ปูชนีย์วลัยลักษณ์

Download Report

Transcript ปูชนีย์วลัยลักษณ์

Walailak Hall of Fame
โดย นางสาวอาภรณ์ ไชยสุวรรณ
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้จัดทาโครงการประวัติศาสตร์คาบอกเล่า
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการจัดทาหนังสือประวัติ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และได้จัดทาเป็นฐานข้อมูล โดยรวบรวมเนื้อหาจากการ
ศึกษาค้นคว้าและการสัมภาษณ์จากบุคคลที่เป็นปู ชนีย์วลัยลักษณ์ และปูชนียาจารย์
ของมหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ เป็ น การสั ม ภาษณ์ จ ากบุ ค คลที่ มี ค วามส าคั ญ ต่ อ
มหาวิทยาลัยในด้านต่า ง ๆ ในช่วงการก่อ ตั้งมหาวิทยาลัยและจากบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยในบทบาทที่เคยบริหารงานมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ในยุคบุกเบิก จานวน
18 คน เรียกว่า ปูชนีย์วลัยลักษณ์ และกลุ่มอาจารย์ที่เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยที่เริ่ม
ปฏิบัติงานในช่วงการก่อตั้งมหาวิทยาลัย และพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานแล้ว เช่น
ลาออก เกษียณอายุ จานวน 18 คน เรียกว่า ปูชนียาจารย์
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่เกิดจากการเรียกร้องเพื่อให้มี
มหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ถือเป็นการพลิกฟื้นพื้นที่สู่
เมืองมหาวิทยาลัย โดยมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ซึ่งมหาวิทยาลัยในยุคก่อตั้งเป็นช่วงเวลา
ของการระดมแรงกาย แรงใจ และพลังความคิด เพื่อผลักดันภารกิจต่าง ๆ ให้เป็นไปตาม
ยุทธศาสตร์ที่วางไว้ ทั้งนี้ภารกิจต่าง ๆ สามารถปรากฏเป็นรูปธรรมขึ้นได้ ก็ด้วยความ
ร่วมมือ ร่วมใจ และความทุ่มเทของผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นบุคคลภายในอย่าง
คณะผู้บริหาร คณาจารย์ ตลอดจนบุคคลภายนอก ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ มีความรับผิดชอบ
เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ดังนั้นการจัดเก็บประวัติส่วนตัว ประวัติการทางานและแนวคิดของบุคคลเหล่านี้ เป็น
สิ่งที่มีค่ายิ่งต่อประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดเก็บไว้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถ
เผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ และรูปแบบของฐานข้อมูลจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของ
การจัดเก็บ และเผยแพร่
โดยรวบรวมเนื้อหาจากการศึกษาค้นคว้าและการสัมภาษณ์จากบุคคลที่มี
ความสาคัญต่อมหาวิทยาลัยในด้านต่าง ๆ ในช่วงการก่อตั้งมหาวิทยาลัย ได้แก่
ปูชนีย์วลัยลักษณ์ ที่เป็นผู้บริหารหรือบุคคลภายนอกซึ่งมีส่วนสาคัญและ
ได้ทุ่มเทเวลา กาลังใจ กาลังกายที่มีต่อการบุกเบิกและก่อตั้งมหาวิทยาลัย
ปูชนียาจารย์ นั้น จะเป็นกลุ่มของคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยซึ่งมีส่วน
ต่อการก่อตั้งและพัฒนามหาวิทยาลัยจนก้าวไกล เติบโตได้เช่นที่เป็นปัจจุบัน
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก “ปูชนียว์ ลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์” นั้น จะพิจารณา
