E-Commerce Chapter 4 LOGO THINAPHAN NITIYUWITH

Download Report

Transcript E-Commerce Chapter 4 LOGO THINAPHAN NITIYUWITH

LOGO
Chapter 4
E-Commerce
THINAPHAN NITIYUWITH
Dept. of Computer Science & Information Technology
http://computer.pcru.ac.th/suchada/
1
Management Information System
บทนีม้ ีอะไรบ้ าง ?
1 ความหมายของ E-Commerce
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
3 ประเภทของ E-Commerce
4 ขั้นตอนการซื้ อขายผ่านอินเตอร์เน็ต
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
2
Management Information System
บทนีม้ ีอะไรบ้ าง ?
6
7
8
9
ประโยชน์ของ E-Commerce
การประยุกต์ใช้ E-Commerce
ข้อจากัดเกี่ยวกับ E-Commerce
สรุ ป
3
ความแตกต่ างระหว่ าง
e-Commerce และ e-Business
 ผูค้ นจานวนมากเข้าใจว่า e-Commerce คือ
 e-Business และมักใช้สองคานี้แทนกันอยูเ่ สมอ ซึ่งในความ
เป็ นจริ งแล้วทั้งสองคามีความหมายใกล้เคียงกัน แต่ไม่เหมือนกันทีเดียว
e-Business มีขอบเขตที่กว้างกว่า โดยหมายถึง การทากิจกรรม
ในทุก ๆ ขั้นตอนของกระบวนการธุรกิจผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่วา่ จะ
เป็ นเรื่ องของการซื้อขาย การติดต่อประสานงาน รวมถึงงานธุรการต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นภายในสานักงานด้วย ในขณะที่ e-Commerce หรื อ
พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์จะเน้นเฉพาะการ ซื้อขายสิ นค้าหรื อบริ การผ่าน
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเท่านั้น จึงกล่าวโดยสรุ ปได้วา่ eCommerce เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของ e-Business เท่านั้น
4
ความแตกต่ างระหว่ าง E-Commerce
และ E-Business
E-Business
E-Commerce
5
Management Information System
1 ความหมายของพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ได้มีผคู ้ วามหมายไว้หลายความหมาย
เช่น


กิจกรรมเชิงพาณิชย์ทดี่ าเนินการโดยมีการแลกเปลีย่ น เก็บรักษา หรื อสื่ อสาร
ข้ อมูลข่ าวสาร โดยผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการแลกเปลีย่ นข้ อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ อีเมล์ และอื่น ๆ (Hill, 1997)
การใช้ วธิ ีการอิเล็กทรอนิกส์ ในการดาเนินงานให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ทางธุรกิจ
รวมทั้งการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่ น EDI การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การ
ประมูลอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีการสื่ อสารคมนาคมอื่น ๆ โทรทัศน์ และ
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ต (Palmer, 1997)
6
Management Information System
1 ความหมายของพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์


E-Commerce หมายถึง การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรื อการ
ขนส่ งผลิตภัณฑ์ และบริการโดยสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ (World Trade
Organization: WTO)
E-Commerce คือ การซื้อขายสิ นค้ า บริการ และสารสนเทศผ่านเครื อข่ าย
คอมพิวเตอร์ รวมทั้งอินเตอร์ เน็ต (Turban et al, 2000)
สรุป
พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทาธุรกรรมทุกรูปแบบโดยการ
ครอบคลุมถึงการซื้อ-ขายสิ นค้ า/บริการ การชาระเงิน การโฆษณาโดย
ผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่ าง ๆ โดยเฉพาะเครื อข่ ายทาง
