การเคลื่อนไหวของฮามาส

Download Report

Transcript การเคลื่อนไหวของฮามาส

กลุ่มก่อการร ้ายสากล
ฮามาส
ประวัติองค ์การฮามาส
• ฮามาสเป็ นคาย่อทีม
่ าจากภาษาอาหรับว่า ฮะเราะกัต
อัลมุเกาวะมะฮ ์ อัลอิสลามียะฮ ์ (Harakat alMuqawamah al-Islamiyyah) หมายถึงกลุม
่
เคลือ
่ นไหวต่อต ้านเพือ
่ อิสลาม ในขณะทีค
่ าว่า “ฮามาส”
ในภาษาอาหรับมีความหมายว่า ความกระตือ
ร ้น หรือ ความกล ้าหาญก็ได ้ ฮามาสเป็ นกลุม
่ ทีเ่ กิด
ขึน
้ มาจากขบวนการภราดรภาพมุสลิมในประเทศอียป
ิ ต์
• ทีก
่ อ
่ ตัง้ ขึน
้ ในปี ค.ศ. 1928 ซงึ่ ถือเป็ นกลุม
่ ทีท
่ รงพลัง
ยิง่ ในการจุดประกาย Political Islam และกระแสการ
ฟื้ นฟูอส
ิ ลาม ซงึ่ ได ้รับความนิยมนั บถืออย่างมากทั่ว
ั ชนะ ในการ
ปาเลสไตน์ โดยพิสจ
ู น์ได ้จากการได ้รับชย
่ ภาของปาเลสไตน์ในปี 2006
เลือกตัง้ เข ้าสูส
ฮามาส
• กลุ่มฮามาสก่อตัง้ ขึน
้ อย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่
8 ธันวาคม ค.ศ. 1987 มีวัตถุประสงค์เพือ
่
ช ่ ว ยเหลื อ ชาวปาเลสไตน์ ใ นการต่ อ สู ้ และ
เ รี ย ก ร ้อ ง ส ิ ท ธิ คื น จ า ก ก า ร ยึ ด ค ร อ ง ข อ ง
อิสราเอล
และเปลีย
่ นแปลงสังคมมุสลิมใน
ปาเลสไตน์ให ้กลับไปมีความเคร่งครัดและยึดมั่น
หลักการแห่งศาสนาอิสลาม ทัง้ นีก
้ ารสร ้างความ
เป็ นองค์ก รของฮามาสได ้เริ่ม ขึ้น อย่ า งจริง จั ง
ตัง้ แต่ชว่ งทศวรรษ1970
ึ ษา
• โดยสว่ นแรกเริม
่ จากการจัดตัง้ สมาคมนั กศก
ในมหาวิทยาลัย เพือ
่ ระดมนั กกิจกรรมมาให ้การ
่
การเคลือนไหวของฮามาส
• สง่ ผลให ้ฮามาสเป็ นทีร่ ู ้จักอย่างกว ้างขวาง ก่อนหน ้าทีจ
่ ะมี
การสถาปนากลุม
่ อย่างเป็ นทางการแล ้ว
• ก า ร ท า ง า น ข อ ง ก ลุ่ ม ใ น ช ่ ว ง ร ะ ห ว่ า ง ปี ค . ศ . 19831987
เป็ นระยะแห่งการเตรียมตัวทัง้ ในด ้านยุทธวิธแ
ี ละ
อาวุธเพื่อต่อต ้านการยึดครอง ในขณะทีใ่ นระหว่างปี ค.ศ.
