษาแพทย์ทางไกล (Medical Consultation)
เป็นระบบการปรึกษาระหว่าง
โรงพยาบาลกับโรงพยาบาลซึ่ง
จะสามารถใช้งานพร้อมๆกันได้
268
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในสาขาการสื่ อสารและโทรคมนาคม
ดาวเทียม (Satellite)
เช่น ใช้ในทางทหาร
สารวจทรัพยากรทางธรรมชาติ
269
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิทลั (Integrate Service
Digital Network: ISDN)
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
ขององค์การโทรศัพท์แห่ง
ประเทศไทย
270
โทรสาร (Facsimile หรือ FAX)
เป็นอ ุปกรณ์การสื่อสารข้อมูล
เพื่อส่งผ่านสารสนเทศโดยแปลง
ภาพหรืออักษรเป็น
สัญญาณไฟฟ้าแล้วส่งไปตาม
ช่องทางคมนาคม
271
ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail: Email)
เป็นบริการรับส่งข้อความในร ูปของแฟ้มข้อมูล
อิเล็คทรอนิกส์ ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต
272
การประช ุมทางไกล (Teleconference)
เป็นร ูปแบบการสื่อสารหรือการประช ุมหลายๆ
คนโดยไม่ตอ้ งอยูต่ ่อหน้ากัน
273
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในหน่ วยงานราชต่ างๆ
สานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (GITS)
ให้บริการเครือข่ายสารสนเทศภาครัฐ
ในการดาเนินงานอันนาไปสูก่ ารเป็น
E-government
274
อินเทอร์เน็ตตาบล
275
ด้านรัฐสภา
มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในกิจการงานสภา
ศึกษาวิเคราะห์ระบบงานรัฐสภาทัง้ หมด เพื่อพัฒนา
ฐานข้อมูล
276
ด้านการทหารและกองบัญชาการทหารสูงส ุด
•ด้านการสื่อสาร และภ ูมิศาสตร์
 การนาดาวเทียมทหารมาใช้ดา้ นความมัน่ คง การ
ถ่ายภาพภ ูมิศาสตร์ จาลองภ ูมิประเทศ
277
• ด้านอาว ุธ และอ ุปกรณ์การรักษาความมัน่ คงของ
ประเทศ
 การนาเทคโนโลยีมาใช้ประดิษฐ์อาว ุธที่ทนั สมัย
278
ด้านการตารวจ
•ระบบตรวจสอบลายพิมพ์น้ ิวมืออัตโนมัติ
279
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในสาขาบันเทิง
E-cinema
เพื่อสามารถจองตัว๋ ออนไลน์
เลือกที่นงั่ จ่ายเงิน เป็นต้น
280
จริยธรรมและ
ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ
6
281
บทนีม้ ีอะไรบ้ าง ?
1 ความหมายของจริยธรรม
2 กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม
3 การคุ้มครองความเป็ นส่ วนตัว
4 การคุ้มครองทางทรัพย์ สินทางปัญญา
5 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
6 การรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
282
ความหมายของจริยธรรม
คาจากัดความของจริ ยธรรมมีอยูม่ ากมาย เช่น
“หลักของศีลธรรมในแต่ละวิชาชีพเฉพาะ”
“มาตรฐานของการประพฤติ ปฏิบตั ิในวิชาชีพที่ได้รับ”
“ข้อตกลงกันในหมู่ประชาชนในการกระทาสิ่ งที่ถูกและ
หลีกเลี่ยงการกระทาที่ผิด”
สรุป
จริ ยธรรม (Ethics) คือ หลักของความถูกและผิดที่บุคคลใช้
เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิ
283
กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม
หลักปรัชญาเกีย่ วกับจริยธรรม มีดังนี้
1.
ปฏิบัติต่อคนอืน่ เหมือนอย่ างทีต่ ้ องการให้ ผู้อนื่ ปฏิบัติต่อตน
2.
ถ้ าการกระทาอย่ างหนึ่งไม่ เหมาะทีท่ ุกคนจะปฏิบัติ ดังนั้น การ
กระทาดังกล่าว ก็ไม่เหมาะที่คนใดคนหนึ่งจะปฏิบตั ดิ ว้ ย
3.
ถ้ าการกระทาใดไม่ พงึ ปฏิบัตซิ ้า ๆ กันหลายครั้ง การกระทานั้นก็
ไม่ควรนามาปฏิบตั ิเลยแม้แต่ครั้งเดียว
4.