อินเตอร์ เน็ต
7
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
8
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce
การประยุกต์ใช้ E-Commerce มีการประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง
อย่างเช่น
การขายตรง
การซื้อขายหุ้น
การหางาน
ธนาคารออนไลน์
การจัดหาและการซื้อสิ นค้ า
9
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce
การประมูล
การท่องเที่ยว
การบริ การลูกค้า
การพิมพ์งานออนไลน์ (Online publishing)
การติดต่อธุรกรรมระหว่างหน่วยงาน
ห้างสรรพสิ นค้า
10
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 ปัจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 องค์การ / บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบ E-Commerce
รัฐบาล
เตรี ยมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เครื อข่ายโทรศัพท์
ให้การสนับสนุนและส่ งเสริ ม
ออกกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผูท้ าธุรกิจ
ผูใ้ ช้บริ การ
11
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 ปัจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 องค์การ / บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบ E-Commerce
ผูใ้ ห้บริ การอินเตอร์เน็ต (ISP)
ตัวกลาง (Intermediary) คือ หน่วยงานกลางที่ออกใบรับรอง
(Certificate) ในระบบการชาระเงิน และรับรองผูซ้ ้ื อและ
ผูข้ ายว่าเป็ นบุคคลหรื อหน่วยงานที่เชื่อถือได้
สถาบันการเงิน อานวยความสะดวกในการชาระเงิน
12
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 ปัจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 นโยบายสารธารณะและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับ
ระบบ E-Commerce
ภาษี
กฎหมายและระเบียบต่างๆ
มาตรฐานด้านเทคนิค
13
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 ปัจจัยทางการบริหารของระบบ E-Commerce
 การบริหารกลยุทธ ์การตลาด
และการโฆษณา
การวิจยั ทางการตลาด
การส่ งเสริ มการขาย
เนื้อหาในเว็ป
พันธมิตรทางการค้า
ลอจิสติกส์
14
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 โครงสร้ างพืน้ ฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
 โครงสร้ างพืน้ ฐานในการบริการ
แคตตาล็อกสิ นค้าออนไลน์ (E-Catalogue)
การชาระเงิน
การจัดส่ งสิ นค้า
การบริ การหลังการขาย
การรักษาความปลอดภัย
การบริ การอื่น ๆ
15
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 โครงสร้ างพืน้ ฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
 การกระจายสารสนเทศ
EDI
E-mail
Hypertext Transfer Protocol
Chat room
16
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 โครงสร้ างพืน้ ฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
เนื้อหามัลติมีเดียส์ /การออกแบบ/การนาเสนอ
HTML
JAVA
WWW
VRML
17
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 โครงสร้ างพืน้ ฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
 โครงสร ้างเครือข่าย
เคเบิ้ลทีวี
อินเตอร์เน็ต
อินทราเน็ต
เอ็กซทราเน็ต
โทรศัพท์มือถือ
18
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
2.2 โครงสร้ างพืน้ ฐานและการพัฒนาระบบ E-Commerce
 โครงสร ้างอินเตอร ์เฟซ (Interface)
การออกแบบเว็บเพจ
ฐานข้อมูล
แอพพลิเคชัน่
19
Management Information System
2 กรอบแนวคิดของ E-Commerce
E-Commerce มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ
ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรื อ B to B หรื อ B2B)
ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรื อ B to C หรื อ B2C)
ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรื อ B to G หรื อ B2G)
ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรื อ C to C หรื อ C2C)
20
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
B
EDI
B
EDI
G
G
E-Government
E-Government
C
C
E-Community
21
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B
เป็ นการทาธุรกิจระหว่างธุรกิจ ซึ่งอาจมีท้ งั ภายใน
บริ ษทั เดียวกัน (Intra-Company E-Commerce) และ
ระหว่างบริ ษทั (Inter-Company E-Commerce) ซึ่งมี
รู ปแบบดังนี้


Seller-Oriented Marketplace
Buyer-Oriented Marketplace
22
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B
 Seller-Oriented Marketplace
เป็ นรู ปแบบที่องค์กรขายสิ นค้าและบริ การให้แก่องค์การอื่น
ผ่านทางสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ คือธุรกิจ (ผูซ้ ้ือ) เข้าไปใน web
site เลือกชมสิ นค้าในแคตตาล็อก และสัง่ ซื้อสิ นค้า ซึ่ งส่ วน
ใหญ่จะเป็ นลูกค้าประจา นอกจากนี้ยงั มีระบบการสัง่ สิ นค้า
ระบบการจ่ายเงิน ผนวกกับระบบลอจิสติกส์ของผูข้ าย
23
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B
 Seller-Oriented Marketplace
Supplier’s E-mall
B
C
C
แคตตาล็อกของ
ซัพพลายเออร์
คาสั่ งซื้อของลูกค้ า
B
24
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B
Buyer-Oriented Marketplace
มีจุดมุ่งหมายในการลดต้นทุนของสิ นค้าที่จะซื้อ หรื อในตลาดที่
มีการประมูล โดยมีการประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยผ่าน
ไปยังเครื อข่ายอินทราเน็ตของผูซ้ ้ื อเพื่อประมวลหาผูข้ ายที่ดี
ที่สุด
25
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to B
Buyer-Oriented Marketplace
Buyer’s E-mall
B
แคตตาล็อกของผู้ซื้อ
การประมูลของ
ซัพพลายเออร์
ซัพพลายเออร์
B
26
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to C
1) ร้านค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
เป็ นการขายตรงจากธุรกิจถึงลูกค้า ซึ่ งมีรูปแบบ 2
ประเภทคือ


Solo Storefronts
Electronic mall หรื อ Cybermall
27
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to C
2) การโฆษณา


แบบ Banners
แบบ E-mail (แต่อาจจะทาให้เกิด Spamming)
3) แค็ตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์
4) ธนาคารไซเบอร์ (Cyber banking หรื อ Electronic
Banking หรื อ Virtual Banking)
28
Management Information System
3 ประเภทของ E-Commerce
E-Commerce แบบ B to C
5)
6)
7)
8)
ตลาดแรงงานออนไลน์ (Online job market)
การท่องเที่ยว
อสังหาริ มทรัพย์
การประมูล (Auctions)
29
Management Information System
4 ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ต
การซื้ อ ขายในระบบ E-Commerce มีข้ นั ตอน ดังต่อไปนี้
การค้นหาข้อมูล
การเลือกและการต่อรอง
การซื้ อสิ นค้า/บริ การทางอินเตอร์เน็ต
การจัดส่ งสิ นค้า/บริ การ
การพัฒนาหลังการขาย
30
Management Information System
4 ขั้นตอนการซื้ อขายผ่านอินเตอร์ เน็ต
การส่งสิ นค้า
แบบดั้งเดิม
ผู้ซื้อ
การส่งสิ นค้า
ทางอิเล็กทรอนิกส์
การค้นหาข้อมูล
การบริ การหลังการขาย
การเลือกและการต่อรอง
การส่ งสิ นค้า/บริ การ
การซื้อ
ที่มา: Stair, R.M. & G.W. Reynolds. 1999.
