วิวัฒน

Download Report

Transcript วิวัฒน

โดย
นาย ชินโชติ ฟูงาม เลขที่ 26 ม.6.9
นางสาว พัตราพร คาน้อย เลขที่ 27 ม.6.9
โทรทัศน์
โทรทัศน์ เป็ นระบบโทรคมนาคมสาหรับการ
กระจายและรับภาพเคลื่อนไหว
และเสี ยงระยะไกล มีที่มาจากคาในภาษาอังกฤษ
คือ television ซึ่งเป็ นคาผสมจากคากรี ก
tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ
-vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การ
มองเห็น" — ทัศน์) มักเรี ยกย่อเป็ น TV (ทีวี)
โทรทัศน์แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
โทรทัศน์ ขาวดา (Black - and - White Television) และ
โทรทัศน์ สี (Color Television) สาหรับโทรทัศน์สียงั
สามารถแบ่งได้อีกหลายประเภท เช่น โทรทัศน์สีทวั่ ไป
โทรทัศน์สีที่ใช้ระบบรี โมทคอนโทรล (Remote Control)
โทรทัศน์สีที่มีจอภาพแบบจอโค้ง และแบบจอแบน
โทรทัศน์สีมีขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่ขนาดเล็ก ๆ ที่ติดตั้ง
บริ เวณหน้ารถยนต์หรื อขนาด 14 นิ้วและ 20 นิ้ว เป็ นต้น
ตลอดจนขนาดใหญ่มาก ๆ ซึ่ งบางคนนิยมเรี ยกกันว่า
Home Theater จะมีราคาสู งมาก
• ขนาดของโทรทัศน์ เช่น 14 นิ้ว หรื อ 20
นิ้ว นี้ดูได้จากการวัดทแยงจากมุมหนึ่ง
ไปยังอีกมุมหนึ่งของหน้าจอโทรทัศน์
วิวฒั นาการของโทรทัศน์
• 1. โทรทัศน์ขาว-ดา มีปุ่มกดขนาดต่างๆ
• 2. โทรทัศน์สี มีปุ่มกดและรี โมทขนาดต่างๆ มี
ระบบเสี ยงหลายรู ปแบบ
• 3. โทรทัศน์จอแบนมีการเพิ่มอุปกรณ์ในการ
เชื่อมต่อทั้ง AV, DVD component
• 4. โทรทัศน์ จอบางมีขนาดบางคล้ายกรอบรู ป
ส่ วนประกอบและการทางาน
โทรทัศน์เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิกส์ที่มีวงจรสลับซับซ้อน
ดังนั้นส่ วนประกอบของโทรทัศน์จึงพอสรุ ปให้เห็นได้ชดั เจนดังนี้
คือ
1.ส่ วนประกอบภายนอก คือ ตัวโครงที่หุม้ ห่ออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ จอภาพซึ่งจะมีการเคลือบสารพิเศษทางด้านใน ปุ่ ม
หรื อสวิตซ์ต่าง ๆ และจะเสี ยบสายอากาศ เป็ นต้น
2. ส่ วนประกอบภายใน คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวรับ – เปลี่ยน
สัญญาณของภาพและเสี ยงที่มาในรู ปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
ส่ วนประกอบจอภาพและระบบเสี ยงรวมทั้งลาโพง เป็ นต้น
การทางานของโทรทัศน์
• เริ่ มต้นจากเมื่อคลื่นของภาพและเสี ยงที่ออกมาจาก
แหล่งกาเนิด เช่น
สถานีโทรทัศน์ มาสู่เสาอากาศที่เป็ นตัวรับสัญญาณคลื่น
สัญญาณคลื่นจะส่ งมาตามสายเข้าสู่ตวั รับสัญญาณ
ภายในโทรทัศน์ ตัวรับสัญญาณคลื่นจะแยกคลื่นภาพ
กับคลื่นเสี ยงออกจากกัน สัญญาณคลื่นภาพจะถูกส่ งไป
ยังหลอดภาพ เพือ่ เปลี่ยนสัญญาณคลื่นเป็ น
สัญญาณไฟฟ้ า
• การเปลี่ยนสัญญาณคลื่นเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าที่ข้วั ของ
หลอดภาพ จะก่อให้เกิดลาอิเล็กตรอนวิ่งจากขั้วหนึ่ง
ไปยังอีกขั้วหนึ่ง คือ จอภาพที่ดา้ นในที่เคลือบสาร
ชนิดหนึ่ง เมือลาอิเล็กตรอนวิ่งไปกระทบจอภาพก็ทา
ให้เกิดเป็ นภาพโดยการถ่ายเทพลังงาน ในลักษณะนิ่ง
เรี ยกว่าการกวาดภาพโดยกวาดเป็ นเส้นทางตาม
แนวนอน จานวน 525 เส้น หรื อแบบ 625 เส้น