1987-1993 เป็ นชว่ งเวลาทีส
่ ร ้างเงือ
่ นไขให ้ฮามาสปรากฏ
ขึน
้ มาเป็ นกลุม
่ พลังทางการเมือง ทีส
่ าคัญ รวมทัง้ พัฒนา
จากการเป็ นเพียงแค่กลุ่มปฏิรูป ไปสู่การมีกองกาลังเป็ น
ของตนเอง
• ทัง้ นี้เนื่องจากฮามาสมีสว่ นร่วมสาคัญในเหตุการณ์การลุก
ขึน
้ สู ้ (uprising) ของชาวปาเลสไตน์ตอ
่ อิสราเอล ซงึ่ เป็ นที่
ื่ ตามภาษาอาหรับว่าอินติฟาเฎาะฮ ์ (Intifadah)
รู ้จักกันในชอ
ผู น
้ าฮามาส
้
• ฮามาสก่ อ ตั ้ง โดย ชีคอะฮฺ
มด
ั ยัซ ซิน ซ งึ่ เป็ นผู น
้ าทาง
ศาสนา ในการลุ ก ฮ ื อ ขึ้ น ต่ อ ต า้ นอิ ส ราเอลครั ้ ง แรก มี
จุดประสงค์หลักเพือ
่ ยุตก
ิ ารยึดครองทางทหารของอิสราเอล
ในเขตฝั่ งตะวันตกของแม่น้ าจอร์แดน (เวสต์ แบ๊งค์) และกา
ซา่ สว่ นความมุ่งหมายทีส
่ าคัญไม่ยงิ่ หย่อนกว่ากัน คือการ
สร ้างรัฐปาเลสไตน์ขน
ึ้ อีกครัง้ หนึง่ บนแผ่นดินเดิมก่อนทีจ
่ ะ
เป็ นรัฐอิสราเอลในปี 1948
• ผู ้นาคนสาคัญหลายต่อหลายคนของกลุม
่ ถูกลอบสงั หาร
ี้ ยัซซน
ิ ในปี
โดยอิสราเอล ทีน
่ ่าสนใจทีส
่ ด
ุ คือ การสงั หารชค
ั ดาห์หลังจากนัน
ิ อัล2004 และไม่กส
ี่ ป
้ อับดุล อาซซ
แรนทิสซ ี่ ซงึ่ เป็ นผู ้นาฮามาสทีย
่ ด
ึ ครองกาซา่ ได ้อย่าง
เหนียวแน่น ก็ต ้องถูกสงั หารไปอีกคนหนึง่
ผู น
้ าฮามาส
• คอ ลิด เมชาอัล ซงึ่ ถูกเนรเทศไปอยู่ในซเี รีย เป็ นผู ้นา
ทางการเมืองสาคัญอีกคนหนึง่ ตัง้ แต่ปี 1995 หลังจาก
มูซ า อาบู มั ร ซูค ซ งึ่ เคยอยู่ใ นต าแหน่ ง นี้ถูก จั บ ติด คุก
เมชาอัลเคยนากลุม
่ ฮามาสย่อยในคูเวต แต่ได ้ออกจาก
ประเทศไปเมือ
่ อิรักถูกรุกรานในปี 1990 หลังจากนั น
้ ได ้
ย ้ายไปเป็ นผู ้น าฮามาสในกรุ ง อั ม มาน จอร์แ ดน และ
สามารถหลุดรอดจากการตามล่าสังหารของอิสราเอล
มาได ้
่
ขบวนการเคลือนไหวทางการเมื
อง
ฮามาส
• ฮามาสเป็ นหนึ่งในขบวนการเคลือ
่ นไหวทางสังคม
ทีย
่ ด
ึ
อิส ลามเป็ นอุด มการณ์
เป้ าหมายและแนวทางในการ
ทางาน ซงึ่ บทบาทและพัฒนาการของฮามาสสามารถสะท ้อน
ให ้เห็นถึง อุดมการณ์ กลยุทธ์ สงิ่ ท ้าทาย และการปรับตัวของ
Political Islam ท่ามกลางระบอบการเมืองกระแสหลักใน
ปาเลสไตน์และสงั คมการเมืองโลก
• สงิ่ ทีโ่ ดดเด่นสาหรับฮามาสก็คอ
ื ความพยายามในการ
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง จ า ก ทั ้ ง ร ะ ดั บ ล่ า ง แ ล ะ
ระดับบน กล่าวคือ ในชว่ งแรกฮามาสเคลือ
่ นไหวใน
ระดั บ มวลชนรากหญ ้า ต่อ มาก็ เ ริม
่ พั ฒ นาความเป็ น
สถาบัน
จนสามารถเข ้าไปอยูใ่ นสว่ นของการกาหนด
นโยบายลงมาได ้
ซ งึ่ นั บ เป็ นปรากฏการณ์ ข อง
่
ขบวนการเคลือนไหวทางการเมื
อง
ฮามาส
