การขับเคลื่อนของภาคส่วนต่างๆต่อปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก

Download Report

Transcript การขับเคลื่อนของภาคส่วนต่างๆต่อปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก

ทุกภาคส่ วนร่ วมพัฒนาการศึกษาไทย
การดาเนินการของภาคีเครื อข่ายการศึกษาทางเลือก โรงเรี ยนขนาดเล็ก
และโรงเรี ยนของชุมชน
สาระสาคัญของการนาเสนอ
• การขับเคลื่อนของภาคส่ วนต่างๆต่อปัญหาโรงเรี ยนขนาดเล็ก
• การเปลี่ยนกระบวนทัศน์การแก้ไขปัญหาโรงเรี ยนขนาดเล็ก และการศึกษาทางเลือก
• กลไกการขับเคลื่อนกระบวนทัศน์ใหม่
• ท่าทีการทางานร่ วมกันเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
การขับเคลื่อนของภาคส่ วนต่ างๆต่ อปั ญหาโรงเรี ยนขนาดเล็ก
• สมาคมสภาการศึกษาทางเลือกไทย และชมรมเครื อข่ายโรงเรี ยนขนาดเล็ก
(โรงเรี ยนชุมชน) แห่งประเทศไทย ชาวชุมชน และผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
ที่ต้ งั ใจจริ ง กับการร่ วมขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาโรงเรี ยนขนาดเล็ก
• จุดร่ วมสาคัญ ๑ เพื่อคุณภาพการเรี ยนรู้ของเยาวชนไทย
• จุดร่ วมสาคัญ ๒ ให้ชุมชนมีส่วนร่ วมกาหนดความเป็ นไปของโรงเรี ยนขนาดเล็ก
คณะกรรมการเครื อข่ ายการศึกษาทางเลือก โรงเรี ยนขนาดเล็ก
และโรงเรี ยนของชุมชน
• รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการ และ
รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็ น ที่ปรึ กษา
• นางสิ ริกร มณี รินทร์ ประธานกรรมการ
• นายชินภัทร ภูมิรัตน รองประธานกรรมการ
• นายอานาจ วิชยานุวตั ิ
กรรมการ และเลขานุ การ
• กรรมการประกอบด้วยผูแ้ ทนจากหน่วยงานต่างๆของกระทรวงศึกษาธิการ สมาคมสภา
การศึกษาทางเลือกไทย ชมรมเครื อข่ายโรงเรี ยนขนาดเล็กฯ องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น ภาคเอกชน
คณะกรรมการเครื อข่ ายการศึกษาทางเลือก โรงเรี ยนขนาดเล็ก
และโรงเรี ยนของชุมชน
1. จัดทาข้อเสนอเชิงนโยบาย แนวทางการดาเนินงาน และพัฒนาการศึกษา
ทางเลือก โรงเรี ยนขนาดเล็ก และโรงเรี ยนของชุมชน
2. รับฟังความคิดเห็น รวบรวมข้อมูลข้อเสนอ และปัญหาการจัดการศึกษา
ทางเลือก โรงเรี ยนขนาดเล็ก และโรงเรี ยนของชุมชน เพื่อวางแผนดาเนินการ
แก้ปัญหา
3. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการบริ หารจัดการการศึกษาทางเลือก
โรงเรี ยนขนาดเล็ก และโรงเรี ยนของชุมชน
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การแก้ ไขปั ญหาโรงเรี ยนขนาดเล็ก
• จาก รัฐจัดการศึกษาเอง รัฐแก้ปัญหาเอง
เป็ น ทุกภาคส่วนรวมจั
ดการศึ กษา และทุกภาค
่
ส่ วนร่ วมแก้ปัญหา
• ชะลอยุบโรงเรี ยนขนาดเล็กที่มีนกั เรี ยนน้อยกว่า ๖๐ คนไว้ก่อน (ยกเว้น
๑๑๓ โรงที่ไม่มีนกั เรี ยน )
• ให้พฒั นาคุณภาพโรงเรี ยนขนาดเล็กจานวน ๕,๘๖๘ โรง ด้วยการมีส่วน
ร่ วมสนับสนุนจากทุกภาคส่ วน เช่น ชุมชน วัด ภาคเอกชน องค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่น