ก่อให้เกิดเป็ นรู ปภาพออกมาทางด้านหน้าของจอภาพ
ตามที่เราเห็นอันเนื่องจากการเรื องแสงของสาร
เคลือบนั้น
การสแกนของลาอิเล็กตรอน
ลาดับการสแกนมีดงั ต่อไปนี้
• ในขั้นตอนแรก จะดาเนินเส้นที่ 1 ซึ่ งการสแกนจะเริ่ มต้นที่ขอบจอ
ซ้ายมือด้านบนสุ ดของจอภาพ การสแกนจะเริ่ มจากซ้ายมือไปยังขวามือ เส้นนี้ เรี ยกว่า
เส้นเทรซ
• ในขั้นที่สอง ก็คือ เมื่อการสแกนสิ้ นสุ ดทางด้านขวามือแล้ว การสแกนจะ
สะบัดกลับ หรื อเรี ยกว่า เส้นสะบัดกลับ หรื อเส้น รี เทรซ ซึ่ งการสะบัดกลับ เพื่อมาตั้งต้น
เส้นใหม่ เส้นใหม่น้ ีจะต่ากว่าเส้นแรกเล็กน้อย การสะบัดกลับจะมีสัญญาณบังคับให้
หลอดภาพหยุดการทางาน จึงทาให้มองไม่เห็นเส้นสะบัดกลับ
• ต่อไปในขั้นตอนที่สาม ดาเนินเส้นที่ 2 ก็จะคล้ายกับเส้นที่ 1 คือเริ่ มจากซ้าย
ไปด้านขวา เส้นที่ 2 จะต่ากว่าเส้นที่ 1 เล็กน้อย เส้นนี้เรี ยกว่า เส้น เทรซ เส้นนี้สามารถ
มองเห็นได้
• และขั้นตอนสุ ดท้ายเมื่อการสแกนสิ้ นสุ ดด้านขวามือ การสแกนจะสะบัด
กลับ เส้นสะบัดกลับเรี ยกว่า เส้น รี เทรซ จะมีสัญญาณไปบังคับให้
หลอดภาพหยุดทางาน จึงทาให้มองไม่เห็นเส้น รี เทรซ
• ในการดาเนินการของเส้นสแกน จะดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
จากข้อ 1 – ข้อ4 ต่อจากนั้น การทางานจะคล้ายกันก็คือ มีท้ งั เส้น เทรซ และ
เส้นรี เทรซ จากขอบของจอภาพมาถึงสิ้ นสุ ดด้านล่างของจอภาพ การบังคับ
เส้นสแกนที่มองเห็นจากขอบบนมาถึงของล่างของจอภาพ ในระบบ
PAL-B จะมี 625 เส้น
• เมื่อเส้นสแกนมาจบลงที่เส้นด้านล่างของจอภาพครบ 625 เส้น แล้ว จะต้อง
กลับไปตั้งต้นที่ดา้ นบนของจอภาพอีก ซึ่งการตั้งต้นนี้จะเริ่ มต้นดาเนินการ เส้นที่ 1 ใหม่
เส้นที่จากด้านล่างของจอภาพจะไปตั้งต้นด้านบนใหม่น้ ี ใช้สญ
ั ญาณ เวอร์ซิงค์ และ
เวอร์แบล็กกิ้ง เส้นนี้จะมองไม่เห็นเส้นสะบัดกลับไปตั้งต้นเส้นใหม่
ระบบโทรทัศน์
• หลักการส่ งและการรับสัญญาณโทรทัศน์ เนื่องจากภาพแต่
ละภาพประกอบด้วยจุดที่มีความเข้มแตกต่างกัน หลายร้อยหลาย
พันจุด จะส่ งภาพไปทีละจุดจากซ้ายไปขวา และจากส่ วนบนไป
ส่ วนล่าง โดยเปลี่ยนแต่ละจุดของภาพเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ า
ผสมเข้ากับคลื่นวิทยุความถี่สูงในระบบเอเอ็ม แล้วส่ งออกไปใน
อากาศในรู ปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ส่ วนเสี ยงนั้นก็ส่งไปใน
ระบบเอฟเอ็ม ทานองเดียวกับการส่ งวิทยุโดยใช้คลื่นที่มีความถี่
อยูใ่ นช่อง (Channel) เดียวกัน แต่ละช่องจะมียา่ นความถี่กว้าง
ประมาณ 6 เมกกะเฮิร์ท ช่อง 2-6 อยูใ่ นช่วงความถี่ 54-86 เมกกะ
เฮิร์ท และช่อง 7-13 อยูใ่ นช่อง 174-216 เมกกะเฮิอร์ท ภาพแต่ละ
ภาพระบบเดิมประกอบด้วย 525 เส้น แต่ปัจจุบนั ใช้ 625 เส้น
เพื่อให้ได้ภาพนิ่มนวลกว่าเดิม และใน 1 วินาที สามารถส่ งภาพ
ได้ถึง 30 ภาพ
หลอดส่ งภาพ
• อุปกรณ์ที่สาคัญในการส่ งภาพ คือ หลอดส่ งภาพ (Camera Tube) ซึ่ งเป็ นส่ วน
สาคัญของกล้องถ่ายโทรทัศน์ เป็ นหลอดสู ญญากาศ ประกอบด้วยส่ วนสาคัญ 5
ส่ วนคือ
• 1) เลนส์ เป็ นส่ วนสาคัญที่ทาให้เกิดภาพจริ งของวัตถุตกลงบนแผ่นรับ
ภาพ
• 2) แผ่นรับภาพ เป็ นฉนวนไฟฟ้ า ประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ มากมายเรี ยงเป็ น