• เ นื่ อ ง จ า ก ที่ ผ่ า น ม า ก ลุ่ ม ป ฏิ รู ป ที่ นิ ย ม แ น ว ท า ง อิ ส ล า ม มั ก
เคลือ
่ นไหวในระดับรากหญ ้า แต่ไม่สามารถขึน
้ ไปมีบทบาทใน
การก าหนดนโยบายได ้ หรื อ ไม่ ก็ เ ป็ นกลุ่ ม ที่ท างานโดยเน น
้
เป้ าหมายในเชงิ ปฏิวัต ิ แต่ก็ไม่สามารถปฏิบัตไิ ด ้จริงเนื่องจากไม่
มีการปรับตัวยืดหยุน
่ ต่อสถานการณ์ การเคลือ
่ นไหวของฮามาส
จึง แสดงให ้เห็ น ถึง การผสมผสานระหว่า งแนวทางปฏิรู ป และ
ปฏิวต
ั เิ ข ้าด ้วยกัน
• เหตุ ผ ลส าคั ญ ที่ ท าให ฮ้ ามาสได ร้ ั บ การสนั บ สนุ น ก็
เนื่องจากเป็ นการเรียกร ้องโดยมีข ้อเสนอทีส
่ อดรั บกับ
บริบททางด ้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทีเ่ ป็ นอยู่
ของปาเลสไตน์รวมถึงบริบทในระดับโลกทีก
่ ระแสของ
การฟื้ นฟูอ ส
ิ ลามก าลั ง เกิด ขึน
้ โดยเฉพาะโลกในยุ ค
โลกาภิวัตน์ ซงึ่ มีปัจจั ยทีช
่ ว่ ยสร ้างความเข ้มข ้นให ้กับ
กระแสต่ า งๆ ซ งึ่ เมื่อ มองในมิต ิท ี่ก ว ้างขึ้น สาเหตุ ท ี่
Political Islam ได ้รับการสนั บสนุนและมีบทบาท
ขึน
้ มาไม่ใชเ่ นื่องจาก เพราะมีผู ้ทีน
่ าเสนอหลักการแห่ง
่
ขบวนการเคลือนไหวทางการเมื
อง
ฮามาส
• หากเป็ นเพราะระบอบเศรษฐกิจสงั คมทีถ
่ ก
ู นาเสนออันมี
พื้ น ฐานมาจากศาสนานั ้ น มี บ ริ บ ทสอดรั บ กั บ ความ
ึ อึดอัด
ต ้องการของประชาชนทีร่ ู ้สก
และเป็ นทุกข์กับ
ส ภ า พ อั น เ ส ื่ อ ม โ ท ร ม ข อ ง สั ง ค ม ใ น ร ะ บ อ บ เ ดิ ม ที่
่
ั้
เป็ นอยู่
เชน
ความไม่พอใจต่อระบอบและชนชน
ปกครอง
รวมถึงสังคมสมัยใหม่ทเี่ น ้นการพัฒนาบน
พืน
้ ฐานของวัตถุนย
ิ ม ปั จเจกชนนิยม การกดขีเ่ อารัด
ิ ธิภาพ
เอาเปรียบ
การบริหารทีค
่ ดโกงและไร ้ประสท
อิสลามจึงเป็ นการกลับไปสูร่ ากเหง ้าอันเป็ นทางออกที่
ถูกทีถ
่ ก
ู เวลามากทีส
่ ด
ุ
กลุ่มก่อการร ้ายสากล ฮามาส
• แม ้จะถูก อิส ราเอล สหรั ฐ ฯ และสหภาพยุโ รป
ี าว่าเป็ นกลุม
ขึน
้ บัญชด
่ ก่อการร ้าย แต่สาหรับชาว
ปาเลสไตน์ แ ล ้ว ฮามาส คือ วีร บุ รุ ษ ที่ย ืน หยั ด
้ อ
ิ ธิของชาวปาเลสไตน์ซงึ่ ใน
ต่อสูเพื
่ เรียกร ้องสท
ั เจน
การต่อสูกั้ บอิสราเอลนัน
้ ฮามาสมีจด
ุ ยืนทีช
่ ด
ตั ้ ง แ ต่ ต น
้ ใ น ก า ร ไ ม่ ย อ ม รั บ ส ถ า น ะ ข อ ง รั ฐ
อิ ส ร า เ อ ล ร ว ม ถึ ง ข อ
้ ต ก ล ง ต่ า ง ๆ ที่ รั ฐ บ า ล
ปาเลสไตน์ตงั ้ แต่สมัยทีบ
่ ริหาร งานโดยยาซริ ฺ อะ
เราะฟาต ได ้ทาไว ้กับประเทศตะวันตก ไม่ว่าจะ
เป็ นข ้อตกลงเจนีวา หรือ ข ้อตกลงออสโล ทีฮ
่ า
จุดยืน ฮามาส
• ฮามาสได ้กล่าวอยูเ่ สมอว่า ฮามาสพร ้อมทีจ
่ ะยุต ิ
ปฏิบัตก
ิ ารหากอิสราเอล ยุตก
ิ ารยึดครองดินแดน
่ ถานะเดิมก่อนปี ค.ศ.