จากผู้มีคุณธรรม จริยธรรมเป็นหลัก
สาหรับกลุ่มบุคคลที่เป็น “ปูชนีย์วลัยลักษณ์” นั้น จะต้อง
1. เป็นผู้บริหารหรือบุคคลภายนอกซึ่งมีส่วนสาคัญและได้ทุ่มเทเวลา กาลังใจ
กาลังกายที่มีต่อการบุกเบิกและก่อตั้งมหาวิทยาลัย
2. จาก “คณะกรรมการรณรงค์เพือ่ ให้มีมหาวิทยาลัยที่จังหวัด
นครศรีธรรมราช” ซึ่งเป็นคณะบุคคลที่มีบทบาทหลักในการดาเนินการ
เรียกร้องให้มีมหาวิทยาลัยที่นครศรีธรรมราช
“ปูชนียาจารย์” นั้น จะต้อง
๑ . เป็นผู้มีส่วนร่วมสาคัญในการบุกเบิกหรือก่อตั้งหน่วยงานของมหาวิทยาลัย
ซึ่งได้เกษียณอายุการทางานจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
๒. เป็นผู้ปฏิบัติงานในช่วงบุกเบิกของมหาวิทยาลัย
๓. กรณีที่ออกจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์โดยมิได้เกษียณอายุการทางาน ต้อง
เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานกับมหาวิทยาลัยเป็นระยะเวลานานกว่า ๕ ปี หรือ
๔. เป็นผู้บริหารมหาวิทยาลัยซึ่งปฏิบัติงานตามวาระ
1. เพื่อให้มีฐานข้อมูลจากประวัติศาสตร์คาบอกเล่าจากบุคคลที่มี
ความสาคัญต่อมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. เพื่อเผยแพร่ประวัติความเป็นมาจากการประวัติศาสตร์คาบอกเล่า
สาหรับจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
1. ที่ประชุมคณะทางานจัดทาหนังสือประวัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
พิจารณาคัดเลือกรายชื่อกลุ่มบุคคลปูชนียว์ ลัยลักษณ์ และปูชนียาจารย์
ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด จานวน 36 คน
ปูชนีย์วลัยลักษณ์ จานวน 18 คน
ปูชนียาจารย์
จานวน 18 คน
2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาและข้อมูลอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
3. สืบค้นรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่อยู/่ สถานที่ทางาน พร้อมนัดวัน เวลา
และสถานที่ที่ผู้ให้สัมภาษณ์สะดวก
4. นัดวันสัมภาษณ์ พร้อมบันทึกเสียงคาสัมภาษณ์ บันทึกภาพนิ่ง และวีดทิ ัศน์
5. ดาเนินการสัมภาษณ์ตามหัวข้อที่กาหนดไว้ พร้อมบันทึกเสียงการสัมภาษณ์
บันทึกภาพเคลื่อนไหวตลอดการสัมภาษณ์ และบันทึกภาพนิ่งของผู้ให้
สัมภาษณ์ เพื่อนามาประกอบในการจัดทาหนังสือประวัติมหาวิทยาลัย
วลัยลักษณ์และฐานข้อมูลปูชนียว์ ลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์
6. ถอดเทปจากการสัมภาษณ์อย่างละเอียด
7. สรุปคาสัมภาษณ์ตามหัวข้อที่ระบุ
8. ออกแบบฐานข้อมูล โดยแบ่งเป็น 2 ฐานข้อมูลย่อย คือ
 ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์
 ฐานข้อมูลปูชนียาจารย์
9. ออกแบบค่าเริ่มต้นของฐานข้อมูล ดังนี้
9.1 การกาหนดค่าเริ่มต้น ได้แก่
 กาหนดกลุ่มข้อมูล
 ไฟล์ข้อมูลประกอบ
 ตาแหน่ง
9.2 ข้อมูลผู้ใช้ แยกตามระดับสิทธิ์ในการเข้าถึง และการเพิ่ม และแก้ไขข้อมูล
9.3 รายการข้อมูล
- ประวัติส่วนตัว ได้แก่
ลาดับ :
ชื่อ-นามสกุล :
รหัสพนักงาน :
ภาพถ่าย :
วันเกิด :
วันที่เริ่มปฏิบัติงาน :
ตาแหน่งที่เคยปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ :
คาสาคัญ :
ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย (ปี เดือน วัน) :