แถวอยูใ่ กล้ ชิดกันมาก แต่ละจุดมีสารที่ไวต่อแสง เช่น Cesium Oxide
เคลือบไว้เมื่อแสงตกกระทบจะปล่อยอิเล็กตรอนให้หลุดออกไป ปริ มาณ
ของอิเล็กตรอนที่กระเด็นออกไป จะเป็ นปฏิภาคโดยตรงกับความเข้ม
ของแสงที่ตกกระทบ เนื่องจากแสงที่ตกกระทบไม่เท่ากัน แต่ละจุดถึง
ปล่อยอิเล็กตรอนออกไปมากน้อยไม่เท่ากัน
• 3) วงแหวนโลหะ จะวางอยูด่ า้ นหน้าของแผ่นรับภาพ ทาหน้าที่รวบรวม
อิเล็กตรอนที่กระเด็นออกจากแผ่นรับภาพ ระบายออกสู่ภายนอก
• 4) แผ่นสัญญาณภาพ เป็ นแผ่นโลหะวางประกบอยูด่ า้ นหลังแผ่นรับภาพ โดยมีฉนวนคัน่
• 5) ปื นอิเล็กตรอน เป็ นแหล่งกาเนิดลาอิเล็กตรอน มีไส้หลอดเป็ นตัวปล่อย
อิเล็กตรอนมีแผ่นเพลทเป็ นตัวดึงอิเล็กตรอนโดยใช้ประจุบวกเป็ นตัวล่อ ตรงใจ
กลางแผ่นเพลทมีรู อิเล็กตรอนจึงวิง่ ผ่านรู ไปด้วยความเร็วสูงมาก กลายเป็ นลา
อิเล็กตรอน ลาอิเล็กตรอนนี้จะถูกบังคับให้เคลื่อนไหวในแนวราบ อีกชุดหนึ่งบังคับ
ในแนวดิ่ง ลาอิเล็กตรอนนี้จะตกกระทบแผ่นรับภาพ และถูกบังคับให้กวาดไปบน
แผ่นรับภาพจากขอบบนด้านซ้ายไปขวา แล้วมาเริ่ มทางซ้ายใหม่ แต่ละเส้นจะค่อย ๆ ลดระดับ
ต่าลงจนถึงขอบล่างของแผ่นภาพ ซึ่ งมีจานวนถึง 625 เส้น โดยใช้เวลาเพียง 1/30 วินาที
ส่ วนประกอบของภาพ
• การที่คนเราสามารถมองเห็นภาพที่จอโทรทัศน์น้ นั ลาดับแรกจอภาพจะมีการกวาด
หรื อการสแกนของลาอิเล็กตรอน การสแกนจะมีอยูต่ ลอดเวลาครับ การที่สายตา
มนุษย์มองเห็นเส้นเรี ยงกันจากขอบบนถึงขอบล่าง เส้นนี้เรี ยกว่า เส้นเทรซ หรื อ แร
สเตอร์ ส่ วนประกอบของภาพเรี ยกว่า จุดภาพ หรื อเรี ยกว่า “ พิกเจอร์ อิลิเมนต์ ” จะถูก
บรรจุลงใน แรสเตอร์ หรื อ เส้นเทรซ เมื่อพิกเจอร์ อิลิเมนต์ มีจานวนมากจะมองเห็น
เป็ นภาพได้
• พิคเจอร์ อิลิเมนต์ หรื อ จุดภาพ เป็ นจุดดาสลับขาว เป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ าของภาพที่ส่ง
มาจากสถานีกจ็ ะปรากฏที่จอภาพโทรทัศน์ โดยบรรจุ พิกเจอร์ อิลิเมนต์ เรี ยงรายลงมา
จากด้านบนของจอภาพมายังด้านล่างของจอภาพ เมื่อ พิคเจอร์ อิลิเมนต์ หลายๆ จุด
รวมกันเข้าก็จะมองเห็นเป็ นภาพ
• จานวน พิกเจอร์ อิลิเมนต์ ยิง่ มากความละเอียดของภาพก็จะยิง่ มากตามไปด้วย เส้น
สแกนในระบบ PAL-B จะมีจานวน 625 เส้น และมี พิกเจอร์ อิลิเมนต์ ประมาณ
500,000 จุดต่อภาพ
คุณภาพของภาพบนจอโทรทัศน์
ในการที่จะดูวา่ ภาพจากจอโทรทัศน์มีคุณภาพมากหรื อน้อย เราต้อ
พิจารณาจากองค์ประกอบหลายอย่าง ดังนี้
• พิกเจอร์ อิลิเมนต์ จุดภาพจะถูกบรรจุลงในเส้นสแกน โดยโทรทัศน์ระบบ PALB จะมีเส้นสแกน 625 เส้น พิกเจอร์ อิลิเมนต์ ยิง่ มาก ความคมชัดของภาพก็จะยิง่
มากตามไปด้วย แต่ละภาพจะไม่นอ้ ยกว่า 300,000 จุดต่อ 1 ภาพ
• จานวนเส้นสแกน หรื อเรี ยกว่า ฮอร์ ริซอนตอน ไลน์ หรื อ เส้นเทรซ ยิง่ มีจานวน
มาก ก็จะทาให้ภาพมีความละเอียดสู งมากขึ้นด้วย
• จานวนภาพต่อวินาที ซึ่ งจานวนภาพต่อวินาทียงิ่ มาก การกะพริ บของภาพก็จะยิง่
น้อยลง ปั จจุบนั นี้ในระบบ PAL-B จะมี 25 ภาพต่อวินาที
• ระยะการดูภาพจากจอโทรทัศน์ ซึ่ งระยะห่างจากจอโทรทัศน์ ในการดูน้ นั ควร
จะอยูไ่ กล ประมาณ 4-8 เท่าของขนาดความสู งของจอภาพ