ถ้ าสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งทีส่ ร้ างขึน้ โดยคนอืน่ และมีประโยชน์ ต่อคนใดคน
หนึ่ง คน ๆ นั้นพึงให้คุณค่าและผลตอบแทนแก่ผทู ้ คี่ ิดค้นหรื อ
สร้างขึ้นมา
284
กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม
R.O. Mason และคณะ (2001) ได้จาแนกประเด็นเกี่ยวข้องกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ น 4 ประเภท คือ
1.) ประเด็นความเป็ นส่ วนตัว (Privacy)
2.) ประเด็นความถูกต้ องแม่ นยา (Accuracy)
3.) ประเด็นของความเป็ นเจ้ าของ (Property)
4.) ประเด็นของความเข้ าถึงได้ ของข้ อมูล (Accessibility)
ดูตารางที่ 11.1
285
การคุ้มครองความเป็ นส่ วนตัว
ความเป็ นส่ วนตัวคือสิ ทธิที่อยู่ตามลาพังและสิ ทธิ
ที่เป็ นอิสระจากการถูกรบกวนโดยไม่มีเหตุอนั ควร
ความเป็ นส่ วนตัวของข้ อมูลสารสนเทศ
คือ สิ ทธิในการตัดสิ นใจว่าเมื่อใดข้อมูลสารสนเทศของ
บุคคลหนึ่ง จะสามารถเปิ ดเผยให้กบั ผูอ้ ื่นได้ และภายใต้
ขอบเขตอย่างไร
286
การคุ้มครองความเป็ นส่ วนตัว
แนวทางการพัฒนาคุ้มครองความเป็ นส่ วนตัว
ความถูกต้ องแม่ นยาของข้ อมูล



ข้อมูลส่ วนตัว ควรจะได้รับการตรวจสอบก่อนจะนาเข้าสู่
ฐานข้อมูล
ข้อมูลควรมีความถูกต้องแม่นยา และมีความทันสมัย
แฟ้ มข้อมูลควรทาให้บุคคลสามารถเข้าถึง (ข้อมูลของตน)
และตรวจสอบความถูกต้องได้
287
การคุ้มครองความเป็ นส่ วนตัว
แนวทางการพัฒนาคุ้มครองความเป็ นส่ วนตัว
ความลับของข้ อมูล



ควรมีมาตรการป้ องกันความปลอดภัยของข้อมูลบุคคล ไม่วา่
จะเป็ นทางด้านเทคนิค และการบริ หาร
บุคคลที่สามไม่สมควรได้รับอนุญาตให้เข้าถึงข้อมูลโดย
ปราศจากการรับรู ้หรื ออนุญาตของเจ้าของ ยกเว้นโดย
ข้อกาหนดของกฎหมาย
ข้อมูลไม่ควรถูกเปิ ดเผยด้วยเหตุผลที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์
ในการเก็บข้อมูล
288
การคุ้มครองทางทรัพย์ สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปั ญญาเป็ นทรัพย์สินที่จบั ต้องไม่ได้ ที่สร้างสรรค์ข้ ึนโดยปั จเจกชน
หรื อนิติบุคคล ซึ่ งอยูภ่ ายใต้ความคุม้ ครองของกฎหมายลิขสิ ทธิ์ กฎหมาย
ความลับทางการค้า และกฎหมายสิ ทธิบตั ร
ลิขสิ ทธิ์ (Copyright) หมายถึง สิ ทธิ์ แต่ผเู ้ ดียวที่จะกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่
ผูส้ ร้างสรรค์ได้ทาขึ้น ซึ่ งเป็ นสิ ทธิ์ ในการป้ องกันการคัดลอกหรื อทาซ้ าใน
งานเขียน งานศิลป์ หรื องานด้านศิลปะอื่น ตามพระราชบัญญัติดงั กล่าว
ลิขสิ ทธิ์ ทวั่ ไปมีอายุหา้ สิ บปี นับแต่งานได้สร้างสรรค์ข้ ึน หรื อนับแต่ได้มี
การโฆษณาเป็ นครั้งแรก
สิ ทธิ์บัตร (Patent) หมายถึง หนังสื อสาคัญที่ออกให้เพื่อคุม้ ครองการประดิษฐ์
หรื อการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามที่กฎหมายกาหนดไว้ โดยสิ ทธิ บตั รมี
อายุ 20 ปี นับแต่วนั ขอรับสิ ทธิ บตั ร
289
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ อาจจะเป็ นไปได้ ท้งั
เครื่องคอมพิวเตอร์ ในฐานะเป็ นเครื่องประกอบ
อาชญากรรม
คือ ใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องมือในการเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสาร และทาลายระบบคอมพิวเตอร์อื่น
1.