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การแก้ ไขปั ญหาโรงเรี ยนขนาดเล็ก
• คัดสรรผูอ้ านวยการโรงเรี ยนที่ต้ งั ใจพัฒนาโรงเรี ยน อยูพ่ ฒั นาต่อเนื่องอย่าง
น้อย ๕ ปี (มีสวัสดิการพิเศษ, มีการติดตามผลการพัฒนาเป็ น
ระยะ)(ข้อสรุ ปจากงานวิจยั )
• ปรับหลักสู ตรให้ยดื หยุน่ ด้วยหลักสูตรท้องถิ่น บูรณาการวิชาการกับ
วิชาชีพของท้องถิ่นและปลูกฝังความรักท้องถิ่น(ข้อสรุ ปจากงานวิจยั )
• ปรับการใช้O-netเพื่อการวัดและประเมินผล และการประกันคุณภาพ
ภายในและภายนอก ให้สอดคล้องกับหลักสู ตรท้องถิ่น
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การแก้ ไขปั ญหาโรงเรี ยนขนาดเล็ก
• กองทุนพัฒนาโรงเรี ยนขนาดเล็ก (Matching fund) โดย
โรงเรี ยนและชุมชนหาทุน ส่ วนกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน และอืน่ ๆ
ร่ วมสมทบ
• ให้กระทรวงมหาดไทยออกกฎระเบียบกาหนดให้องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่นจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาอย่างแน่นอนต่อเนื่อง(๒๕%)
• ให้อบต.ร่ วมพัฒนาประถมศึกษา และอบจ.ร่ วมพัฒนามัธยมศึกษา
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การแก้ ไขปั ญหาการศึกษาทางเลือก
1. การสนับสนุนส่ งเสริ มการศึกษาทางเลือกตามมาตรา๑๒ของ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
2. หลักเกณฑ์และวิธีการปรับใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ.๒๕๕๑สาหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะซึ่งออกโดยสพฐ.เมื่อ
สิ งหาคม ๒๕๕๔เพื่อรักษาสิ ทธิของกลุ่มการศึกษาทางเลือกในการ
จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ปรัชญา แนวคิด
และการดาเนินงานของกลุ่มการศึกษาทางเลือก
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การแก้ ไขปั ญหาการศึกษาทางเลือก
• ให้เครื อข่ายการศึกษาทางเลือกและภาคส่ วนอื่นๆ ช่วยเขตพื้นที่การศึกษา
ในด้าน
1. การรับเรื่ องการจัดการศึกษาในทุกด้านของกลุ่มการศึกษาทางเลือก
ต่างๆ
2. ดาเนินการตรวจสอบเอกสาร กลัน่ กรองเรื่ อง บริ หารจัดการและติดตาม
ผลเพื่อเสนอสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอนุมตั ิ
กลไกการขับเคลื่อนกระบวนทัศน์ ใหม่
• คณะทางาน ๔ ภาค(เหนือ กลาง อีสาน และใต้) ประกอบด้วย
1. ผูแ้ ทนจากเครื อข่ายการศึกษาทางเลือก และโรงเรี ยนขนาดเล็ก
2. ผูแ้ ทนจากกระทรวงศึกษาธิการ
3. ผูท้ รงคุณวุฒิ
ท่ าทีการทางานร่ วมกันเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
• เรี ยนรู้ความเป็ นกัลยาณมิตรจากจารัส ช่วงชิง
ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านกุดเสถียร
อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร
1. “เข้าร่ วม เข้าหา ปรึ กษา และให้เกียรติ เข้า
ร่ วมทุกอย่าง เข้าหาเขา ปรึ กษาเขา สาคัญ
ที่สุดคือให้เกียรติเขา อย่าคิดว่าเขาเป็ นแค่
ชาวบ้าน”
2. “กระบวนการที่จะเชื่อมเขามาเป็ นพลัง
เสริ มเรา บริ หารให้ชาวบ้านเขามีส่วนร่ วม
มีความสุ ขมาก และยัง่ ยืน”