Transcript Download?

Suranaree University of Technology >>
บรรยายสรุป
ระบบบริหารงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี
โดย
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อารักษ์ ธีรอาพน
รองอธิการบดีฝ่ายกิจการทัวไป
่
หลักการ
มหาวิทยาลัยใน กำกับ ของรัฐบาล มีความ
เป็ นอิสระ คล่องตัว และมีประสิทธิภาพการ
ดาเนินงานสูง ยึดหลักการปกครองตนเอง
ดำเนินกำรต่ำงๆ สิน้ สุดในระดับมหำวิทยำลัย
ให้มำกทีส่ ุด และให้มกี ำรควบคุมจำกหน่วยงำน
ภำยนอกน้อยทีส่ ุดเท่ำทีจ่ ำเป็ น เป็ นรูปแบบของ
กำรกระจำยอำนำจสูงสุุด
2-21www.themegallery.com
2
กรณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี
ความสัมพันธ์กบั ภายนอก
ค.ร.ม.
ร.ม.ต. กระทรวงศึกษาธิการ
สานักงบประมาณ
นโยบายและแผน
งบประมาณ
มาตรฐานการศึกษา
การแต่ งตั้งสภามหาวิทยาลัย
อธิการบดีและศาสตราจารย์
มทส.
กระทรวงการคลั
ง
การจัดสรรเงิน
อุดหนุนทัว่ ไป
เงินงบประมาณ
เงินอุดหนุนตามงวดเงิน
3
สานักงาน
การตรวจเงินแผ่ นดิน
ตรวจสอบภายหลัง
-ผู้สอบบัญชี
การจัดระบบบริหารงานภายใน
สิ้นสุดระดับสภามหาวิทยาลัย
 จัดระบบและวางระเบียบการเงินและทรัพย์สิน
 จัดระบบบริหารงานบุคคล
 จัดระบบงานวิชาการ
 จัดระบบและวางระเบียบการบริหารทัวไป
่
“สามารถจัดระบบบริ หารทุกด้ านทีเ่ ป็ นของตนเอง”
4
ผลที่คาดหวัง
1
2
3
4
5
สามารถพัฒนาองค์กรและระบบงานที่เหมาะสมกับ
กิจการของมหาวิทยาลัย
ลดระเบียบข้อบังคับที่ผกู รัดมัดตัวไม่เหมาะสม
กับการบริหารมหาวิทยาลัย
ลดขัน้ ตอนการทางาน
สามารถใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ สงู สุด
และประหยัด
การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพก่อให้เกิดคุณภาพ
ช่วยให้มหาวิทยาลัยกระทาภารกิจบรรลุความเป็ น
เลิศทางวิชาการได้สะดวกขึน้
5
ภารกิจ
1
ผลิตและพัฒนากาลังคนระดับสูง
2
วิจยั และพัฒนา
3
ปรับแปลง ถ่ายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี
4
บริการทางวิชาการแก่สงั คม
5
ทะนุบารุงศิลปวัฒนธรรม
6
โครงสร้างการจัดองค์กร
1. โครงสร้างการบริหาร
 กะทัดรัด มีประสิทธิภาพสูง
 ยึดหลักบริหารโดยองค์คณะบุคคล โดยมี
สภามหาวิทยาลัย และสภาวิชาการเป็ นองค์กรสูงสุด
 ยึดหลักรวมบริการประสานภารกิจ
 ยึดหลักถ่ายโอนงานและร่วมทุนกับภาคเอกชน
(Privatization and Joint Venture)
7
โครงสร้างการจัดองค์กร
2. โครงสร้างทางวิชาการ
 จัดส่วนงานวิชาการเป็ นสานักวิชา สาขาวิชา และสถานวิจยั
 จัดส่วนงานส่งเสริมวิชาการเป็ นสถาบันและศูนย์
8
แผนภูมิการจัดองค์กร
สภามหาวิทยาลัย
สภาวิชาการ
อธิการบดี
รองอธิการบดี
สานักงาน
อธิการบดี
- ประสานนโยบาย
- บริหารงานทัว่ ไป
- ธุรการ
สานักวิชา
ศูนย์
- สอน
- วิจัยเฉพาะ
สาขาวิชา
- บริการทางวิชาการ
- ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
9
สถาบัน
- ประสานงานวิจัย
- ดาเนินการวิจัย
ร่ วมสาขาวิชา
- จัดหาทรัพยากร
เพือ่ การวิจัย
โครงสร้างการจัดองค์กร
สภามหาวิทยาลัย
สภาวิชาการ
อธิการบดี
รองอธิการบดี
สานักงาน
อธิการบดี
- ส่วนส่งเสริมวิชาการ
- ส่วนสารบรรณและนิติการ
- ส่วนการเจ้าหน้าที่
- ส่วนการเงินและบัญชี
- ส่วนอาคารสถานที่
- ส่วนพัสดุ
- ส่วนแผนงาน
- ส่วนกิจการนักศึกษา
- ส่วนประชาสัมพันธ์
- สถานกีฬาและสุขภาพ
- หน่วยตรวจสอบภายใน
- หน่วยประสานงาน มทส. –
กทม.