Principle of Information Systems: A Managerial
Approach. 4th ed. Cambridge, MA: Course Technology, P.129
31
Management Information System
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
การจ่ายเงินแบบเดิม เช่น การใช้เงินสด, เช็ค, ธนาณัติ,
และการให้หมายเลข Credit Card มีขอ้ จากัดในการ
นามาใช้กบั ระบบ E-Commerce เช่น ความปลอดภัย,
ความล่าช้า, และต้นทุนในการดาเนินการ ดังนั้น ระบบ
E-Commerce จึงได้มีการพัฒนาการชาระแบบ
Electronic เช่น เช็คอิเล็กทรอนิกส์ , เครดิตคาร์ ด
อิเล็กทรอนิกส์ , การจ่ ายเงินสดอิเล็กทรอนิกส์ , การใช้
สมาร์ ทการ์ ด, และการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้ น
32
Management Information System
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิ กส์
1) เช็คอิเล็กทรอนิกส์ (E-Check)
ลักษณะเหมือนกับเช็คทัว่ ไป เหมาะกับการชาระเงินยอดที่ไม่
มากนัก มีการรักษาความปลอดภัยโดยใช้รหัส ซึ่ งมีข้ นั ตอนดังนี้
1) ลูกค้าเปิ ดบัญชีธนาคารที่ใช้เช็ค
2) ลูกค้าติดต่อผูข้ ายเพื่อซื้อสิ นค้า/บริ การ และ E-mail ส่ งเช็ค
อิเล็กทรอนิกส์โดยการใช้รหัสและมีลายเซ็นดิจิทลั (Digital Signature)
3) ผูข้ ายนาเช็คเข้าไปฝากในบัญชีของตนเอง เงินจะถูกหักจากบัญชีของ
ผูซ้ ้ือ และโอนไปยังบัญชีของผูข้ าย
33
Management Information System
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิ กส์
2) เครดิตการ์ ดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic credit cards)
ธนาคารของผูข้ าย
ยืนยันการสัง่ ซื ้อ
สัง่ สินค้ า +
ข้ อมูลการชาระเงิน
ผู้ขาย
คาสัง่ ซื ้อของลูกค้ า
ถอดรหัส ส่งข้ อมูล
ไปยังธนาคารผู้ขาย
ข้ อมูลทางการเงิน
ของผู้ซื ้อ
เปิ ดบัญชี
ขอ Credit Card
ข้ อมูลการจ่ายเงินที่ใส่
รหัสพร้ อม Digital Signature
อนุมตั ิ/ปฏิเสธ
การจ่ายเงิน
องค์การที่สาม (ผูอ้ อก CA)
ธนาคารของผูซ้ ้ื อ
34
Management Information System
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิ กส์
3) เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Cash หรื Digital
Cash หรื อ E-Money)
การจ่ายเงิน Electronic มีสองวิธี คือ


การจ่ายเงินสดที่อยูใ่ นเครื่ อง พีซี (เป็ น ซอร์ฟแวร์การเงินที่
ออกให้โดยธนาคาร)
เงินสดในสมาร์ทการ์ด (มีลกั ษณะเหมือนกับบัตร Debit
Card)
35
Management Information System
5 ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิ กส์
4) การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer –
EFT)
เป็ นการโอนเงินโดยใช้เครื อข่ายสื่ อสารโทรคมนาคม เช่นการ
โอนเงินระหว่างธนาคารทัว่ โลก, การโอนเงินโดยใช้เครื่ อง
ATM, การชาระสิ นค้าหรื อบริ การผ่าน ATM, การโอนเงินเข้า
บัญชีธนาคารของพนักงาน, การจ่ายค่าสาธารณูปโภค และ
ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โดยหักจากบัญชีธนาคาร เป็ นต้น
36
Management Information System
6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)
เป็ นการประยุกต์แนวคิดของ E-Commerce โดยใช้เทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ตในการรับ-ส่ ง สารสนเทศและการบริ การของรัฐสู่