• การปรับ ไบร์แนส หมายถึง การปรับความมืด-สว่าง ซึ่ งเครื่ องรับโทรทัศน์จะมี
ปุ่ มสาหรับปรับระดับความมืด ความสว่างจะต้องปรับให้เท่ากับความต้องการของ
ผูช้ ม
• การปรับ คอนทราสต์ หมายถึงการปรับความ คม หรื อ ความเข้ม ของภาพ ซึ่ ง
จะต้องปรับให้มีระดับพอดีของความต้องการของผูช้ มด้วย
• ขนาดของจอภาพ ซึ่ งขนาดของจอภาพจะมีหน่วยเป็ นนิ้วจอภาพมีหลายขนาด
เช่น 10นิ้ว 12นิ้ว 14นิ้ว 17นิ้ว 20นิ้ว 21นิ้ว เป็ นต้น ขนาดของจอภาพเล็กจะมีความ
ละเอียดของภาพมากกว่า จอภาพขนาดใหญ่และขนาดของจอภาพจะวัดเป็ น
เส้นทแยงมุม
• อัตราส่ วนของจอภาพ หรื อเรี ยกว่า เอสเปค เรโช ก็คือ ความกว้างต่อความสู ง จะ
มีอตั ราส่ วน 4 : 3 แต่ปัจจุบนั การพัฒนาอัตราส่ วนของภาพอาจจะเปลี่ยนแปลงไป
ปั จจุบนั อัตราส่ วนของจอภาพรุ่ นใหม่คือ 16 :9
• สั ญญาณด้ านภาพ
• ส่ วนในทาง สัญญาณด้านภาพ ก็จะมีท้ งั สัญญาณ ขาว-ดา และสี รวมมาด้วยกัน
ก็จะเข้าไปสู่ วงจรวิดีโอ ดีเทคเตอร์ วิดีโอ ดีเทคเตอร์ ภาพวิดีโอ ดีเทคเตอร์ จะทา
การตัดสัญญาณอาร์ เอฟ หรื อแคร์ เรี ย ลงกราวด์ ดังนั้นสัญญาณด้านภาพขณะนี้จะ
เหลือเฉพาะ Compositen Video Signal จากนั้นสัญญาณ ขาว-ดา และสี จะทาการ
แยกออกจากกันอีกที
• ด้ านขาว-ดา หรือ ลูมแิ นนซ์
• ด้านขาว-ดาก็จะผ่าน ดีเลย์ไลน์ ซึ่ งดีเลย์ไลน์น้ ีกจ็ ะทาการหน่วงสัญญาณขาว-ดา ให้
ช้าลง เนื่องจากในด้านสี น้ นั มีวงจรที่สลับซับซ้อนมากซึ่ งทาให้การทางานต้องใช้
เวลานาน ดังนั้นเพื่อให้สัญญาณขาว-ดา ไปพบกับสัญญาณพอดีในตอนรวมกันเข้า
จึงจาเป็ นที่จะต้องหน่วงสัญญาณขาว-ดา ไว้ก่อน
• ลูมิแนนซ์ คือ การขยายสัญญาณขาว-ดา จะมีภาพขยายเพียง 2-3 ภาค ก็จะสมบูรณ์
และก็จะส่ งไปรอรวมกับสัญญาณสี ที่วงจรเมตริ กซ์ต่อไป
• ด้ านสั ญญาณสี หรือโครมิแนนซ์
ส่ วนในด้านสัญญาณสี กจ็ ะมีกรรมวิธีหรื อ ขั้นตอนการทางานค่อนข้องจะ
สลับซับซ้อน ก็คือนาเอาสัญญาณ R-Y และ B-Y มาดาเนินการตามขั้นตอน
และสร้างสัญญาณ G-Y ขึ้นมาและก็จะทาให้ได้สัญญาณสี หลักคือ สัญญาณสี
แดง สัญญาณสี เขียว และสัญญาณสี น้ าเงิน แล้วนาไปรวมกับสัญญาณด้าน
ขาว-ดา ที่วงจร เมตริ กซ์ต่อไป
• วงจรเมตริ กซ์ ก็จะทาการผสมสัญญาณขาว-ดา และสัญญาณสี เข้าด้วยกัน แล้ว
จึงส่ งต่อให้หลอดภาพสี ต่อไป
• หลอดภาพสี
• หลอดภาพที่นาเอาแม่สีหลัก คือ แม่สีแดง สี เขียว และแม่สีน้ าเงิน
แล้วดาเนินการตามกรรมวีธีของหลอดภาพสี แม่สีต่างๆ จะทาการผสมสี ที่
หน้าจอภาพเพื่อให้มองเห็นเป็ นภาพสี ให้เราได้ดูได้ชมกัน
• ความสามารถในการมองเห็น ภาพเป็ นสี ต่างๆ
• ความสามารถของดวงตามนุษย์ในการมองเห็นภาพเป็ นสี สนั ต่างๆก็มีองค์ประกอบ 3
ประการก็คือ
• ความส่ องสว่าง ซึ่ งเรี ยกว่า ไบรท์แนส หมายถึง ปริ มาณของแสงสว่างที่สะท้อนเข้าสู่ ดวงตา
มีความสว่างแตกต่างกันคือ บางสี ที่มีความสว่างมาก และบางสี กจ็ ะมีความสว่างน้อย เช่น สี
เหลืองจะสว่างมากกว่าสี น้ าเงินเป็ นต้น
• สี สนั หรื อเรี ยกว่า ฮิว คือเป็ นความรู ้สึกที่สามารถบอกวัตถุที่กาลังมองว่าเป็ นสี อะไร
ตัวอย่างเช่น สิ่ งของเหมือนวัตถุน้ นั เป็ นสี แดง เขียว เหลือง ดังนั้นความสามารถของดวงตา