- สถานพัฒนาคณาจารย์
- สถานส่งเสริมและพัฒนาระบบ
สารสนเทศ (MIS)
สานักวิชา
- วิทยาศาสตร์
- เทคโนโลยีสงั คม
- เทคโนโลยีการเกษตร
- วิศวกรรมศาสตร์
- แพทยศาสตร์
- พยาบาลศาสตร์
- สาขาวิชา
- สถานวิจยั
- ฟาร์มมหาวิทยาลัย**
ศูนย์
สถาบัน
- บริการการศึกษา
- บรรณสารและสือ่ การศึกษา
- เครือ่ งมือวิทยาศาตร์ฯ
- คอมพิวเตอร์
- กิจการนานาชาติ
- นวัตกรรมและเทคโนโลยี
การศึกษา
- สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ
- วิจยั และพัฒนา
หน่ วยวิสาหกิจ
- เทคโนธานี
- สุรสัมมนาคาร
- ฟาร์มมหาวิทยาลัย
- ศูนย์ปฏิบตั ิทางการแพทย์ฯ
หมายเหตุ : ฟาร์มมหาวิทยาลัยเป็ นหน่วยงาน
ในกากับของสานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
10
รวมบริการ ประสานภารกิจ
มุ่งใช้ทรัพยากรและความชานาญการร่วมกัน
ภารกิจ
• สอน
• วิจยั
• ปรับแปลง ถ่ายทอดและ
พัฒนาเทคโนโลยี
• บริการทางวิชาการ
• ทะนุบารุงศิลปวัฒนธรรม
• บริ หารและบริ การกลาง
บริการ
แบบรวมศูนย์
ภารกิจ
11
• อาคารเรียน
• อาคารที่ทาการ
• ศูนย์เครื่องมือวิ ทยาศาสตร์ฯ
• ห้องสมุดและสื่อการศึกษา
• ศูนย์คอมพิ วเตอร์
• ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
• ศูนย์สหกิ จศึกษาและพัฒนาอาชีพ
• กิ จการนักศึกษา
การถ่ายโอนงานให้ภาคเอกชน PRIVATIZATION
2
3
ให้เอกชนเข้า
ดาเนินการ
ร่วมทุน
(JOINT VENTURE)
1
การจ้างเหมา
บริการ
- ยามรักษาการ
- การรักษา
ความสะอาด
- การเก็บขยะ
- การดูแลสวน
- รถยนต์
- ออกแบบควบคุม
งานก่อสร้าง
- การซ่อมบารุง
- จาหน่ ายอาหาร
- จาหน่ ายสิ่งของ
เครื่องใช้
- บริการถ่ายเอกสาร
- ซักรีด
- ธนาคาร
12
- ถือหุ้นบริษทั A - NET
- ถือหุ้นบริษทั HYPER
MEDIA PUBLISHING
- ถือหุ้นบริษทั นครราชสีมา
อินเตอร์เน็ท
การงบประมาณและการเงิน
รายได้ ของมหาวิทยาลัย :
1. เงินอุดหนุนที่รฐั บาลจัดสรรให้
2. เงินอุดหนุนและทรัพย์สินซึ่งมีผใู้ ห้แก่มหาวิทยาลัย
3. ค่าธรรมเนี ยม ค่าบารุง ค่าตอบแทน และค่าบริการต่างๆ
4. รายได้หรือผลประโยชน์ ที่ได้จากการลงทุน
และจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
5. รายได้หรือผลประโยชน์ ที่ได้มาจากการใช้ที่ราชพัสดุ
6. รายได้อื่นๆ
13
การบริหารงบประมาณ
1. นาเงินอุดหนุนที่ได้รบั รวมกับรายได้อื่น จัดทาเป็ นงบประมาณ
รายจ่ายประจาปี เสนอต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่ออนุมตั ิ
2. ใช้จ่ายได้ตามระเบียบการเงินของ มทส ที่ออกโดยสภา มทส.