ประชาชน, ภาคธุรกิจ, หรื อหน่วยงานของรัฐ ซึ่ งรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์มี 3 รู ปแบบ คือ
37
Management Information System
6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)
1) รัฐบาลกับประชาชน (G2C)
คือการใช้บริ การของรัฐไปยังประชาชน เช่น การเสี ยภาษี online เป็ นต้น
2) รัฐบาลกับธุรกิจ(G2B)
เป็ นการติดต่อระหว่างภาครัฐกับเอกชน หรื อ suppliers เพื่อดาเนินธุรกิจ
เช่น การประมูลผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) การจัดซื้อจัดจ้างผ่าน
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Procurement)
3) รัฐบาลกับรัฐบาล (G2G)
เป็ นการติดต่อระหว่างภาครัฐกับรัฐ ในกระทรวงหรื อระหว่างกระทรวงก็ได้
38
Management Information System
6 การประยุกต์ใช้ E-Commerce
พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ แบบเคลื่อนที่ (M-Commerce)
คือ การทาพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านอุปกรณ์แบบไร้สาย เช่น
โทรศัพท์เคลื่อนที่, PDA ซึ่งลักษณะสาคัญของ M-Commerce มีดงั นี้
1) เคลื่อนไหวได้อย่างคล่องตัว (Mobility)
2) เข้าถึงง่าย (Reachability)
3) มีแพร่ หลาย (Ubiquity)
4) สะดวกในการใช้งาน (Convenience)
ตัวอย่างเช่น I-MODE ของ NTT DoCoMo ของประเทศญี่ปุ่น ที่ใช้ในการซื้อ
ขายหุน้ , ซื้อตัว๋ เดินทาง, ส่ งภาพ, หาข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้น
39
Management Information System
7 ประโยชน์ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อบุคคล
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
มีสินค้ าและบริการราคาถูกจาหน่ าย
ทาให้ ลูกค้ ามีทางเลือกมากขึน้
สามารถทาธุรกรรมได้ ตลอด 24 ชั่วโมง
ทราบข้ อมูลเกีย่ วกับสิ นค้ าและบริการได้ ในเวลาทีร่ วดเร็ว
ทาให้ ลูกค้ าสามารถเลือกสิ นค้ าตรงตามความต้ องการมากทีส่ ุ ด
สนับสนุนการประมูลเสมือนจริง
ทาให้ ลูกค้ าสามารถติดต่ อกับลูกค้ ารายอื่นในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น
ทาให้ เกิดการเชื่ อมโยงการดาเนินงานภายในโซ่ มูลค่ า (Value Chain Integration)
40
Management Information System
7 ประโยชน์ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อองค์ การธุรกิจ
1) ขยายตลาดในระดับประเทศและระดับโลก
2) ทาให้บริ การลูกค้าได้จานวนมากทัว่ โลกด้วยต้นทุนที่ต่า
3) ลดปริ มาณเอกสารเกี่ยวกับการสร้าง การประมวล การกระจายการเก็บ
และการดึงข้อมูลได้ถึงร้อยละ 90
4) ลดต้นทุนการสื่ อสารโทรคมนาคม เพราะ Internet ราคาถูกกว่าโทรศัพท์
5) ช่วยให้บริ ษทั ขนาดเล็กสามารถแข่งขันกับบริ ษทั ขนาดใหญ่ได้
6) ทาให้การจัดการผลิตมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
41
Management Information System
7 ประโยชน์ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อสั งคม
1) ทาให้คนสามารถทางานที่บา้ นได้ ทาให้มีการเดินทาง
น้อยลง ทาให้การจราจรไม่ติดขัด ลดปั ญหามลพิษทาง
อากาศ
2) ทาให้มีการซื้อขายสิ นค้าราคาถูกลง คนที่มีฐานะไม่รวยก็
สามารถยกระดับมาตรฐานการขายสิ นค้าและบริ การได้
42
Management Information System