มองเห็นเป็ นสี อะไรขึ้นอยูก่ บั วัตถุน้ นั สะท้อนสี อะไรให้กบั ดวงตาของเรา
• ความเข้ม หรื อเรี ยกว่า ซัทซูเลชัน่ ซึ่งเป็ นความสามารถ บอกถึงรายละเอียด ก็อย่างเช่น
มองเห็นวัตถุเป็ นสี เหลือง เหลืองเข้ม หรื อเหลืองเจือจาง เป็ นต้น
• หลักการผสมสี
• การผสมสี แบบ แอ็ดดิทฟี
• การผสมก็จะนาเอาแม่สี 3 สี คือ แดง เขียว และน้ าเงิน เมื่อนามาผสมกันเข้าจะได้สีที่เจือจาง
กว่าเดิม การผสมแบบแอ็ดดิทีฟ นี้จะนามาใช้ในกิจการโทรทัศน์
• เมื่อนาเอาแม่สีมาผสมกันแล้วก็จะเกิดเป็ นสี ต่างๆ ตัวอย่างเช่น
แดง ( R ) + เขียว ( G ) = สี เหลือง
เขียว ( G ) + น้ าเงิน ( B ) = สี ฟ้า
น้ าเงิน ( B ) + แดง ( R ) = สี ม่วง
แดง ( R ) + เขียว ( G ) + น้ าเงิน ( B ) = สี ขาว
• ในการผสมลักษณะนี้ ก็คือการนาเอาแม่สีมาผสมกันเข้าในอัตราส่ วนที่เหมาะสม จึงจะได้
สี ตามที่กล่าวมาข้างต้น
• ในการผสมลักษณะนี้ จะใช้ในกิจการโทรทัศน์ นั้นหมายความว่า กล้องถ่ายโทรทัศน์สี
จะต้องมีกล้องเล็กๆ 3 กล้องด้วยกัน ก็คือ กล้องสี แดง กล้องสี เขียว และสุ ดท้ายก็คือกล้องสี
น้ าเงิน
• และส่ วนหลอดภาพโทรทัศน์สีกจ็ ะมีชุดปล่อยแม่สี 3 ชุดด้วยกัน ก็คือ แม่สีแดง (RK) แม่สี
เขียว (GK) และก็สุดท้ายแม่สีน้ าเงิน (BK)
• การผสมแบบซับแทรกทีฟ
• การผสมแบบซับแทรกทีฟ จะมีแม่สี 3 แม่สี มาผสมกันซึ่ ง
ได้แก่
• แดง
• น้ าเงิน
• เหลือง
• การผสมแบบนี้จะให้สีเข้มข้นมากกว่าเดิม ซึ่ งจะเป็ นการผสม
ใช้ในงานวาดเขียนหรื อ การพิมพ์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
แดง + เหลือง = แดง,เหลือง
แดง + น้ าเงิน = สี ม่วง
เหลือง + น้ าเงิน = เขียว
แดง + เหลือง + น้ าเงิน = ดา
ระบบสี ของโทรทัศน์
•
ระบบสี ของโทรทัศน์แบ่งออกเป็ น 3 ระบบใหญ่ ๆ คือ
• 1) ระบบ NTSC เป็ น ระบบแรกที่ได้คิดค้นขึ้น และได้ปรับปรุ งในสหรัฐอเมริ กาในปี 1953 The
Federal Communication Commission ได้ยอมรับรองระบบสี มาตรฐานนี้โดยการแนะนาของ
คณะกรรมการโทรทัศน์ (The National Television Committee) บริ ษทั ผูม้ ีส่วนคิดค้นโทรทัศน์
ระบบนี้คือ บริ ษทั RCA (The Radio Corperation of America) ประเทศที่ใช้ระบบนี้ต่อ ๆ มา
ได้แก่ ญี่ปุ่น แคนาดา เปอเตริ โก้ และเมกซิ โก เป็ นต้น
• 2) ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เป็ นระบบต่อมาที่มี
การคิดค้นขึ้นโดยบริ ษทั Telefunen Laboratory of Hanover
ประเทศเยอรมันตะวันตก ระบบนี้การเพี้ยนของสี นอ้ ยลง มี
หลายประเทศที่ใช้กนั คือ เยอรมันตะวันตก อังกฤษ
ออสเตรเลีย เบลเยีย่ ม บราซิ ล เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน
สวิตเซอร์แลนด์ สิ งคโปร์ มาเลเซี ย และไทย ฯลฯ
• 3) ระบบ SECAM เป็ นระบบโทรทัศน์อีกระบบ
หนึ่งคิดค้นขึ้น โดย Dr.Henry D.France ที่ใช้
กันอยูห่ ลายประเทศได้แก่ ฝรั่งเศส อัลจีเรี ย
เยอรมันตะวันออก ฮังการี ตูนีเซีย รู มาเนี ย และ
รัสเซีย เป็ นต้น ระบบ SECAM ที่รัสเซียใช้มี
625 เส้น
AM และ FM คืออะไร
คลื่นวิทยุเป็ นเหมือนคลื่นอื่นๆทัว่ ไปที่สามารถส่ งพลังงานออกไป
ได้ แต่ในการกระจายคลื่นวิทยุและส่ งข่าวสารนั้น คลื่นวิทยุไม่เพียงแต่มี
บทบาทในการส่ งพลังงานออกไปเท่านั้นแต่ยงั สามารถทาให้พลังงานเหล่านี้มี