ประวัติการศึกษา :
ประวัติการทางาน :
บทบาทต่อมหาวิทยาลัย :
9.3 รายการข้อมูล (ต่อ)
- ข้อมูลทั่วไป ได้แก่
ผลงานที่ประทับใจ :
แนวคิดหรือปรัชญาที่ใช้ในการทางาน :
ความประทับใจความคาดหวังทีม่ ีต่อมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ :
การตัดสินใจมาทางานที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ :
การดาเนินงานที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ :
อนาคตของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ :
การเรียนการสอนที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ :
อื่น ๆ :
-
ไฟล์ประกอบ ได้แก่
- ภาพประกอบ
- วีดิทัศน์ประกอบ
- เอกสารประกอบ
9.4 การออกแบบสาหรับการสืบค้น สาหรับการค้นหาแบบละเอียด
โดยการ
- สืบค้นจากกลุ่มข้อมูล ชื่อและนามสกุล และคาสาคัญ
- สืบค้นจากกลุ่มปูชนีย์วลัยลักษณ์
- สืบค้นจากกลุ่มปูชนียาจารย์
- สืบค้นจากชื่อบุคคล
10. เพิ่มข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่กาหนด
11. สืบค้นข้อมูลตามที่ได้ออกแบบ
11. เผยแพร่ให้บุคลากรและสาธารณชนได้รับทราบ
ผลที่ได้จากการสืบค้นนั้น มีรายละเอียดดังนี้
- ข้อมูลที่เกี่ยวข้องของบุคคลที่สืบค้น
- มีภาพประกอบ เอกสารประกอบ และวิดีโอประกอบ สาหรับวีดิโอนั้น จะเป็น
การเลือกคาพูดที่กินใจ
- หากตอนไหนที่เอ่ยถึงบุคคลในฐานข้อมูล หรือหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง สามารถเชื่อมต่อไปยังบุคคล หรือเว็บไซต์นั้นได้ทันที (hyperlink)
- มีภาพประกอบที่เกี่ยวข้องแทรกในเนื้อหา
- มีการอ้างอิงเนื้อหา หากนาเนื้อหามาจากแหล่งอื่น
ฐานข้อมูลปู ชนีย์วลัยลักษณ์ ปู ชนียาจารย์ เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวม
ประวัติ ผลงาน และแนวคิดของบุคคลที่มีบทบาทในการผลักดัน ก่อตั้ง บุกเบิก
และพัฒนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีประวัติการก่อตั้งที่
ใช้เวลาระยะยาวนานในการเรียกร้อง กว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และ
เป็นช่องทางในการเผยแพร่เกียรติคุณในรูปแบบของเนื้อหา รูปภาพ และสื่อ
เคลื่ อ นไหว เกี่ ย วกั บ กิ จ กรรมและผลงานที่ ผ่ า นมาของบุ ค คลเหล่ า นี้ ซึ่ ง
เปรียบเสมือนบุคคลที่มีบุญคุณและควรยกย่องและอยู่คู่กับมหาวิทยาลัย
วลั ย ลั ก ษณ์ ต ลอดไป และสามารถจั ด ท าฐานข้ อ มู ล ในลั ก ษณะนี้ ไ ด้ อี ก เช่ น
ฐานข้อมูลบุคคลที่เกษียณอายุ ทาเนียบนามผู้บริหาร เป็นต้น
ฐานข้อมูลปูชนียว์ ลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์ เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมประวัติ
ผลงาน และแนวคิดของบุคคลที่มีบทบาทในการผลักดัน ก่อตั้ง บุกเบิกและพัฒนา
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีประวัติการก่อตั้งที่ใช้เวลาระยะ
ยาวนานในการเรียกร้อง กว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และเป็นช่องทางใน
การเผยแพร่เกียรติคุณในรูปแบบของเนื้อหา รูปภาพ และสื่อเคลื่อนไหวเกี่ยวกับ
กิจกรรมและผลงานที่ผ่านมาของบุคคลเหล่านี้ ซึ่งเปรียบเสมือนบุคคลที่มีบุญคุณ
และควรยกย่องและอยู่คู่กับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ตลอดไป