ปาเลสไตน์และกลับคืนสูส
1947 และหยุดเข่นฆ่าเด็ก สตรี ตลอดจนชาว
ปาเลสไตน์ผู ้บริสท
ุ ธิ์ และเนือ
่ งจากฮามาสไม่ม ี
อาวุธทันสมัยทีส
่ ามารถต่อกรกับทหารอิสราเอล
ิ ธิภาพ
ได ้ ยุทธวิธท
ี ฮ
ี่ ามาสเล็งเห็นว่าทรงประสท
ในการต่อสูกั้ บอิสราเอลมากทีส
่ ด
ุ ก็คอ
ื การใช ้
ี โดยมักชแ
ี้ จงว่าปาเลสไตน์ไม่ม ี
ระเบิดพลีชพ
ทางเลือกอืน
่ นอกเหนือไปจากการต่อต ้านการ
การถู กกดดันของกลุ่มฮามาส
ิ คือ
• ความท ้าทายอีก ประการหนึ่ง ที่ฮ ามาสต ้องเผช ญ
กระแสการกดดันจากนานาชาติต่อการดาเนินนโยบาย
ของฮามาสที่แข็ ง กร ้าวต่อ อิสราเอลและโลกตะวั น ตก
โดยเฉพาะอย่ า งยิง่ ในประเด็ น ที่ฮ ามาสมีจุ ด ยืน ที่ ไ ม่
ยอมรับการดารงอยูข
่ องรัฐอิสราเอล และยังคงยืนยันที่
จะใชก้ าลังต่อสูกั้ บอิสราเอล ตราบใดทีอ
่ ส
ิ ราเอลยังไม่
ยอมให ้สถานะความเป็ นรัฐทีม
่ อ
ี ธิปไตยอย่างสมบูรณ์แก่
ปาเลสไตน์
• มาตรการในการกดดันฮามาสเกิดขึน
้ จากอิสราเอลและ
กลุ่ ม ควอร์เ ทต (Quartet)
ที่ป ระกอบด ้วย
สหรั ฐ อเมริ ก า สหภาพยุ โ รป สหประชาชาติ และ
ี
้
รัสเซย
โดยสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปใชมาตรการ
การถู กกดดันของกลุ่มฮามาส
• ซงึ่ แม ้ว่ามาตรการดังกล่าวจะทาให ้ฮามาสได ้รับ
ผลกระทบอย่างรุนแรงแต่ก็มไิ ด ้ยอมสยบต่อแรง
กดดันดังกล่าวโดยหันมาร ้องขอความชว่ ยเหลือ
จากโลก มุสลิม
ิ กับสภาวะกลืนไม่
• จะเห็นได ้ว่าฮามาสต ้องเผชญ
เข ้าคายไม่ออก และต ้องเลือกระหว่างการ
ดาเนินนโยบายตามจุดยืนของตน ซงึ่ ได ้ประกาศ
ั ญาไว ้กับชาวปาเลสไตน์
และสญ
• ดังนัน
้ ความเป็ นไปของฮามาสในอนาคตจึงเป็ น
อีกหนึง่ ตัวอย่างของก ้าวย่างต่อไปของแนวทาง