การเปลี่ยนแปลงไปตามสัญญาณด้วย การส่ งสัญญาณไปกับคลื่นวิทยุน้ นั
จะต้องมีการปรับแต่งคลื่นเสี ยงใหม่ กระบวนการนี้เรี ยกว่า โมดูเลชัน
(modulation) คลื่นวิทยุที่ส่งแต่พลังงานยังไม่ผา่ นการปรับแต่ง เรี ยกว่า
คลื่นพา (carrier wave)
• การใส่ คลื่นเสี ยงลงไปในคลื่นพาที่เรี ยกว่า โมดูเลชัน
นั้น มีวธิ ี ที่นิยมอยู่ 2 วิธี คือ
โมดูเลชันด้วยอาพน (amplitude modulation)
ที่เรี ยกย่อว่า AM
และ
โมดูเลชันด้วยความถี่ (frequency modulation)
ซึ่ งเรี ยกย่อว่า FM ดังแสดงในรู ป
• AM ใช้คลื่นขนาดกลาง (ความยาวคลื่นระหว่าง 100 – 1,000 เมตร ) ในการ
ส่ งกระจายเสี ยง
• ขณะที่ FM ใช้คลื่นสั้น (ความยาวคลื่นระหว่าง 1-10 เมตร)หรื อคลื่นสั้น
พิเศษ (ความยาวระหว่าง 0.1 – 1 เมตร) การใช้ FM ในการส่ งคลื่น
วิทยุกระจายเสี ยงจะสามารถยกระดับคุณภาพของเสี ยงให้ดีข้ ึน ป้ องกัน
เสี ยงรบกวนได้ (เนื่องจากรู ปแบบของเสี ยงรบกวนจานวนมากคล้ายคลึงกับ
AM) นอกจากนี้ขอบเขตความถี่ยงั กว้างกว่า ดังนั้นการกระจายเสี ยงใน
ระบบสเตอริ โอจึงมักใช้ FM
ช่ องสั ญญาณแพร่ ภาพของโทรทัศน์ คอื อะไร
• สถานีโทรทัศน์ แต่ละแห่งใช้ความถี่ในการส่ งสัญญาณแพร่
ภาพที่ต่างกันเพื่อหลีกเลี่ยงการรบกวนซึ่ งกันและกัน ความถี่
ของคลื่นส่ งสัญญาณภาพและคลื่นส่ งสัญญาณเสี ยงที่ควบไป
ด้วยกันของแต่ละสถานีมีความถี่ต่างกันเล็กน้อย แต่จะต้องไม่
เกินกว่าขอบเขตของความถี่ในการส่ งสัญญาณของสถานีน้ นั ๆ
ขอบเขตของความถี่น้ ีเรี ยกว่าช่องสัญญาณ (channel) ที่
สถานีโทรทัศน์แห่งนั้นใช้
ตัวอย่างเช่น เมืองหนึ่งกาหนดขอบเขตความถี่ในการแพร่ ภาพ
ของสถานีโทรทัศน์ไว้ระหว่าง 470 – 790 MHz โดยแบ่ง
ช่องสัญญาณออกเป็ น 40ช่อง กาหนดให้เป็ นช่อง 21 ถึง 60
ดังนั้นแต่ละช่องจะมีช่องความถี่ 6 MHz โดยมีช่วงห่างเป็ น 2
MHz เพื่อป้ องกันการรบกวนกันตัวอย่างเช่นช่อง 21 จะเป็ น
471.25 – 477.25 MHz ช่อง 22 เป็ น 479.25 - 485.25 MHz ช่อง23
เป็ น 487.25 – 493.25 MHz เรี ยงตามลาดับจนครบทุก
ช่อง ค่าความถี่แรกของแต่ละช่องจะเป็ นความถี่ของคลื่นสัญญาณ
ภาพและค่าความถี่หลังจะเป็ นความถี่ของคลื่นสัญญาณเสี ยงที่
ควบไปกับสัญญาณภาพ
เนื่องจาก สถานีโทรทัศน์ใช้คลื่นสั้นพิเศษ (ultra short wave) ซึ่งคือคลื่นความถี่สูงพิเศษ
(ultra high frency-UHF) ในการส่ งสัญญาณ คลื่นชนิดนี้
มีความสามารถในการเลี้ยวเบนน้อยมาก จึงถูกภูเขาหรื ออาคารสู งบังได้ง่าย
ดังนั้นจึงจาเป็ นต้องตั้งสถานีถ่ายถอดสัญญาณในบริ เวณที่เหมาะสม สถานีถ่ายทอดแต่ละแห่ง
สามารถส่ งสัญญาณได้หลายช่องพร้อมๆกัน
ระบบจอภาพชนิดต่างๆ
• ระบบจอชนิด CRT (Cathode Ray Tube) ที่ใช้เทคโนโลยีของหลอดภาพ
CATHODE RAY TUBE (CRT) โดยองค์ประกอบหลักของหลอดภาพ ซึ่ งใช้
ส่ วนปลายของหลอดภาพ จะมีตวั ยิงจุดรวมแสงกวาดไปมาควบคุมและ
เบี่ยงเบนทิศทางการทางาน ด้วย Yoke แล้ว ทาให้การสแกนเส้นภาพนั้นให้
ผลกระทบ phosphor ซึ่ งเคลือบอยูด่ า้ นในของจอภาพ เพื่อที่เราจะได้
ภาพเคลื่อนไหวตามต้องการ จอCRT นับว่าเป็ นจอภาพที่ได้รับการยอมรับ
มากที่สุด เนื่องจากได้ความคมชัดและสี สันสวยงาม แต่ขนาด น้ าหนัก ความ