290
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
2. เครื่องคอมพิวเตอร์ ในฐานะเป้าหมายของอาชญากรรม
2.1 การเข้าถึงและการใช้คอมพิวเตอร์ที่ไม่ถูกกฎหมาย
ซึ่งมีท้ งั Hacker และ Criminal Hacker (Cracker)
2.2 การเปลี่ยนแปลงและทาลายข้อมูล โดย
virus : เป็ นโปรแกรมที่ตอ้ งทางานร่ วมกับโปรแกรมอื่น
 worms : เป็ นโปรแกรมอิสระที่สามารถจาลองโปรแกรมเองได้

2.3 การขโมยข้อมูลข่าวสารและเครื่ องมือ
2.4 การสแกมทางคอมพิวเตอร์ (Computer-related Scams)
291
การรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยให้ ระบบสารสนเทศมีความปลอดภัย และยัง
ช่ วยลดข้ อผิดพลาด การทาลายระบบสารสนเทศ มีระบบการ
ควบคุมทีส่ าคัญ 3 ประการ คือ
 การควบคุมระบบสารสนเทศ
 การควบคุมกระบวนการทางาน
 การควบคุมอุปกรณ์อานวยความสะดวก
292
การรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
การควบคุมสารสนเทศ
การควบคุมอินพุท
การควบคุมการประมวลผล
การควบคุมฮาร์ดแวร์
การควบคุมซอร์ฟแวร์
การควบคุมเอาท์พทุ
293
การรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
การควบคุมความจาสารอง
มอบหมายให้หน่วยงานอื่นรับผิดชอบข้อมูลขององค์การ
การใช้รหัสผ่านในการเข้าถึงข้อมูล
การสร้างแบ็คอัพไฟล์ขอ้ มูล
294
การรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
การควบคุมกระบวนการทางาน
การมีการทางานที่เป็ นมาตรฐานและคู่มือ
การอนุมตั ิเพื่อพัฒนาระบบ
การมีแผนการป้ องกันการเสี ยหาย
การตรวจสอบระบบสารสนเทศ
295
การรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
การควบคุมอุปกรณ์ อานวยความสะดวกอืน่
ความปลอดภัยทางเครื อข่าย (Network Security)
การแปลงรหัส (Encryption)
กาแพงกันไฟ (Fire Walls)
การป้ องกันทางกายภาพ (Physical Protection Controls)
การควบคุมด้านชีวภาพ (Biometric Control)
การควบคุมความล้มเหลวของระบบ
296
ลักษณะของการทางานที่จะส่ ง



ให้ นักศึกษาทาเป็ นลักษณะของรายงานรู ปเล่ ม ให้ สมบูรณ์ ตามแบบของรายงานทัว่ ไป ดังนี้
- ปกหน้ า
- คานา
- สารบัญ
- เนือ้ หา
- บรรณานุกรม
จากนั้นให้ Save File เป็ นชื่อของนักศึกษา แล้ วส่ งเมล์ แบบแนบไฟล์ โดยเมล์ ดงั กล่ าว
ต้ องเป็ นของนักศึกษาเองเท่ านั้น ส่ งตามเมล์ ทไี่ ด้ แจ้ งให้ ทราบ
สาหรับระยะเวลาและวันทีจ่ ะเอามาจากอีเมล์ ทที่ ่ านส่ งมาเป็ นตัวบอกเวลาในการจัดส่ ง (พิจารณา
เป็ นคะแนนจิตพิสัย)
297
Work 1
 ให้ นักศึกษาทาความเข้ าใจจากเอกสารประกอบการเรียนดังกล่ าว
ในทุก ๆ บทจากนั้นให้ นักศึกษาสรุปสาระเนือ้ หาทีไ่ ด้จากเอกสาร
ดังกล่ าว โดยให้ สรุปแล้ ว แล้ วส่ งงานดังกล่ าวมาที่
[email protected] ภายใน
วันที่ 31 มีนาคม 2551
298
Work 2
 ให้ นักศึกษาค้ นคว้ าและศึกษาหาตัวอย่ างขององค์ กรทีม
่ ีการ
นาเอาระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการไปใช้ ในการบริหารจัดการ
องค์ กร โดยวิเคราะห์ ว่าได้ มีการนาระบบไปใช้ อย่ างไรบ้าง
เกีย่ วข้ องกับระบบสารสนเทศประเภทใด และทาให้ เกิด
ประสิ ทธิภาพ และประโยชน์ ต่อองค์ กรอย่ างไรบ้ าง ส่ งงาน
ดังกล่ าวมาที่
[email protected] ภายใน
วันที่ 10 เมษายน 2551
299
กรณีศึกษา
นิพนธ์ ร่ องพืช
THANK YOU
300