3. สิ้นสุดในระดับมหาวิทยาลัย
4. สามารถนาเงินที่ยงั ไม่ถึงคราวจ่ายหรือเงินสะสม
ไปลงทุนหรือหาผลประโยชน์ ได้ (ตามระเบียบการเงิน มทส.)
14
การตรวจสอบ
 มีหน่ วยตรวจสอบภายในขึน้ ตรงต่ออธิการบดี
 มีคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
และประเมินผลขึน้ ตรงต่อ สภา มทส.
 ต้องส่งรายงานการเงินให้ สตง. ตรวจสอบและ
รับรองภายใน 3 เดือนนับแต่สิ้นปี งบประมาณ
15
การบริหารงานบุคคล มทส.
สถานภาพของบุคลากร
บุคลากรของมหาวิทยาลัยเป็ นพนักงานของรัฐ
ไม่เป็ นข้าราชการและไม่อยู่ภายใต้กฎหมายแรงงาน
และประกันสังคม
 มีระบบบริหารงานบุคคลที่เป็ นของตนเองโดยอาศัย
พรบ. มทส. พ.ศ. 2533

16
องค์กรและกลไกการบริหารงานบุคคล
สภามหาวิทยาลัย
องค์กรกลางบริหารงานบุคคล
Text
คณะกรรมการ
บริหารงานบุคคล
Text
คณะอนุกรรมการ
วิสามัญ
สภาวิ
ช
าการ
Text
คณะกรรมการ
ประจาสานักวิชา
17
หลักการบริหารงานบุคคล
สอดคล้องกับลักษณะงานและเอื้ออานวยต่อภารกิจของ
มหาวิทยาลัยในฐานะหน่ วยงานทางวิชาการและวิชาชีพชัน้ สูง
ยึดระบบคุณธรรม (Merit System)
เข้ายาก ออกง่าย
แข่งขันกับการจ้างในตลาดแรงงาน
สอดคล้องรองรับกับระบบการบริหารและ
การจัดการสมัยใหม่และความเป็ นสากล
18
การสรรหาคัดเลือกและทดลองปฏิบตั ิ งาน
ใช้ กระบวนการที่เป็ นระบบเปิ ด และพิถีพถิ ัน
- ใช้ ระบบสั ญญาจ้ าง ก่ อนได้ สถานภาพการเป็ น
3+2 ปี สายวิชาการ
พนักงานประจา 2 ปี สายปฏิบัติการ
- กาหนดระยะเวลาทดลองปฏิบัตงิ านให้ ยาวพอ
ทีจ่ ะประเมินผลการปฏิบัตงิ านได้ จริงจัง
- มีระบบประเมินผลการปฏิบัตงิ านอย่ างต่ อเนื่อง
ตลอดอายุงาน
-
19
สวัสดิการ
ไม่ ต่ากว่ าราชการ แต่ เปลีย่ นวิธีการจัดให้ เหมาะสม
1. ใช้ระบบเงินสารองเลีย้ งชีพแทนบาเหน็จ-บานาญ
2. เน้ นสวัสดิการเสริมงานวิชาการเป็ นพิเศษ เช่น
- กำรเพิม่ พูนควำมรู้ (Sabbatical)
- กำรให้บริกำรวิชำกำร (Consultancy)
3. เน้ นการใช้บริการสวัสดิการจากสังคมมากกว่า
การจัดเอง
20
Suranaree University of technology
21