เทอะทะ ทาให้มนั ต้องค่อยๆลดบทบาทตัวเองลงไป และปล่อยให้จอแบน
บาง หรื อFLAT &SLIMเข้ามาแทนที่ อีกไม่ชา้ ไม่นานก็จะกลายเป็ น
ความหลังในพิพิธภัณฑ์
ขนาดจอCRTปั จจุบนั มีต้ งั แต่21-36นิ้ว
• จอผลึกเหลว LCD (Liquid Crystal Display) เป็ นจอภาพที่ไม่มี
หลอดภาพ หรื อปื นอิเล็กตรอนสาหรับกวาดหน้าจอ
องค์ประกอบของจอภาพ เริ่ มจากแหล่งกาเนิดแสง back light บน
แผ่นโพลารอยด์ดา้ นหลังชั้นของ Twisted-Nematic (TN) LCDจะมี
การหุม้ ด้วยแผ่นแก้วหรื อกระจกทั้ง 2 ด้าน ใช้แผ่นโพลารอยด์
ด้านหน้าผนวกกับชั้นนอกสุ ดเป็ นแผ่นกันการสะท้อนแสง
การทางานจริ งๆนั้นผลึกเหลวที่หยอดเอาไว้ระหว่างช่องกระจกจะ
ถูกกระตุน้ ด้วยไฟฟ้ า ทาให้โมเลกุลของลิควิดคริ สตัลในส่ วนของ
จุดภาพ พิกเซล (pixel) นั้นหมุนเป็ นมุม 90 องศา เพื่อให้เกิดได้ท้งั
จุดสว่าง และจุดมืด หากเรากล่าวว่าเทคนิคของLCD คือการบิดตัว
โมเลกุล แล้วเอาเงาของมันมาใช้งานก็ถือว่าถูกต้องอย่างที่สุด
ขนาดจอLCD มีต้งั แต่10นิ้วไปจนถึง60นิ้วนับว่ามีการใช้งาน
กว้างขวางมาก
• จอแบบ GAS PLASMAจอภาพแบบพลาสม่าทีวี
หรื อชื่อแรกทางวิชาการที่เราเรี ยกขานคือ gas plasma
เป็ นจอที่มีการ ใช้พลังงานไฟฟ้ าค่อนข้างสูงคล้ายCRT
จึงไม่มีใครผลิตในจอขนาดเล็กแบบใช้แบตเตอรี่
จอพลาสม่าทีวเี หมาะสมกับการใช้ไฟ AC เป็ นหลัก
สาหรับเทคโนโลยีแบบ gas plasma นั้นเป็ นการใช้แสงที่เกิดจากการแตกตัว ionized
ของ neon gas (นีออน)เพื่อแสดงผลของภาพออกมาที่แผงหน้าจอ ภายในจอภาพแบบ
gas plasma มีองค์ประกอบที่เต็มไปด้วย neon gas ใช้แผ่นกระจกเป็ นตัวประกอบร่ อง
ฟอสฟอรัสภายใน มีการแสดงผลจะอยูร่ ะหว่างแผ่นแก้ว ตัวแผ่นแก้วด้านหน้าถูกเคลือบ
ขั้วไฟฟ้ าแบบโปร่ งแสงในแนวตั้ง และแผ่นแก้วปิ ดด้านหลัง จะทาการเคลือบตาม
แนวนอน สาหรับเทคนิคในการเจาะร่ องๆใช้วางขั้วไฟฟ้ าเราจะเรี ยกว่า ผังกริ ด (grjid
pattern) จอพลาสม่าทีวแี ต่เดิมออกแบบมาเพื่อทดแทนจอCRTขนาดใหญ่โดยตรง
ขนาดจอPLASMA มีต้ งั แต่32นิ้วไปจนถึง60นิ้ว
• จอภาพแบบโพรเจ็กชัน่ ทีวี จอภาพประเภทนี้เท่าที่เห็นอยูจ่ ะมีสาม
รู ปแบบ ใช้หลอดภาพส่ องสว่างสะท้อนกระจกด้านหลังสู่ ดา้ นหน้า
มันจึงมีชื่อเรี ยกอีกแบบหนึ่ งว่า Rear Projection การฉายแบบสะท้อน
ภาพนี้เองมันจึงจะไม่คมชัดเท่าพวกจอที่แสดงผลโดยตรงจากตัวจอ
เฉกเช่นกลุ่ม พลาสม่าทีวี แอลซี ดี และซี อาร์ ที ซึ่ งเราจัดว่าเป็ นพวก
Direct view
จอภาพสะท้อนแสงสว่างจากหลังสู่ ดา้ นหน้านี้ รู ปแบบดั้งเดิมใช้
หลอดซี อาร์ทีขยายภาพ ถัดมามีผนู้ าเอาแผงLCDมาทาเป็ นLCD
Projection TV เรี ยกขานว่า LCD Projection TV และต่อมาก็ปรับ
เทคโนโลยีแยกแผลสะท้อนแสงเป็ น3ชุด คือ 3LCD Projection TV
แบบสุ ดท้ายที่นิยมกันคือDLP Projection TV ที่นาเอากระบวนการ
กงล้อแสงของDLPมาฉายผ่านจากด้านหลังจอมาสู่ ดา้ นหน้า
การดูแลรักษา
การดูแลรักษาและใช้โทรทัศน์ให้ถูกวิธี นอกจากจะช่วยให้โทรทัศน์เกิดความคงทน
ภาพที่ได้ชดั เจนและมีอายุการทางานยาวนานขึ้นแล้ว ผลพลอยได้ อกี ส่ วนหนึ่งก็คอื
ประหยัดพลังงาน
• ควรเลือกใช้เสาอากาศภายนอกบ้านที่มีคุณภาพดี และติดตั้งถูกต้องตามหลัก