7 ประโยชน์ของ E-Commerce
ประโยชน์ ต่อระบบเศรษฐกิจ
1) กิจการ SMEs ในประเทศกาลังพัฒนาอาจได้ประโยชน์จากการเข้าถึง
2)
3)
4)
5)
ตลาดที่กว้างขวางในระดับโลก
ทาให้กิจการในประเทศกาลังพัฒนาสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้
บทบาทของพ่อค้าคนกลางลดลง ทาให้ตน้ ทุนการซื้อขายลดลง ทาให้
อุปสรรคการเข้าสู่ ตลาดลดลงด้วย
ทาให้ประชาชนในชนบทได้หาสิ นค้าหรื อบริ การได้เช่นเดียวกันในเมือง
เพิ่มความเข้มข้นของการแข่งขัน ทาให้เป็ นประโยชน์ต่อผูบ้ ริ โภค
43
Management Information System
8 ข้อจากัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านเทคนิค
1) ขาดมาตรฐานสากลที่เป็ นที่ยอมรับในด้านคุณภาพ ความปลอดภัย และ
2)
3)
4)
5)
6)
ความน่าเชื่อถือ
ความกว้างของช่องทางการสื่ อสารมีจากัด
ซอร์ฟแวร์ยงั กาลังอยูร่ ะหว่างการพัฒนา
ปัญหาความเข้ากันได้ระหว่าง Internet และซอร์ฟแวร์ของ E-commerce
กับแอพพลิเคชัน่
ต้องการ Web Server และ Network Server ที่ออกแบบมาเป็ นพิเศษ
การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตยังมีราคาแพงและไม่สะดวก
44
Management Information System
8 ข้อจากัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านกฎหมาย
1) กฎหมายที่สามารถคุม้ ครองการทาธุรกรรมข้ามรัฐหรื อข้ามประเทศ ไม่มี
มาตรฐานที่เหมือนกัน และมีลกั ษณะที่แตกต่างกัน
2) การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรื อลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์จะมีผลทาง
กฎหมายหรื อไม่
3) ปัญหาเกิดจากการทาธุรกรรม เช่น การส่งสิ นค้ามีลกั ษณะแตกต่างจากที่
โฆษณาบนอินเทอร์เน็ต จะมีการเรี ยกร้องค่าเสี ยหายได้หรื อไม่
45
Management Information System
8 ข้อจากัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านธุรกิจ
1) วงจรผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle) จะสั้นลง เพราะการเข้าถึงข้อมูลทา
ได้ง่ายและรวดเร็ ว การลอกเลียนผลิตภัณฑ์จึงทาได้รวดเร็ ว เกิดคู่แข่งเข้า
มาในตลาดได้ง่าย จะต้องมีการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เสมอ
2) ความพร้อมของภูมิภาคต่าง ๆในการปรับโครงสร้างเพื่อรองรับการ
เจริ ญเติบโตของ E-Commerce มีไม่เท่ากัน
3) ภาษีและค่าธรรมเนียม จาก E-Commerce จัดเก็บได้ยาก ยังไม่มีกฎหมาย
คุม้ ครอง
46
Management Information System
8 ข้อจากัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านธุรกิจ
4) ต้นทุนในการสร้าง E-Commerce ครบวงจรค่อนข้างสูง เพราะรวมถึงค่า
Hardware, Software ที่มีประสิ ทธิภาพ ระบบความปลอดภัยที่น่าเชื่อถือ
การจัดการระบบเครื อข่าย ตลอดจนค่าจ้างบุคลากร
5) ประเทศกาลังพัฒนาต้องลงทุนทางด้านเทคโนโลยีสูงมาก ในโครงสร้าง
พื้นฐาน
6) เงินสดอิเลกทรอนิกส์ ทาให้เกิดการฟอกเงินได้ง่าย เนื่องจากการใช้เงิน
สดอิเล็กทรอนิกส์จะทาให้การตรวจสอบที่มาของเงินทาได้ยาก
47
Management Information System
8 ข้อจากัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านอื่น ๆ
1) การให้ขอ้ มูลที่เป็ นเท็จบนอินเตอร์เน็ต มีมาก และมีการขยายตัวเร็ว
มากกว่าการพัฒนาของอินเตอร์เน็ตเสี ยอีก