วิชาการ เช่น หันเสาไปทางที่ต้ งั ของสถานีในลักษณะให้ต้ งั ฉาก เป็ นต้น
• ควรวางโทรทัศน์ ไว้ ในจุดที่มกี ารถ่ ายเทอากาศได้ ดี และตั้งห่ างจากผนังหรือมู่ลี่
อย่ างน้ อยประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อให้เครื่ องสามารถระบบความร้อนได้สะดวก
• ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างเกินไป เพระจะทาให้หลอดภาพมีอายุส้ นั และ
สิ้ นเปลืองพลังงานไฟฟ้ าโดยไม่จาเป็ น
•
• ใช้ผา้ นุ่มเช็ดตัวตูโ้ ทรทัศน์ ส่ วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่าง
อ่อน หรื อน้ ายาล้างจานผสมกับน้ า ชุบทาเบา ๆ แล้วเช็ดด้วยผ้า
นุ่มให้แห้ง โดยอย่าลืมถอดปลัก๊ ออกก่อนทาความสะอาด
• อย่าถอดด้านหลังของเครื่ องด้วยตนเอง เพราะอาจจะเกิดความ
เสี ยหายต่อโทรทัศน์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ โทรทัศน์สีจะผลิต
กระแสไฟฟ้ าแรงดันสูง (High Votage) ซึ่งเป็ นอันตรายต่อการ
สัมผัส แม้วา่ จะปิ ดไฟแล้วก็ตาม
การเลือกใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี
* การเลือกโทรทัศน์ควรคานึงถึงความเหมาะสมของขนาดและการใช้กาลังไฟฟ้ า
* โทรทัศน์สีระบบเดียวกันแต่ขนาดต่างกัน จะใช้พลังงานแตกต่างกันด้วย กล่าวคือ
โทรทัศน์สีที่มีขนาดใหญ่ และมีราคาแพงกว่า จะใช้กาลังไฟฟ้ ามากกว่าโทรทัศน์
สี ขนาดเล็ก เช่น
- ระบบทัว่ ไป ขนาด 16 นิ้ว จะเสี ยค่าไฟฟ้ ามากกว่า ขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 14
หรื อ ขนาด 20 นิ้ว จะเสี ยค่าไฟฟ้ ามากกว่า ขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 30
- ระบบรี โมทคอนโทรล ขนาด 16 นิ้ว จะเสี ยค่าไฟฟ้ ามากกว่า 14 นิ้ว ร้อยละ
5 หรื อขนาด 20 นิ้ว จะเสี ยค่าไฟฟ้ ามากกว่า ขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 34
* โทรทัศน์สีที่มีระยะริ โมทคอนโทรลจะใช้ไฟฟ้ ามากกว่าโทรทัศน์
สี ระบบทัว่ ไป ที่มีขนาดเดียวกัน เช่น
- โทรทัศน์สี ขนาด 16 นิ้ว ระบบรี โมทคอนโทรลเสี ย
ค่าไฟฟ้ ามากกว่าระบบธรรมดาร้อยละ 5
- โทรทัศน์สี ขนาด 20 นิ้ว ระบบรี โมทคอนโทรลเสี ย
ค่าไฟฟ้ ามากกว่าระบบธรรมดาร้อยละ 15
* อย่าเสี ยบปลัก๊ ทิ้งไว้ เพราะโทรทัศน์จะมีไฟฟ้ าหล่อเลี้ยงระบบภายในอยู่
ตลอดเวลา นอกจากนั้นอาจก่อให้เกิดอันตรายในขณะเกิดฟ้ าแลบได้
* ปิ ดเมื่อไม่มีคนมาดู หรื อตั้งเวลาปิ ดโทรทัศน์โดยอัตโนมัติ เพื่อช่วยประหยัด
ไฟฟ้ า
• ไม่ควรเสี ยบปลัก๊ เครื่ องเล่นวีดีโอในขณะที่ยงั ไม่ตอ้ งการใช้ เพราะเครื่ องเล่น
วีดีโอจะทางานอยูต่ ลอดเวลา จึงทาให้เสี ยค่าไฟฟ้ าโดยไม่จาเป็ น
• พิจารณาเลือกดูรายการเอาไว้ล่วงหน้า ดูเฉพาะรายการที่เลือกตามช่วงเวลา
นั้น ๆ หากดูรายการเดียวกันควรเปิ ดโทรทัศน์เพียงเครื่ องเดียว
คาถาม ?
•
•
•
•
AM FM เป็ นอย่างไร ?
ภาพ ขาว-ดา ภาพสี ส่ งมาอย่างไร ?
Plasma TV คืออะไร ?
คลื่น TV ส่ งมาอย่างไร ?
ขอบคุณข้อมูล
• http://www.buddy-home.com/article07-1.asp
• http://www.adslthailand.com/
• บุญถึง แน่นหนา, โทรทัศน์ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ :ห้าง
หุ น้ ส่ วนจากัด โอเดียนสโตร์ .2513
• เว็ปไซต์ของ ฟิ สิ กส์ ราชมงคล