2) สิ ทธิส่วนบุคคล (Privacy) ระบบการจ่ายเงิน หรื อการให้ขอ้ มูลของลูกค้า
ทางอินเตอร์เน็ตทาให้ผขู ้ ายทราบว่าผูซ้ ้ือเป็ นใคร และสามารถใช้
ซอร์ฟแวร์ติดตามกิจกรรมต่าง ๆ หรื อส่ ง Spam ไปรบกวนได้
3) E-Commerce เหมาะกับระบบเศรษฐกิจที่สามารถเชื่อถือและไว้ใจได้ท้งั ผู ้
ซื้อและผูข้ าย รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
48
Management Information System
8 ข้อจากัดเกี่ยวกับ E-Commerce
ข้ อจากัดด้ านอื่น ๆ
4) ยังไม่มีการประเมินผลการดาเนินงาน หรื อวิธีการที่ดีของ E-Commerce
เช่น การโฆษณาผ่านทาง E-Commerce ว่าได้ผลเป็ นอย่างไร
5) จานวนผูซ้ ้ือ / ขาย ที่ได้กาไรหรื อประโยชน์จาก E-Commerce ยังมีจากัด
โดยเฉพาะในประเทศไทยซึ่งสัดส่ วนของผูใ้ ช้อินเตอร์เน็ตต่อประชากร
ต่ามาก และการใช้ E-Commerce ในการซื้อ/ขายสิ นค้า มีนอ้ ยมาก
49
Management Information System
9 สรุ ป
E-Commerce หมายถึง การทาธุรกรรมทุกรู ปแบบโดยผ่านสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอย่างยิง่ เครื อข่ายอินเตอร์เน็ต
แนวคิดของ E-Commerce ประกอบด้วยปัจจัย 3 ส่ วน คือ 1)
แอพพลิเคชัน่ การใช้งาน 2) ปัจจัยทางการบริ หารที่เกี่ยวข้อง และ 3)
โครงสร้างพื้นฐานของระบบ
E-Commerce มี 3 ประเภทคือ 1) ธุรกิจกับธุรกิจ (B2B) 2) ธุรกิจกับลูกค้า
(B2C) และ 3) ธุรกิจกับรัฐบาล (B2G)
50
Management Information System
9 สรุ ป
E-Commerce แบบ B2C มีหลายประเภทเช่น ร้านค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์,
การโฆษณาอิเล็กทรอนิกส์, ตลาดแรงงาน, การท่องเที่ยว, การประมูล
E-Commerce แบบ B2G เป็ นรู ปแบบของรัฐบาลที่มีการติดต่อกับธุรกิจ
และ G2G เป็ นการติดต่อระหว่างหน่วยงานของรัฐบาล หรื ออาจเรี ยกว่า
E-Government
ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ตมี 5 ขั้นตอน คือ 1) การค้นหาข้อมูล
2) การเลือกและต่อรอง 3)การซื้อสิ นค้า/บริ การทางอินเตอร์เน็ต 4)การ
จัดส่ งสิ นค้า/บริ การ และ 5) การบริ การหลังการขาย
51
Management Information System
9 สรุ ป
ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ มีหลายรู ปแบบ เช่น เช็คอิเล็กทรอนิกส์,
เครดิตคาร์ดอิเล็กทรอนิกส์, เงินสดอิเล็กทรอนิกส์, และการโอนเงิน
อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น
การรักษาความปลอดภัยในระบบ E-Commerce เป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญ
ยิง่ ซึ่งการรักษาความปลอดภัยที่นิยมใช้คือ การแปลงรหัส (Encryption)
และใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Certificate) และโปรโตคอล
ประโยชน์ของ E-Commerce มีท้ งั ต่อบุคคล, องค์การ, สังคม, ระบบ
เศรษฐกิจ และข้อจากัดมีท้ งั ทางด้านเทคนิค, กฎหมาย, ด้านการบริ หาร
และอื่น ๆ
52
คาถามท้ ายบท
 ให้นกั ศึกษาทดลองใช้โปรแกรม OSCommerce ซึ่งเป็ น
โปรแกรม Freeware หาดาวน์โหลดได้ แล้วจัดทาคู่มือการใช้งาน
แล้ว upload ไปที่เว็บไซต์ของท่านเอง
 ให้แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 2 คน ให้คิดว่ากลุ่มท่านจะทา ecommerce
(ขายอะไร) แล้วทาสรุ ปว่าร้านท่านต้องประกอบด้วยงานอะไรบ้าง
53
LOGO
54